โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

ดัชนี ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

นการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย หรือ ไฟใต้ เป็นความขัดแย้งที่กำลังดำเนินอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ความขัดแย้งนี้กำเนิดในปี..

118 ความสัมพันธ์: บัญญัติ จันทน์เสนะชัยชาญ ช้างมงคลชิดชัย วรรณสถิตย์พ.ศ. 2547พรรคประชาธรรม (พ.ศ. 2517)พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกบฏดุซงญอกฎอัยการศึกกรมสอบสวนคดีพิเศษกรุงเทพมหานครกรณีตากใบกษิต ภิรมย์กองบัญชาการผสมพลเรือน ตำรวจ ทหารที่ 43กองอาสารักษาดินแดนกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรกำธร ลาชโรจน์กิตติ รัตนฉายาญะมาอะห์ อิสลามียะห์ญิฮาดภาณุ อุทัยรัตน์ภาคใต้ (ประเทศไทย)มัสยิดกรือเซะมุสลิมมุข สุไลมานยางพารายิ่งลักษณ์ ชินวัตรรัฐบาลไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รายนามแม่ทัพภาคที่ 4วันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมันวิวรรธน์ ปฐมภาคย์ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้สมชาย นีละไพจิตรสมเพียร เอกสมญาสำนักงานตำรวจแห่งชาติสุรยุทธ์ จุลานนท์สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์สถานการณ์ฉุกเฉินสงครามต่อต้านการก่อการร้ายหะยีสุหลงหาญ ลีนานนท์อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอักษรา เกิดผลอัลกออิดะฮ์อาณาจักรปัตตานีอำเภอบันนังสตาอำเภอบาเจาะอำเภอกะพ้ออำเภอกาบัง...อำเภอมายออำเภอยะรังอำเภอยะหริ่งอำเภอยะหาอำเภอยี่งออำเภอระแงะอำเภอรามันอำเภอรือเสาะอำเภอละงูอำเภอศรีสาครอำเภอสะเดาอำเภอสายบุรีอำเภอสุคิรินอำเภอสุไหงปาดีอำเภอสุไหงโก-ลกอำเภอหาดใหญ่อำเภอหนองจิกอำเภอจะแนะอำเภอธารโตอำเภอทุ่งยางแดงอำเภอท่าแพอำเภอควนโดนอำเภอตากใบอำเภอปะนาเระอำเภอป่าบอนอำเภอแม่ลานอำเภอแว้งอำเภอโคกโพธิ์อำเภอไม้แก่นอำเภอเบตงอำเภอเมืองยะลาอำเภอเจาะไอร้องอุดมเดช สีตบุตรองค์กรปลดปล่อยสหปัตตานีอนุพงษ์ เผ่าจินดาจักรทิพย์ ชัยจินดาจังหวัดพัทลุงจังหวัดพังงาจังหวัดภูเก็ตจังหวัดยะลาจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดตรังจังหวัดปัตตานีจังหวัดนราธิวาสจังหวัดนครศรีธรรมราชธีรชัย นาควานิชทหารทหารพรานทักษิณ ชินวัตรท่าอากาศยานหาดใหญ่ขบวนการแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมลายูปัตตานีขบวนการแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติปัตตานีดิเรกสิน รัตนสินคณะรักษาความสงบแห่งชาติคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติประยุทธ์ จันทร์โอชาประวิตร วงษ์สุวรรณประเทศมาเลเซียประเทศไทยปราการ ชลยุทธเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555เทศบาลเทศบาลนครยะลาเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก12 พฤศจิกายน4 มกราคม ขยายดัชนี (68 มากกว่า) »

บัญญัติ จันทน์เสนะ

นายกองเอกบัญญัติ จันทน์เสนะ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รองประธานกรรมการคณะกรรมการที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานมูลนิธิสวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และผู้แทนคณะรัฐมนตรี ในคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.).

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและบัญญัติ จันทน์เสนะ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยชาญ ช้างมงคล

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชัยชาญ ช้างมงคล (ชื่อเล่น: ช้าง, บิ๊กช้าง เกิด 25 มกราคม พ.ศ. 2500) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ราชองครักษ์เวรรองหัวหน้าผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557ปลัดกระทรวงกลาโหม อุปนายกสภาทหารผ่านศึกคนที่สอง ตุลาการศาลทหารสูงสุดนายทหารพิเศษ ประจำกรมนักเรียนนายร้อยรักษาพระองค์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าประจำกรมนักเรียนนายเรือรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรือ และประจำกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค์ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช อดีตรอง ปลัดกระทรวงกลาโหม สมาชิก สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ กรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองกรรมการในคณะกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรเฉพาะกิจกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าวกรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 อดีตผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนกลาโหม อดีตหัวหน้าฝ่ายเสนาธิการประจำปลัดกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานตรวจสอบคดีทุจริต อุทยานราชภัก.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและชัยชาญ ช้างมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ชิดชัย วรรณสถิตย์

ลตำรวจเอก นายกองใหญ่ ดร.ชิดชัย วรรณสถิตย์ (เกิด 13 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดอุบลราชธานี) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี (คนที่ 1) สมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร พ้นจากตำแหน่งเนื่องจาก รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 ในอดีตได้รับราชการเป็นรองผู้บัญชาการ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและชิดชัย วรรณสถิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธรรม (พ.ศ. 2517)

รรคประชาธรรม พรรคการเมืองที่จดทะเบียนตาม พระราชบัญญัติพรรคการเมือง..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและพรรคประชาธรรม (พ.ศ. 2517) · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

กบฏดุซงญอ

กบฏดุซงญอ (มลายูปัตตานี: ปือแร ดุซงญอ แปลว่า "ดุซงญอลุกขึ้นสู้" หรือ "สงครามดุซงญอ" (Dusun Nyor Rebellion) เป็นเหตุการณ์การปะทะระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับกลุ่มชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู ระหว่าง 25 - 28 เมษายน พ.ศ. 2491 ที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส เป็นเหตุให้ทั้งสองฝ่ายมีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก หลังเหตุการณ์ มีการสร้างอนุสาวรีย์ลูกปืนเพื่อรำลึกถีงเหตุการณ์นี้ แต่อนุสาวรีย์นี้ไม่เป็นที่รู้จักมากนัก เหตุการณ์กบฏนี้ ได้มีผู้กล่าวถึงอย่างกว้างขวางอีกครั้ง เมื่อเกิดเหตุการณ์ "กรณีกรือเซะ" เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2547 จนมีผู้เสียชีวิต 108 ศพ ซึ่งวันนั้นเป็นวันครบรอบ 56 ปีเหตุการณ.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกบฏดุซงญอ · ดูเพิ่มเติม »

กฎอัยการศึก

กฎอัยการศึก (martial law) เป็นกฎหมายซึ่งได้ตราขึ้นไว้สำหรับประกาศใช้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล ในเขตที่ประกาศใช้กฎอัยการศึก เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ์ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน กฎอัยการศึกมักกำหนดเป็นการชั่วคราวเมื่อรัฐบาลหรือข้าราชการพลเรือนไม่อาจทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ในการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคง หรือให้บริการที่สำคัญ ในกฎอัยการศึกเต็มขั้น นายทหารยศสูงสุดจะยึด หรือได้รับแต่งตั้ง เป็นผู้ว่าการทหารหรือเป็นหัวหน้ารัฐบาล ฉะนั้น จึงเป็นการถอดอำนาจทั้งหมดทั้งฝ่ายนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการของรัฐบาล กฎอัยการศึกเป็นกฎหมายที่มีอยู่ในเวลาปกติ แต่ไม่ได้ใช้บังคับ โดยเมื่อจะใช้บังคับจะต้องประกาศ และกำหนดเขตพื้นที่ที่จะใช้บังคับ ในหลายประเทศจะไม่มีการตราเป็นกฎหมายชัดเจน เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ในบางประเทศจะตราเป็นกฎหมายชัดเจน เช่น ฝรั่งเศส ไทย รัฐบาลอาจใช้กฎอัยการศึกเพื่อควบคุมสาธารณะ เหตุการณ์นี้อาจเกิดขึ้นหลังรัฐประหาร (เช่น ประเทศไทยใน พ.ศ. 2549) เมื่อถูกการประท้วงของประชาชนคุกคาม (เช่น การประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมินในประเทศจีน พ.ศ. 2532) เพื่อปราบปรามคู่แข่งทางการเมือง (เช่น ประเทศโปแลนด์ในปี พ.ศ. 2524) หรือเพื่อกำราบการก่อการกบฏ (เช่น วิกฤตการณ์เดือนตุลาคม พ.ศ. 2513 ในประเทศแคนาดา) อาจมีประกาศกฎอัยการศึกในกรณีภัยพิบัติธรรมชาติใหญ่ ทว่า ประเทศส่วนมากประกาศเป็นสถานการณ์ฉุกเฉินแทน นอกจากนี้ ยังมีการกำหนดกฎอัยการศึกระหว่างความขัดแย้งหรือในกรณีการยึดครอง เมื่อไม่มีการจัดรัฐบาลพลเรือนอื่นใดให้กับประชากรที่ไม่มีเสถียรภาพ ตัวอย่างเช่น การบูรณะประเทศเยอรมนีและญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ตลอดจนการบูรณะตอนใต้หลังสงครามกลางเมืองอเมริกา ตามแบบ การกำหนดกฎอัยการศึกจะประกอบกับการห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน การระงับกฎหมายแพ่ง สิทธิพลเมือง หมายสั่งให้ส่งตัวผู้ถูกคุมขังมาศาล และการใช้หรือขยายกฎหมายทหารหรือการศาลทหารกับพลเรือน.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกฎอัยการศึก · ดูเพิ่มเติม »

กรมสอบสวนคดีพิเศษ

กรมสอบสวนคดีพิเศษแห่งราชอาณาจักรไทย (Department of Special Investigation) หรือ ดีเอสไอ (DSI) เป็นหน่วยงานของรัฐ สังกัด กระทรวงยุติธรรม เพื่อป้องกัน ปราบปราม และควบคุมอาชญากรรมที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่างประเท.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกรมสอบสวนคดีพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรณีตากใบ

กรณีตากใบ เป็นเหตุการณ์ความรุนแรงที่อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2547 มีผู้เสียชีวิตรวมยอดสูงถึง 107 ศพ บาดเจ็บ 6 คน ถูกจับกุม 17 คน ขณะที่เจ้าหน้าที่เสียชีวิต 5 นาย บาดเจ็บ 15 นาย และวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกรณีตากใบ · ดูเพิ่มเติม »

กษิต ภิรมย์

นายกษิต ภิรมย์ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองนายกรัฐมนตรีเงา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ เกิดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2487 เป็นบุตรชายของ ศาสตราจารย์พลเรือตรีสมภพ ภิรมย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม กับ นางจุนเจือ ภิรมย์ (สกุลเดิม "มุสิกะภุมมะ") นายกษิตสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีสาขาวิเทศสัมพันธ์ (International Affairs) จาก มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ (Georgetown University) สหรัฐอเมริกา รุ่นเดียวกับประธานาธิบดี บิล คลินตัน แห่งสหรัฐอเมริกา และประธานาธิบดี กลอเรีย อาร์โรโย แห่งฟิลิปปินส์ และ ศึกษาต่อ สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) ที่ Institute of Social Studies เนเธอร์แลนด์ ก่อนเข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ ยาวนานกว่า 30 ปี เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ โดยตำแหน่งสุดท้ายก่อนการเกษียณอายุราชการ คือ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา ระหว่างการรับราชการที่กระทรวงการต่างประเทศ นายกษิตได้รับการทาบทามจาก นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เพื่อนร่วมรุ่นรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของน้องชายของนายกษิต ให้เข้าร่วมในคณะทำงานของ นายชวน หลีกภัย ขณะดำรงตำแหน่ง รมว.พาณิชย์ และ รมว.เกษตรและสหกรณ์ และมี นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขานุการรัฐมนตรี โดยนายกษิตได้รับมอบหมายให้ดูแลการติดต่อกับต่างประเทศ และการต้อนรับบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในช่วงที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกษิต ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

กองบัญชาการผสมพลเรือน ตำรวจ ทหารที่ 43

กองบัญชาการผสมพลเรือน ตำรวจ ทหารที่ 43 หรือ พตท.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกองบัญชาการผสมพลเรือน ตำรวจ ทหารที่ 43 · ดูเพิ่มเติม »

กองอาสารักษาดินแดน

กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกองอาสารักษาดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หรือ กอ.รมน. (อังกฤษ: Internal Security Operations Command) เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานกลาง เพื่อต่อต้านภัยคุกคามที่มุ่งทำลายผลประโยชน์และความมั่นคงของชาติ มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (ผอ.รมน.) โดยตำแหน่ง.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กำธร ลาชโรจน์

นายกำธร ลาชโรจน์ (9 ตุลาคม พ.ศ. 2476 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2524) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 2 สมั.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกำธร ลาชโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ รัตนฉายา

ลเอก กิตติ รัตนฉายา อดีตแม่ทัพภาคที่ 4.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและกิตติ รัตนฉายา · ดูเพิ่มเติม »

ญะมาอะห์ อิสลามียะห์

ญะมาอะห์ อิสลามียะห์ (Jama ah Islamiyah, الجماعه الإسلاميه) หรือกลุ่ม JI เป็นกลุ่มก่อการร้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คาดว่าก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและญะมาอะห์ อิสลามียะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ญิฮาด

ญิฮาด (جهاد, Jihad) มาจากคำกริยา ญะฮะดะ ในภาษาอาหรับหมายถึง การดิ้นรนต่อสู้หรือความพยายาม ในทางศาสนาหมายถึง ความพยายามที่จะเพิ่มศรัทธาในพระเจ้ารวมทั้งการทำความดี การเผยแพร่ศาสนา ผู้ทำการญิฮาดเรียกว่ามุญาฮิด พหูพจน์เรียกว่ามุญาฮิดีน ในทางศาสนาอิสลามแล้ว คำนี้ไม่ได้หมายถึงสงครามศักดิ์สิทธิ์ดังที่ผู้มิใช่มุสลิมเข้าใจ และเป็นศัพท์ทางศาสนาคำหนึ่งที่ถูกเข้าใจผิดบ่อยครั้ง คำว่าญิฮาดนี้มีปรากฏทั้งในอัลกุรอ่านและหะดิษต่าง.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและญิฮาด · ดูเพิ่มเติม »

ภาณุ อุทัยรัตน์

นายกองเอกภาณุ อุทัยรัตน์ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้อดีตเลขานุการผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรรมการธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย อดีตเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และอดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ (นักบริหารระดับสูง) อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทยอดีตที่ปรึกษาด้านความมั่นคง(เจ้าหน้าที่นโยบายและแผน10 ชช) สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย และเป็นเลขาธิการคนแรกของ ศอ.บต.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและภาณุ อุทัยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและภาคใต้ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดกรือเซะ

มัสยิดกรือเซะ (Masjid Kerisek) หรือ มัสยิดสุลต่านมูซัฟฟาร์ชาห์ เป็นมัสยิดเก่าแก่อายุกว่า 200 ปีในจังหวัดปัตตานี สันนิษฐานได้ว่าเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 22 ร่วมสมัยกรุงศรีอยุธยา มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัสยิดปิตูกรือบัน ชื่อนี้เรียกตามรูปทรงของประตูมัสยิด ซึ่งมีลักษณะเป็นวงโค้งแหลมแบบกอทิกของชาวยุโรป และแบบสถาปัตยกรรมของชาวตะวันออกกลาง (คำว่า ปิตู แปลว่า ประตู กรือบัน แปลว่า ช่องประตูที่มีรูปโค้ง) ช่วงเวลาที่มัสยิดกรือเซะถูกสร้างนั้นยังเป็นที่ถกเถียง บ้างว่าสร้างในรัชสมัยสุลต่านมูซัฟฟาร์ชาห์ บ้างก็ว่าสร้างในรัชสมัยรายาบีรู ส่วนกรณีที่มัสยิดสร้างไม่สำเร็จนั้น ก็มีการยึดโยงกับตำนานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวซึ่งมีสุสานอยู่ใกล้กับมัสยิดกรือเซะ ที่ถูกเล่าต่อเติมภายหลังว่าเจ้าแม่ได้สาปให้มัสยิดนี้สร้างไม่สำเร็จ จนกลายเป็นปัญหากินแหนงแคลงใจระหว่างชาวไทยเชื้อสายมลายูและชาวไทยเชื้อสายจีนในพื้นที่ แต่จากการสำรวจและบูรณะของกรมศิลปากร พบว่าโครงสร้างโดมนั้นมีลักษณะไม่แข็งแรงและขาดความสมดุลจึงทำให้พังทลาย ทั้งยังไม่พบร่องรอยถูกเผาหรือถูกฟ้าผ่าตามตำนานที่กล่าวอ้างแต่อย่างใด เพราะหลังราชวงศ์กลันตันปกครองปัตตานีถัดจากราชวงศ์ศรีวังสา ได้ย้ายศูนย์กลางเมืองไปยังบานาและจะบังติกอตามลำดับ มัสยิดกรือเซะจึงถูกทิ้งให้โรยราไป.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและมัสยิดกรือเซะ · ดูเพิ่มเติม »

มุสลิม

มุสลิม ผู้นับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นบุรุษจะเรียกว่า มุสลิม หรือเป็นสตรีจะเรียกว่า มุสลิมะฮ์ หรือเรียกโดยรวมว่า อิสลามิกชน คำว่า "มุสลิม" เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ مسلم แปลว่า ผู้ศิโรราบ ผู้ภักดี มนุษย์ทุกคนสามารถเป็นมุสลิมได้โดยการปฏิญาณตน มุสลิมนั้นไม่จำกัดเผ่าพันธุ์ อายุ เพศ และวรรณะ ผู้ที่เป็นมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามศาสนวินัยต่าง ๆ ของอิสลาม (ทั้งวาญิบ และฮะรอม) ผู้ที่เป็นมุสลิมต้องปฏิบัติตามหลักศาสนกิจ 5 ประการดังนี้ คือ การกล่าวคำปฏิญานตนเข้ารับอิสลาม, การละหมาด 5 เวลาในแต่ละวัน, การถือศีลอดในเดือนรอมดอน, การบริจาคทาน (ซะกาต), และการทำฮัจญ์ ผู้ที่เป็นมุสลิมมีหลักความเชื่อหลัก 6 ประการ นั่นคือ เชื่อในพระเจ้าองค์เดียว (อัลลอฮ์), เชื่อในบรรดามลาอีกะฮ์, เชื่อในคัมภีร์ที่ถูกประทานมาจากพระเจ้า, เชื่อในบรรดาศาสนทูตต่างๆ, เชื่อในวันสิ้นโลก (วันกียามะฮ์), และเชื่อในกฎแห่งความดีความชั่ว (กอดอและกอดัร).

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและมุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

มุข สุไลมาน

มุข สุไลมาน (1 กันยายน พ.ศ. 2492 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดปัตตานี ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไทยอดีตเลขานุการ รมว.มท.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและมุข สุไลมาน · ดูเพิ่มเติม »

ยางพารา

งพารา เป็นไม้ยืนต้น มีถิ่นกำเนิดบริเวณลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิลและประเทศเปรู ทวีปอเมริกาใต้ โดยชาวพื้นเมืองเรียกว่า "เกาชู" (cao tchu) แปลว่า ต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและยางพารา · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลไทย

รัฐบาลไทย เป็นรัฐบาลของราชอาณาจักรไทยซึ่งเป็นรัฐบาลเดี่ยว รัฐบาลไทยมีบทบาทขึ้นอย่างชัดเจนในสมัยรัฐชาติอันสถานปนาขึ้นครั้งสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวภายหลังทรงผนวกดินแดนและอาณาจักรภายใต้ปกครองของอาณาจักรสยามขึ้นเป็นสยามประเทศ รัฐบาลไทยผ่านการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตย ปัจจุบันรัฐบาลไทยแบ่งแยกอำนาจออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ในอดีตก่อนปี 2557 รัฐบาลพลเรือนของไทยมีรูปแบบตามระบบเวสต์มินสเตอร์ของสหราชอาณาจักร อย่างไรก็ดี ตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้การปกครองของคณะทหาร เรียกว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและรัฐบาลไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534

รัฐประหาร 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 4

กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคใต้ทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายวชิราวุธ ตำบลปากพูน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช และมีศูนย์บัญชาการส่วนหน้าอยู่ที่ค่ายอิงคยุทธบริหาร ตำบลบ่อทอง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อดูแลความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยโดยเฉ.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและรายนามแม่ทัพภาคที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

วันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน

รองศาสตราจารย์ วัน กาเดร์ เจ๊ะมาน หรือ วันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน หรือ มาฮาดี ดาโอ๊ะ มีชื่อจัดตั้งและชื่อเล่น หลายชื่ออาทิ กาเดร์ เจ๊ะมัน/ฟาเดร์ เจ๊ะแม/วันกาเดร์/ดร.ฟาเดร์ อุสมัน/กอเดร์ เจ๊ะมาน/มะห์ดี ดาอุด/เจ๊ะแม บินกาเดร์ มีศักดิ์เป็นหลานของนายอิซซุดดิน ประธานขบวนการแบ่งแยกรัฐปัตตานี (BIPP) อดีตรองศาสตราจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามนานาชาติมาเลเซี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและวันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน · ดูเพิ่มเติม »

วิวรรธน์ ปฐมภาคย์

ลเอก วิวรรธน์ ปฐมภาคย์ อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์และราชองครักษ์พิเศษ.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและวิวรรธน์ ปฐมภาคย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้

ูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Southern Border Provinces Administration Centre) หรือเรียกโดยย่อว่า ศอ.บต. (SBPAC) เป็นองค์กรพิเศษที่รัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2524 ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย นีละไพจิตร

มชาย นีละไพจิตร สมชาย นีละไพจิตร (เกิด 13 พฤษภาคม 2494) อดีตประธานชมรมนักกฎหมายมุสลิม และนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งหายตัวไปอย่างลึกลับเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2547 สมชายมักทำคดีด้านสิทธิมนุษยชนที่ทนายความส่วนมากปฏิเสธ เช่น คดีที่ชาวบ้านถูกกล่าวหาละเมิดสิทธิมนุษยชนในภาคใต้ คดีคนพม่าลี้ภัยการเมือง คดีชาวอิหร่านที่ถูกจับในข้อหาเป็นผู้วางระเบิดสถานทูตอิสราเอลในประเทศไทย สมชายเคยร่วมกับองค์กรมุสลิมต่าง ๆ ในประเทศไทย รวมทั้ง ชมรมสมาชิกรัฐสภาไทยมุสลิม เสนอแนวทางในการแก้ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2547 และในเวลาเดียวกันก็เรียกร้องขอความเป็นธรรม ในการสอบสวน 5 ผู้ต้องหา ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ก่อการร้ายมูจาฮีดีน ซึ่งสมชายได้ยืนยันว่าได้พบกับผู้ต้องหาทั้ง 5 คน ได้ความว่า ทั้งหมดไม่ได้กระทำความผิด แต่จำต้องรับสารภาพ เนื่องจากถูกตำรวจขู่เข็ญทำทารุณกรรม ซึ่งกรณีนี้สร้างความอับอายให้กับกระบวนการสืบสวนสอบสวนของรัฐเป็นอันมาก วันที่ 13 มกราคม 2549 ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี แถลงว่า กรมสอบสวนคดีพิเศษพบหลักฐานสำคัญที่ระบุว่าสมชายเสียชีวิตแล้ว โดยมีเจ้าหน้าที่ตำรวจเกี่ยวข้องมากกว่า 4 คน โดยจะสรุปสำนวนเสร็จสิ้นไม่เกินเดือนกุมภาพันธ์ หลังการหายตัวไปอย่างลึกลับ อังคณา นีละไพจิตร ภรรยา เป็นตัวแทนเรียกร้องความเป็นธรรมและมีบทบาททางสังคมนับแต่นั้นม.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและสมชาย นีละไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

สมเพียร เอกสมญา

ลตำรวจเอก สมเพียร เอกสมญา (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 จาก คมชัดลึก สืบค้นวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2553 — 12 มีนาคม พ.ศ. 2553) เป็นอดีตผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรบันนังสตา จังหวัดยะลา รับราชการตำรวจตั้งแต่เป็น พลตำรวจ จนถึงยศ พันตำรวจเอก และได้รับพระราชทานยศพลตำรวจเอกเป็นกรณีพิเศษ ได้ฉายาว่า จ่าเพียร นักสู้แห่งเทือกเขาบูโด และ จ่าเพียร ขาเหล็ก จากการปฏิบัติหน้าที่อยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นเวลากว่า 40 ปี กระทั่งเคยได้รับการโปรดเกล้าฯ เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เหรียญรามมาลาเข็มกล้ากลางสมร ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง และกระทำพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา ณ อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อ..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและสมเพียร เอกสมญา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ำนักงานตำรวจแห่งชาติ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์

ลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ (23 มิถุนายน พ.ศ. 2498 -) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการราชองครักษ์พิเศษ หัวหน้าผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้จัดการทีมชาติไทย อดีตหัวหน้าคณะนายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำผู้บังคับบัญชา อดีตรองเสนาธิการทหารบก และอดีตผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 4.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและสุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานการณ์ฉุกเฉิน

นการณ์ฉุกเฉิน (state of emergency) คือ สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งรัฐ หรืออันอาจทำให้รัฐตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม ซึ่งฝ่ายบริหารรัฐมีอำนาจประกาศว่าพื้นที่ใดกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นว่าโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายของรัฐนั้น ๆ ซึ่งให้อำนาจพิเศษในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และมักเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อย่างไรก็ดี กฎหมายว่าด้วยสถานการณ์ฉุกเฉินเป็นกฎหมายที่ให้อำนาจพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ไม่เบ็ดเสร็จเท่ากฎอัยการศึกหรือกฎหมายที่ใช้ในสภาวะสงคราม การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมักมีภายหลังจากการเกิดภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ หรือการประกาศสงคราม ซึ่งอาจมีผลให้เจ้าหน้าที่บางฝ่ายต้องหยุดการปฏิบัติการตามอำนาจหน้าที่ลงชั่วคราว โดยอำนาจหน้าที่เช่นว่านั้นอาจรวมศูนย์ไปยังเจ้าหน้าที่อีกฝ่ายเพื่ออำนวยความสะดวกในการควบคุมสถานการณ์โดยไม่ชักช้า และอาจนำไปสู่การห้ามออกจากเคหสถาน (curfew) หรือการห้ามมั่วสุมชุมนุมกันเพื่อการใด ๆ ก็ดี ณ พื้นที่นั้นในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและสถานการณ์ฉุกเฉิน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ต่อสหรัฐอเมริกา การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัดอัลกออิดะห์และองค์การก่อการร้ายอื่น ๆ สหราชอาณาจักร ประเทศสมาชิกนาโต้อื่น และประเทศนอกกลุ่มนาโต้เข้าร่วมในความขัดแย้งนี้ด้วยเช่นกัน คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช แห่งสหรัฐอเมริกา ใช้เป็นคนแรกเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 รัฐบาลบุชและสื่อตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมาย และเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าเป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย · ดูเพิ่มเติม »

หะยีสุหลง

หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ หรือ หะยีสุหลง โต๊ะมีนา หรือที่รู้จักและนิยมเรียกชื่อกันสั้น ๆ ว่า หะยีสุหลง เป็นโต๊ะอิหม่ามที่มีชื่อเสียงในอดีต เป็นผู้นำและปัญญาชนของชาวไทยมุสลิมโดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและหะยีสุหลง · ดูเพิ่มเติม »

หาญ ลีนานนท์

ลเอก หาญ ลีนานนท์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 - 11 กุมภาพันธ์ 2561) อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตนักการเมืองผู้มีบทบาทอย่างมากในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและหาญ ลีนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรา เกิดผล

ลเอก อักษรา เกิดผล (2 มกราคม 2498-) ราชองครักษ์พิเศษ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติอดีตหัวหน้าส่วนยุทธการศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน อดีตประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก อดีตเสนาธิการทหารบก อดีตรองเสนาธิการทหารบก อดีตผู้ช่วยเสนาธิการทหารบกฝ่ายยุทธการ และอดีตเจ้ากรมยุทธการทหารบก ในเหตุการณ์ นปช. ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน พ.ศ. 2551 เขาเป็นกรรมการในกองอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน ระหว่างวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอักษรา เกิดผล · ดูเพิ่มเติม »

อัลกออิดะฮ์

อัลกออิดะฮ์ (القاعدة‎, al-Qā`ida "ฐาน") หรือ แอล-ไคดา (al-Qaeda) เป็นกลุ่มก่อการร้ายอิสลามสากล ก่อตั้งโดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน, อับดุลลาห์ อัซซัม (Abdullah Azzam) และนักรบอื่นอีกหลายคน บางช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอัลกออิดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรปัตตานี

อาณาจักรปัตตานี (كراجأن ڤتاني; Kerajaan Patani) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส (เมืองสะโตย) (เมืองสตูล) และสงขลาบางส่วนในปัจจุบัน อาณาจักรปัตตานีถือกำเนิดขึ้นก่อนอาณาจักรสยาม 500 ปี เริ่มจากเป็นเผ่าเล็ก ๆ รวมตัวกัน มีประชากรอาศัย 200-250 คน มีชื่อว่า ปีสัง โดยแต่ละปีจะมีตูวอลา (หัวหน้าเผ่าในสมัยนั้น) มาปกครอง และจะสลับทุก ๆ 1 ปี ต่อมามีชนกลุ่มใหญ่เข้ามามีบทบาทในแถบนี้มากขึ้น จนในที่สุด ก็ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรลังกาสุกะ และเปลี่ยนจากชื่อ ปีสัง มาเป็น บาลูกา ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 9 หลังจากนั้นราว 100 ปี ลูกชายกษัตย์ลังกาสุกะได้เดินทางมาถึงที่นี้และรู้สึกประทับใจ เลยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ปาตาอีนิง แล้วก่อตั้งเป็นรัฐใหม่ ชื่อ รัฐปาตาอีนิง จนมีพ่อค้ามากมายเข้ามาติดต่อค้าขายทั้งจีน อาหรับ แต่ชาวอาหรับเรียกที่นี้ว่า ฟาตอนี เลยมีคนเรียกดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป เดิมอาณาจักรปัตตานีนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน แต่ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เริ่มเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม โดยบางช่วงอาณาจักรแผ่ขยายครอบคลุมถึงรัฐกลันตันและรัฐตรังกานู ตอนกลางของประเทศมาเลเซียอ้างอิงจาก"สี่กษัตริยาปตานี: บัลลังก์เลือด และตำนานรักเพื่อแผ่นดิน" ศิลปวัฒนธรรม ฉบับวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอาณาจักรปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบันนังสตา

ันนังสตา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยะล.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอบันนังสตา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบาเจาะ

อำเภอบาเจาะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอบาเจาะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกะพ้อ

กะพ้อ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอกะพ้อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกาบัง

กาบัง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยะลา ทางภาคใต้ของประเทศไท.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอกาบัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอมายอ

อำเภอมายอ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอมายอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยะรัง

อำเภอยะรัง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอยะรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยะหริ่ง

อำเภอยะรัง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอยะหริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยะหา

หา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยะลา อยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย อนึ่งคำว่า "ยะหา" (Johar, Juar) เป็นคำในภาษามลายู แปลว่า "ต้นขี้เหล็ก".

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอยะหา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยี่งอ

อำเภอยี่งอ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอยี่งอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอระแงะ

อำเภอระแงะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอระแงะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอรามัน

อำเภอรามัน ตั้งอยู่ในจังหวัดยะล.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอรามัน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอรือเสาะ

อำเภอรือเสาะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอรือเสาะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอละงู

อำเภอละงู ตั้งอยู่ในจังหวัดสตูล.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอละงู · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีสาคร

อำเภอศรีสาคร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอศรีสาคร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสะเดา

อำเภอสะเดา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย และเป็นเมืองเศรษฐกิจสำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งของชายแดนไทย-มาเลเซีย โดยมีด่านพรมแดนที่สำคัญถึง 2 ด่าน คือ พรมแดนไทย-มาเลเซีย (รัฐเกดะห์) (ด่านสะเดา) และพรมแดนไทย-มาเลเซีย (รัฐปะลิส) (ด่านปาดังเบซาร์) นอกจากนี้สะเดายังเปรียบเสมือนประตูสู่ประเทศไทยของชาวมาเลเซียและสิงคโปร.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอสะเดา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสายบุรี

อำเภอสายบุรี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี ชาวไทยเชื้อสายมลายูจะเรียกว่า ตะลุแบ (تلوبن Taluban; Telubae) หรือในภาษามลายู-สันสกฤตเรียกว่า สลินดงบายู หรือ ซือลินดงบายู (سليندوڠ بايو. Selindung Bayu) แปลว่า ที่กำบังลมพายุ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยมุสลิม มีขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นของตนเอง มีความหลากหลายทางด้านภาษ.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอสายบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสุคิริน

อำเภอสุคิริน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอสุคิริน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสุไหงปาดี

อำเภอสุไหงปาดี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอสุไหงปาดี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสุไหงโก-ลก

อำเภอสุไหงโก-ลก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส มีตัวเมืองขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำคัญแห่งหนึ่งของภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอสุไหงโก-ลก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองจิก

อำเภอหนองจิก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอหนองจิก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอจะแนะ

อำเภอจะแนะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอจะแนะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธารโต

รโต ตั้งอยู่ในจังหวัดยะล.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอธารโต · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทุ่งยางแดง

ทุ่งยางแดง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอทุ่งยางแดง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าแพ

ท่าแพ ตั้งอยู่ในจังหวัดสตูล.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอท่าแพ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอควนโดน

วนโดน ตั้งอยู่ในจังหวัดสตูล.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอควนโดน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอตากใบ

ตากใบ เป็นอำเภอในจังหวัดนราธิวาสที่มีเขตแดนติดรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอตากใบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปะนาเระ

อำเภอปะนาเระ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี ประชากรแต่งกายตามแบบของประชากรมลายู มีประเพณี วัฒนธรรมตามแบบอิสลาม พูดภาษามลายูและภาษาถิ่นใต้เจ๊ะเห (ตากใบ).

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอปะนาเระ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอป่าบอน

อำเภอป่าบอน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอป่าบอน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแม่ลาน

อำเภอแม่ลาน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอแม่ลาน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแว้ง

อำเภอแว้ง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอแว้ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโคกโพธิ์

อำเภอโคกโพธิ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอโคกโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไม้แก่น

อำเภอไม้แก่น เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอไม้แก่น · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเบตง

ตง เป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่ในจังหวัดยะลา นับเป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ใต้สุดของประเทศไทย โดยมีลักษณะเป็นหัวหอกยื่นเข้าไปในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ในแนวเทือกเขาสันกาลาคีรี มีเนื้อที่ประมาณ 1,328 ตารางกิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองยะลาประมาณ 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 1,220 กิโลเมตร ด้วยภูมิประเทศของอำเภอเบตงส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงจึงทำให้เบตงมีอากาศดี และมีหมอกตลอดปี ดังคำขวัญประจำอำเภอที่ว่า “เมืองในหมอก ดอกไม้งาม ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน”.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอเบตง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองยะลา

อำเภอเมืองยะลา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยะลา ชาวบ้านที่สามารถพูดภาษามลายูได้ นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "นีบง" ซึ่งเป็นชื่อต้นไม้ประเภทหนึ่งที่เคยมีอยู่มากมายภายในตัวอำเภอเมืองยะล.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอเมืองยะลา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเจาะไอร้อง

อำเภอเจาะไอร้อง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอำเภอเจาะไอร้อง · ดูเพิ่มเติม »

อุดมเดช สีตบุตร

ลเอก อุดมเดช สีตบุตร ราชองครักษ์พิเศษ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม กรรมการในคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ ในคณะรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อุปนายกสภาทหารผ่านศึกคนที่หนึ่ง เป็นอดีตเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,อดีตผู้บัญชาการทหารบก คนที่ 38, อดีตประธานสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ประธานกรรมการ มูลนิธิอุทยานราชภักดิ์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร, อดีตประธานคณะกรรมการบริหารกิจการโทรทัศน์กองทัพบก, หัวหน้าศูนย์ติดตามสถานการณ์คณะรักษาความสงบแห่งชาต.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอุดมเดช สีตบุตร · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรปลดปล่อยสหปัตตานี

งขององค์กรกู้เอกราชสหปาตานี พ.ศ 2511 - 2532 องค์กรปลดปล่อยสหปัตตานีหรือพูโล (อังกฤษ: Patani United Liberation Organization) ก่อตั้งเมื่อ 22 มกราคม พ.ศ. 2511 โดยตวนกูบีรอ กอตอนีลอ หรือ อดุลย์ ณ วังคราม บัณฑิตจากอินเดีย ได้รวมเพื่อนๆ จัดตั้งองค์กรนี้ที่ซาอุดิอาระเบีย การดำเนินงานในระยะแรกเน้นการปลุกระดมมวลชนโดยมีกลุ่มเป้าหมายที่ผู้นำศาสนาและผู้นำท้องถิ่น พูโลจัดตั้งกองกำลังติดอาวุธสำเร็จเมื่อ พ.ศ. 2519 ผู้นำกองกำลังที่สำคัญมีหลายคน เช่น หะยียูโซะ ปากีสถาน และหะยีสะมะแอ ท่าน้ำ มีการส่งเยาวชนไปฝึกวิชาทหารและการก่อวินาศกรรมที่ลิเบียและซีเรีย องค์กรเริ่มมีปัญหาจากการปราบปรามของรัฐและนโยบายใต้ร่มเย็นในช่วงหลัง จน พ.ศ. 2525 จนนำไปสู่การแตกแยกภายในองค์กร.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและองค์กรปลดปล่อยสหปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

อนุพงษ์ เผ่าจินดา

ลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา (ชื่อเล่น: ป็อก, เกิด 10 ตุลาคม 2492) สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยคนปัจจุบัน และรองประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับการทวงถามหนี้ ประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทยhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/104/1.PDF ผู้บัญชาการกองอาสารักษาดินแดน ประธานการประชุมคณะกรรมการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน สภานายกพิเศษแห่งสภาวิศวกร และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและอนุพงษ์ เผ่าจินดา · ดูเพิ่มเติม »

จักรทิพย์ ชัยจินดา

ลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา (ชื่อเล่น: แป๊ะ, เกิด 19 ตุลาคม พ.ศ. 2502) ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ, นายตำรวจราชสำนักเวร, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายป่าไม้แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ, กรรมการในคณะกรรมการสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน, กรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก, กรรมการในคณะกรรมการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์, กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางพระพุทธศาสนา, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และการทำประมงผิดกฎหมาย, ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย, กรรมการในคณะกรรมการนโยบายทรัพย์สินทางปัญญาแห่งชาติ, กรรมการศูนย์อำนวยการต่อต้านการทุจริตแห่งชาติ,กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการ การทำงานของคนต่างด้าว, กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559, กรรมการในคณะกรรมการเพื่อเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง และ กรรมการในคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์กรรมการในคณะกรรมการการบริหารการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดใน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธาน บริษัท พรีเมียร์ลีกไทยแลนด์ จำกัด ประธานสโมสร โปลิศ เทโร กรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช และ อดีตกรรมการอิสระ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พล.ต.อ.จักรทิพย์ ชัยจินดา เกิดเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2502 ที่จังหวัดชลบุรี เป็นบุตรชายของนายประณีต ชัยจินดา นักธุรกิจคนดังแห่งอ่างศิลา และนางเมธินี ชัยจินดา สมรสกับ ดร.บุษบา ชัยจินดา มีบุตรชาย 2 คน จบการศึกษาจากวชิราวุธวิทยาลัย, โรงเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 36 (นรต.36) ปริญญาโทสาขาบริหารรัฐกิจ จากสหรัฐอเมริกา และศึกษาเพิ่มเติมหลักสูตรการสอบสวน (ATF-ILEA) และหลักสูตรเอฟบีไอ รัฐเนวาดา จากสหรัฐอเมริกา เริ่มต้นรับราชการจากตำแหน่ง นายเวรผู้บังคับการประจำกรมตำรวจ สำนักงานกำลังพล และสารวัตรแผนกสายตรวจรถยนต์และรถจักรยานยนต์ กองกำกับการสายตรวจ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2537-พ.ศ. 2538 ได้ย้ายเข้าสู่กองปราบปรามในตำแหน่งรองผู้กำกับ ในปี พ.ศ. 2539 ได้เป็นนายเวรอธิบดีกรมตำรวจ (พล.ต.อ.พจน์ บุณยะจินดา) จากนั้นได้ทำงานในตำแหน่งงานด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะงานด้านปราบปราม เช่น รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม, รองผู้บังคับการกองตำรวจน้ำ, รองผู้บังคับการกองปราบปราม, ผู้บังคับการกองตรวจคนเข้าเมืองท่าอากาศยานแห่งชาติ (ผบก.ตม.ทอช.) เป็นต้น โดย พล.ต.อ.จักรทิพย์ได้ชื่อว่าเป็นนายตำรวจมือปราบอีกคนหนึ่ง มีผลงานสำคัญ ๆ เช่น เป็นผู้เจรจาให้ปล่อยตัวประกันซึ่งเป็นผู้บัญชาการเรือนจำสมุทรสาคร กับกลุ่มนักโทษแหกคุกชาวพม่า ในปลายปี พ.ศ. 2543 ร่วมกับ พล.ต.ต.ภาณุพงศ์ สิงหรา ณ อยุธยา ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 7 (ผู้ช่วย ผบช.ภาค 7-ตำแหน่งและยศในขณะนั้น) เป็นต้น ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นรองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล ซึ่งในอีก 6 วันต่อมา คือในวันที่ 7 ตุลาคม นั้นก็ได้เกิดเหตุการการสลายการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาขึ้น โดยเป็นการสลายการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในการชุมนุม 193 วัน โดยตำรวจ ซึ่งในเหตุการครั้งนี้ พล.ต.อ.จักรทิพย์ได้แสดงความมีมนุษยธรรมโดยการถอดเสื้อของตนเองเข้าพยาบาลผู้ได้รับบาดเจ็บซึ่งเป็นฝ่ายพันธมิตรฯด้วย จนได้รับฉายาว่า "สุภาพบุรุษแก๊สน้ำตา" จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2552 ได้ย้ายเป็นรักษาการ ผู้บัญชาการประจำสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ทำหน้าที่ประสานงานสำนักนายกรัฐมนตรีและกระทรวงมหาดไทย) ก่อนจะได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) ให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจนครบาลในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 สืบต่อจาก พล.ต.ท.สัณฐาน ชยนนท์ นอกเหนือจากการรับราชการตำรวจแล้ว พล.ต.อ.จักรทิพย์ ยังมีตำแหน่งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) และคณะกรรมการบริหารกิจการขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) อีกด้วย ข้อมูลส่วนตัว พล.ต.อ.จักรทิพย์ เป็นคนที่ส่วนสูงเพียง 165 เซนติเมตร หนักประมาณ 65 กิโลกรัม ซึ่งถือได้ว่าเป็นบุคคลรูปร่างเล็ก แต่ทว่าเมื่อแต่งเครื่องแบบแล้วจะพกพาอาวุธปืนขนาดต่าง ๆ พร้อมแม็กกาซีนบรรจุกระสุนและอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น กุญแจมือหรือไฟฉาย ติดตัวไว้เสมอ ซึ่งรวมกันทั้งหมดมีน้ำหนักประมาณ 8 กิโลกรัม จนได้รับฉายาจากบุคคลใกล้ชิดว่า "แป๊ะ 8 กิโล" และได้รับฉายาจากสื่อมวลชนเมื่อปลายปี พ.ศ. 2553 ว่า "น.1 อีซี่พาส" เนื่องจากติดยศ พลตำรวจโท (พล.ต.ท.) อย่างรวดเร็วและเป็นถึงผู้บัญชาการตำรวจนครบาล ทั้ง ๆ ที่เพื่อนร่วมรุ่นบางคนยังเป็นแค่สารวัตรเท่านั้น จึงคาดหมายว่าในอนาคต อาจจะได้รับตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เพราะมีอายุราชการนานถึง 10 ปี ต่อมาสมัยรัฐบาลที่มี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีนั้น พล.ต.อ.จักรทิพย์ ได้ถูกโยกย้ายไปเป็นผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค (ผบช.ภาค 9) โดยมี พล.ต.ท.วินัย ทองสอง เข้ามาดำรงตำแหน่งแทน หลังจากรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ในวันที่ 24 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ได้รับคำสั่งจาก พล.ต.อ.วัชรพล ประสารราชกิจ รักษาการผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ให้ปฏิบัติหน้าที่รักษาการผู้บัญชาการตำรวจนครบาล แทนที่ พล.ต.ท.คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง ที่ได้รับคำสั่งให้ไปปฏิบัติหน้าที่ ศูนย์ราชการพิเศษ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจักรทิพย์ ชัยจินดา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพัทลุง

ัทลุง เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย เคยเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่แห่งหนึ่ง และยังมีสภาพภูมิประเทศทั้งที่ราบ เนินเขา และชายฝั่ง โดยทางทิศตะวันตกของจังหวัด จะเป็นพื้นที่ที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขา อันเนื่องมาจากมีพื้นที่ติดต่อกับเทือกเขานครศรีธรรมราช ถัดลงมาทางตอนกลางและทางทิศตะวันออกของจังหวัด จรดทะเลสาบสงขลาจะเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำการเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำนาข้าว ชาวภาคใต้จะเรียกจังหวัดนี้ว่า เมืองลุง.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดพัทลุง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพังงา

ังงา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไท.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดพังงา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดภูเก็ต

ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยะลา

ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสตูล

ตูล เป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย (ทางชายฝั่งทะเลอันดามัน) คำว่า สตูล มาจากคำภาษามลายูเกดะห์ว่า เซอตุล (ستول) (ภาษามาเลย์ว่า เซอตุล (setul)) แปลว่ากระท้อน ซึ่งเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชุมในท้องที่นี้ โดยชื่อเมือง นครสโตยมำบังสการา (Negeri Setoi Mumbang Segara) นั้นหมายความว่า สตูล เมืองแห่งพระสมุทรเทวา ดังนั้น "ตราพระสมุทรเทวา" จึงกลายเป็นตราหรือสัญลักษณ์ของจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดสตูล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปัตตานี

ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนราธิวาส

นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

ธีรชัย นาควานิช

ลเอก ธีรชัย นาควานิช (ชื่อเล่น: หมู, เกิด 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498) อดีตองคมนตรี ราชองครักษ์พิเศษตุลาการศาลทหารสูงสุด ประธานกรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค กรรมการการไฟฟ้านครหลวง และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตเลขาธิการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ,นายทหารพิเศษประจำ หน่วยทหารรักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 31 รักษาพระองค์ ประธานสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด กรรมการ ธนาคารทหารไท.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและธีรชัย นาควานิช · ดูเพิ่มเติม »

ทหาร

ทหารในประเทศเคนยา ทหาร หมายถึง ผู้มีหน้าที่ในเรื่องรบ นักรบ ผู้เป็นกำลังรักษาความมั่นคงและบำรุงประเทศและผู้เป็นกำลังรบและทำหน้าที่อื่นๆ ในยามสงคราม.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ทหารพราน

อชเค 33 เอ 2 ทหารพราน เป็นกำลังทหารราบเบากึ่งทหารซึ่งลาดตระเวนตามแนวชายแดนไทยและเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพไทย ทหารพรานทำงานร่วมกับตำรวจตระเวนชายแดน แต่ถูกฝึกและติดอาวุธให้ทำการรบ ขณะที่ตำรวจตระเวนชายแดนเป็นหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายมากกว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและทหารพราน · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานหาดใหญ่

ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ หรือ สนามบินหาดใหญ่ (IATA: HDY, ICAO: VTSS) ตั้งอยู่ที่ 99 หมู่ 3 ถนนสนามบินพาณิชย์ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา 90110 บริหารงานโดยบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาขน) โดยมีผู้อำนวยการท่าอากาศยานหาดใหญ่ดูแล เป็นท่าอากาศยานที่สำคัญ เนื่องจากเป็นประตูสำหรับชาวมุสลิมที่ต้องการไปแสวงบุญที่นครมักกะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ท่าอากาศยานหาดใหญ่มีเที่ยวบินมากเป็นอันดับ 6 ของประเทศ รองจาก ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ และ ท่าอากาศยานกระบี่ ตามลำดับ ปัจจุบันมีผู้โดยสารประมาณ 4,869,113 คน เที่ยวบิน 9,203 เที่ยวบินและสินค้าประมาณ 12,965 ตันใช้บริการท่าอากาศยานแห่งนี้ ทั้งนี้ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ มีความสามารถในการรองรับเที่ยวบินได้ 42 เที่ยวบิน/ชม.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและท่าอากาศยานหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมลายูปัตตานี

วนการแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมลายูปัตตานี (Barisan Revolusi Nasional Melayu Patani; Patani Malayu National Revolutionary Front) หรือบีอาร์เอ็นก่อตั้งเมื่อ 13 มีนาคม พ.ศ. 2503 โดยอุสตาซ อับดุลการิม ฮัสซัน กลุ่มนี้วางแผนก่อเหตุจับตัวผู้ว่าราชการจังหวัดในวันฮารีรายอ 18 มีนาคม..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและขบวนการแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมลายูปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติปัตตานี

วนการแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติปัตตานี (Barisan Nasional Pembebasan Patani, BNPP) เป็นองค์กรเคลื่อนไหวเพื่อแบ่งแยกดินแดนปัตตานีรุ่นแรก ๆ เกิดจากการรวมตัวของทายาทเจ้าเมืองเก่าที่สูญเสียอำนาจ และความไม่พอใจในนโยบายของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่กำหนดนโยบายรัฐนิยมบังคับสวมหมวก และนโยบายอื่น ๆ ที่ขัดต่อหลักศาสนาอิสลาม ผู้ก่อตั้งคือนายอดุลย์ ณ สายบุรี เวลาที่จัดตั้งขึ้นไม่แน่นอน อยู่ระหว่าง..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและขบวนการแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ดิเรกสิน รัตนสิน

ันโท ดิเรกสิน รัตนสินหมายรับสั่ง ที่ 6820 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2555 (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 — 3 มกราคม พ.ศ. 2555) เป็นทหารไทยผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เกิดเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 ที่วชิรพยาบาล เป็นบุตรของผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ชนินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัชดา รัตนสิน อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นหลานปู่ของพลตำรวจเอก โอภาส รัตนสิน อดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ และเป็นหลานตาของหม่อมหลวงประยูร อิศรเสนา อดีตข้าราชการสำนักพระราชวัง ได้รับพระราชทานชื่อจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีว่า “ดิเรกสิน” มีชื่อเล่นว่า “เอก” หรือที่เรียกกันในครอบครัวว่า “พี่เอก”.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและดิเรกสิน รัตนสิน · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ

ณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ ร. (National Peace Keeping Council - NPKC) เป็นคณะนายทหารที่ก่อการรัฐประหาร ยึดอำนาจจากพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นำโดย พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด พลเอกสุจินดา คราประยูร ผู้บัญชาการทหารบก, พลเอกอิสระพงศ์ หนุนภักดี รองผู้บัญชาการทหารบก และพลอากาศเอกเกษตร โรจนนิล ผู้บัญชาการทหารอากาศ คณะ ร. ให้เหตุผลในการยึดอำนาจว.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประวิตร วงษ์สุวรรณ

ลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2488) เป็นรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมตั้งแต่ปี 2557 รองหัวหน้าและประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและประวิตร วงษ์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปราการ ชลยุทธ

ลเอก ปราการ ชลยุทธ นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์ ผู้แทนพิเศษของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรองเสนาธิการทหาร, อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตผู้บัญชาการกองพลทหารม้าที่ 1 ค่ายพ่อขุนผาเมือง และราชองครักษ์พิเศษอดีตกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและปราการ ชลยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555

หตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไท..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเหตุระเบิดที่ภาคใต้ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาล

ำนักงานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาล เป็นรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบัน การปกครองรูปแบบเทศบาลเป็นการกระจายอำนาจให้แก่ท้องถิ่นดำเนินการปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเริ่มจากการจัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร..116 (พ.ศ. 2440) โดยมีพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 ในส่วนภูมิภาค มีการตราพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลท่าฉลอม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ขึ้นมีวิวัฒนาการเรื่อยมา จนถึงปี พ.ศ. 2475 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้มีการกระจายอำนาจการปกครองที่สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น โดยมีการจัดตั้งเทศบาลขึ้นในปี พ.ศ. 2476 โดยมีการตราพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเทศบาล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครยะลา

ทศบาลนครยะลา เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่งในประเทศไทย และ เป็นเทศบาลในจังหวัดยะล.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเทศบาลนครยะลา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

ทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก หรือเมืองสุไหงโก-ลก ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลสุไหงโก-ลกอำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ถือได้ว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนราธิวาส เป็นศูนย์กลางทางด้านการค้าและการลงทุนศูนย์กลางการเงินและธนาคารที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของชายแดนภาคใต้เนื่องด้วยเป็นหัวเมืองเศรษฐกิจที่สำคัญมีด่านศุลกากรที่เป็นศูนย์กลางการค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้า ทั้งนำเข้า และส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน มาเลเซียได้รับการประกาศยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง เมื่อ ปี..

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและ12 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยและ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

South Thailand insurgencyความไม่สงบสุขในจังหวัดชายแดนภาคใต้ความไม่สงบในภาคใต้ของประเทศไทยความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »