สารบัญ
4 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลางหมู่เกาะซุนดาน้อยประเทศอินโดนีเซีย
- ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย เป็นกลุ่มย่อยของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดทั้งหมดราว 351 ล้านคน แพร่กระจายในบริเวณหมู่เกาะตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงหมู่เกาะแปซิฟิก และมีจำนวนเล็กน้อยในผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย ภาษามาลากาซีเป็นภาษาในกลุ่มนี้ที่อยู่ห่างไกลที่สุดใช้พูดบนเกาะมาดากัสการ์ในมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะเฉพาะของกลุ่มภาษานี้คือมีแนวโน้มใช้การซ้ำคำทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อแสดงรูปพหูพจน์ การออกเสียงเป็นแบบง่ายๆ ไม่ค่อยพบกลุ่มของพยัญชนะ เช่น str หรือ mpt ในภาษาอังกฤษ มีเสียงสระใช้น้อย ส่วนมากมีห้าเสียง.
ดู ภาษากัมเบอราและกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซีย
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง
กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง (Central malayo-polynesian languages) เป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในหมู่เกาะซุนดาน้อยและหมู่เกาะโมลุกกะในทะเลบันดา ใกล้เคียงกับจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออก จังหวัดมาลูกู ประเทศอินโดนีเซียและประเทศติมอร์-เลสเต (ยกเว้นกลุ่มภาษาปาปัวของติมอร์และเกาะใกล้เคียง) โดยมีกลุ่มภาษาบีมาที่แพร่กระจายในบบจังหวัดนูซา เต็งการาตะวันตกลล และภาคตะวันออกของเกาะซุมบาวา และกลุ่มภาษาซูลาทางตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดมาลูกูตอนเหนือ เกาะหลักๆของบริเวณนี้ได้แก่ เกาะซุมบาวา เกาะซุมบา เกาะฟลอเรส เกาะติมอร์ เกาะบูรู และเกาะเซรัม ภาษาที่สำคัญได้แก่ ภาษามัวฆาไรของเกาะฟลอเรสตะวันตกและภาษาเตตุมที่เป็นภาษาประจำชาติของติมอร์-เลสเต การจัดแบ่งกลุ่มภาษานี้มีหลักฐานอ่อน โดยเฉพาะข้อด้อยที่ไม่มีลักษณะร่วมของภาษาในเขตภูมิศาสตร์เดียวกัน นักภาษาศาสตร์บางคนจัดให้กลุ่มนี้เป็นกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง-ตะวันออกที่ต่างจาก กลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียตะวันออก (Grimes, 1991) ภาษาจำนวนมากทางทางตะวันออกของเกาะฟลอเรสและเกาะใกล้เคียงโดยเฉพาะเกาะซาวู มีศัพท์พื้นฐานที่ไม่อยู่ในตระกูลออสโตรนีเซียนมาก และอาจจะต้องพิสูจน์ต่อไปว่าเป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียนแน่นอนหรือไม่ (Würm, 1975).
ดู ภาษากัมเบอราและกลุ่มภาษามาลาโย-โพลีเนเซียกลาง
หมู่เกาะซุนดาน้อย
แผนที่หมู่เกาะซุนดาน้อย ภาพถ่ายดาวเทียมของหมู่เกาะซุนดาน้อย เกาะบันตาในหมู่เกาะซุนดาน้อย หมู่เกาะซุนดาน้อย (Lesser Sunda Islands) หรือ นูซาเต็งการา (Nusa Tenggara) ("หมู่เกาะตะวันออกเฉียงใต้") เป็นหมู่เกาะที่อยู่ทางใต้ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอยู่ทางเหนือของออสเตรเลีย เมื่อรวมกับหมู่เกาะซุนดาใหญ่ทางตะวันตกจะเรียกหมู่เกาะซุนดา อยู่ตามแนวเส้นภูเขาไฟ.
ดู ภาษากัมเบอราและหมู่เกาะซุนดาน้อย
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).
ดู ภาษากัมเบอราและประเทศอินโดนีเซีย
ดูเพิ่มเติม
ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย
- กลุ่มภาษาทรานส์-นิวกินี
- กลุ่มภาษาบอร์เนียว-ฟิลิปปินส์
- กลุ่มภาษาปาปัว
- กลุ่มภาษามาเลย์อิก
- ภาษากัมเบอรา
- ภาษากาโย
- ภาษางายู
- ภาษาชวา
- ภาษาซาซัก
- ภาษาดัวโน
- ภาษาทมิฬ
- ภาษาบากุมไป
- ภาษาบาซับ
- ภาษาบาเฮา
- ภาษาบูกัต
- ภาษาบูนัก
- ภาษาปันตาร์ตะวันตก
- ภาษามลายู
- ภาษามลายูจัมบี
- ภาษามาดูรา
- ภาษามีนังกาเบา
- ภาษาลาวางัน
- ภาษาลุนบาวัง
- ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน
- ภาษาอัมปานัง
- ภาษาอาดัง
- ภาษาอาบุย
- ภาษาอาเจะฮ์
- ภาษาอินโดนีเซีย
- ภาษาอีบัน
- ภาษาเตาซุก
- ภาษาเนเดบัง
- ภาษาเบอตาวี
- ภาษาเม็นตาไว
- ภาษาแคะ
- ภาษาโกฮิน
- ภาษาโตเบโล
- ภาษาโอซิง
- ภาษาโฮโวงัน
- ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ภาษาซุมบาวา