โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย

ดัชนี ภาษาในประเทศอินโดนีเซีย

ในประเทศอินโดนีเซีย มีภาษาพูดมากกว่า 700 ภาษา ส่วนมากเป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเชียน และมีอยู่บางส่วนที่พูดภาษาที่ใช้เฉพาะในเกาะนิวกินี ซึ่งมีมากมายหลายตระกูลภาษา โดยภาษาราชการของประเทศ คือ ภาษาอินโดนีเซีย (หรือที่เรียกกันทั่วๆไปว่า บาฮาซาอินโดนีเซีย) ซึ่งผันแปรมาจากภาษามลายูแบบตลาด ที่ใช้กันเป็นภาษากลาง ในบรรดาหมู่เกาะต่างๆ โดยมีคำศัพท์ในภาษาท้องถิ่นของอินโดนีเซียปะปนอยู่เป็นจำนวนมาก ทั้งภาษาชวา ภาษาซุนดา และภาษามีนังกาเบา ภาษาอินโดนีเซีย ใช้กันเป็นพื้นฐาน ในวงการพานิช บริหารรัฐกิจ การศึกษา และสื่อมวลชน ส่วนมากผู้ที่พูดภาษาอินโดนีเซีย สามารถพูดภาษาอื่นๆได้อีกด้วย เช่น ชาวชวา ที่พูดภาษาชวาเป็นภาษาแม่ งานเขียน และสื่อสิ่งพิมพ์ ใช้ภาษาอินโดนีเซีย มากที.

38 ความสัมพันธ์: ชาวชวาภาษาภาษาชวาภาษาบาหลีภาษาบูกิสภาษากัมเบอราภาษากาโยภาษามลายูภาษามลายูจัมบีภาษามาดูราภาษามีนังกาเบาภาษาราชการภาษาหมิ่นใต้ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐานภาษาอาเจะฮ์ภาษาอินโดนีเซียภาษาจีนกวางตุ้งภาษาซุนดาภาษาแคะภาษาเบอตาวีภาษาเตตุมยกยาการ์ตาสื่อมวลชนหมู่เกาะโมลุกกะหมู่เกาะเรียวจังหวัดชวากลางจังหวัดชวาตะวันตกจังหวัดบาหลีจังหวัดสุมาตราตะวันตกจังหวัดสุมาตราเหนือจังหวัดอาเจะฮ์จังหวัดจัมบีจังหวัดเรียวจาการ์ตาตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนประเทศอินโดนีเซียเกาะมาดูราเกาะนิวกินี

ชาวชวา

วา เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย มีถิ่นฐานอยู่ทางตอนกลางและทางตะวันออกของเกาะชว.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและชาวชวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษา

ษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การพูดอะไรก็ได้ที่เป็นภาษาเช่น สวัสดี คน สวย ให้ พี่ ไป ส่ง ป่าว เป็นราก...

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชวา

ษาชวา คือภาษาพูด ของผู้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75,500,000 คน ภาษาชวาอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายู ผู้พูดภาษาชวา พูดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่น ๆ มีชุมชนผู้พูดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลายูได้.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาชวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาหลี

ษาบาหลี เป็นภาษาท้องถิ่นของเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ใช้พูดในเกาะชวา เกาะบาหลีและเกาะลอมบอก มีผู้พูด 3.8 ล้านคน คิดเป็น 2.1 % ของประชากรอินโดนีเซียทั้งประเทศ โดยที่ชาวบาหลีส่วนใหญ่จะพูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง เขียนด้วยอักษรบาหลีและอักษรละติน เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใกล้เคียงกับภาษาซาซักและภาษากัมเบอราในเกาะซุมบาวา มีการแบ่งระดับชั้นภายในภาษ.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบูกิส

ษาบูกิส เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรราว 4 ล้านคน ในภาคใต้ของเกาะซูลาเวซี ประเทศอินโดนีเซีย คำว่า บูกิส มาจากภาษามลายู ส่วนชาวบูกิสเรียกภาษาของตนว่า บาซา อูกิ แปลว่ากษัตริย์องค์แรก ซึ่งหมายถึง กษัตริย์ในอาณาจักรบุกิสโบราณ แต่เรื่องราวไม่ชัดเจนเพราะไม่มีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานลายลักษณ์อักษรครั้งแรกที่พบคือ อี ลา กาลิโก ซึ่งเป็นภาพวงกลม เล่าถึงกำเนิดชีวิต พบในซูลาเวซีใต้.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาบูกิส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากัมเบอรา

ษากัมเบอราหรือภาษาซุมบา ภาษาซุมบาตะวันออก ภาษาฮุมบา ภาษาฮีลู ฮุมบา เป็นภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ใช้พูดในหมู่เกาะซุนดาน้อย ประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษากัมเบอรา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาโย

ภาษากาโย เป็นภาษาที่มีผู้พูดราว 180,000 คน (พ.ศ. 2532) ในเขตภูเขาของสุมาตราเหนือ รอบๆ ตาเกโงน เก็นเต็ง และ โลโกน ประเทศอินโดนีเซีย อยู่ในกลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก ตระกูลออสโตรนีเซียน แต่ไม่ใกล้เคียงกับภาษาในกลุ่มเท่าใดนัก กาโย.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษากาโย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายู

ษามลายู (Bahasa Melayu) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีสถานะเป็นภาษาราชการในบรูไน, มาเลเซีย, สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย มีผู้พูดประมาณ 200–250 ล้านคน (ณ ปี พ.ศ. 2552) โดยเป็นภาษาแม่ของผู้คนตลอดสองฟากช่องแคบมะละกา ซึ่งได้แก่ ชายฝั่งคาบสมุทรมลายูของมาเลเซียและชายฝั่งตะวันออกของเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย และได้รับการยอมรับเป็นภาษาแม่ในชายฝั่งตะวันตกของซาราวะก์และกาลีมันตันตะวันตกในเกาะบอร์เนียว นอกจากนี้ยังใช้เป็นภาษาการค้าในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ ซึ่งได้แก่ ตอนใต้ของคาบสมุทรซัมบวงกา, กลุ่มเกาะซูลู และเมืองบาตาราซาและบาลาบัก (ซึ่งมีชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่) ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาลาวัน ในฐานะที่เป็นภาษาประจำชาติ (Bahasa Kebangsaan หรือ Bahasa Nasional) ของรัฐเอกราชหลายรัฐ ภาษามลายูมาตรฐานมีชื่อทางการแตกต่างกันไป ในบรูไนและสิงคโปร์เรียกว่า "ภาษามลายู" (Bahasa Melayu) ในมาเลเซียเรียกว่า "ภาษามาเลเซีย" (Bahasa Malaysia) และในอินโดนีเซียเรียกว่า "ภาษาอินโดนีเซีย" (Bahasa Indonesia) อย่างไรก็ตาม ในหลายพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะสุมาตราที่ซึ่งภาษามลายูเป็นภาษาพื้นเมือง ชาวอินโดนีเซียจะเรียกภาษานี้ว่า "ภาษามลายู" และมองว่าเป็นภาษาหนึ่งในบรรดาภาษาประจำภูมิภาคของตน ภาษามลายูมาตรฐาน (หรือที่เรียกว่าภาษามลายูราชสำนัก) เคยเป็นวิธภาษามาตรฐานในวรรณกรรมของรัฐสุลต่านมะละกาและยะโฮร์สมัยก่อนอาณานิคม ดังนั้น บางครั้งจึงเรียกว่าภาษานี้ว่าภาษามลายูมะละกา, ภาษามลายูยะโฮร์ หรือภาษามลายูเรียว (หรือชื่ออื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเหล่านี้ประกอบกัน) เพื่อแยกให้แตกต่างกับภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาในกลุ่มภาษามลายู จากข้อมูลของเอ็ทนอล็อก (Ethnologue) วิธภาษามลายูต่าง ๆ ซึ่งในปัจจุบันมีรายชื่อเป็นภาษาแยกต่างหาก (รวมถึงวิธภาษาโอรังอัซลีในมาเลเซียตะวันตก) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับภาษามลายูมาตรฐานมากจนอาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นภาษาถิ่นของภาษาเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีภาษามลายูการค้าและภาษาครีโอล (creole) จากภาษามลายูอีกจำนวนมากซึ่งมีพื้นฐานจากภาษากลางที่พัฒนามาจากภาษามลายูตามแบบแผนดั้งเดิม เช่นเดียวกับภาษามลายูมากัสซาร์ซึ่งปรากฏว่าเป็นภาษาผสม.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษามลายู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูจัมบี

ษามลายูจัมบี (Bahasa Melayu Jambi) เป็นรูปแปรหนึ่งของภาษามลายูที่พูดกันในจังหวัดจัมบี ประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษามลายูจัมบี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาดูรา

ษามาดูราเขียนด้วยอักษรชวา ภาษามาดูรา (Madura language) เป็นที่ใช้พูดบนเกาะมาดูรา ในประเทศอินโดนีเซีย และเกาะอื่นๆ เช่นเกาะกาเงียน เกาะซาปูดี และทางตะวันออกของชวาตะวันออก พบในสิงคโปร์ด้วย อยู่ในกลุ่มย่อยซุนดา ของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก ตระกูลอสสโตรนีเซียน เคยเขียนด้วยอักษรชวา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน มีผู้พูด 13,600,000 คนในอินโดนีเซีย (พ.ศ. 2543) ภาษานี้มีรากศัพท์เหมือนกับภาษากาเงียน 75% และเข้าใจกันได้ยาก ภาษานี้มีหลายสำเนียง สำเนียงซูเมเนบ จัดเป็นสำเนียงมาตรฐาน สำเนียงบังกาลนที่พูดในสุราบายา เป็นสำเนียงที่ใช้ทางการค้ามากที่สุด เป็นสำเนียงที่ใช้ในเมืองและได้รับอิทธิพลจากภาษาอินโดนีเซียมาก และผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาอินโดนีเซียด้วย แปลไบเบิลเป็นภาษานี้ใน..

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษามาดูรา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามีนังกาเบา

ภาษามีนังกาเบา (ชื่อในภาษาของตนเอง: Baso Minang (kabau); ภาษาอินโดนีเซีย: Bahasa Minangkabau) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน ใช้พูดโดยชาวมีนังกาเบาในสุมาตราตะวันตก ทางตะวันตกของเกาะเรียว และเมืองอื่น ๆ ในอินโดนีเซียเนื่องจากการอพยพ รวมทั้งในประเทศมาเลเซีย ภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษามลายูทั้งในด้านศัพท์และไวยากรณ์ นักภาษาศาสตร์บางคนจัดให้เป็นสำเนียงของภาษามลายู ในมาเลเซีย ภาษานี้ใช้พูดในรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวมีนังกาเบาที่อพยพมาจากสุมาตรา ภาษานี้เป็นภาษากลางในชายฝั่งตะวันตกของสุมาตราเหนือ และเคยใช้ในบางส่วนของอาเจะฮ์ ในชื่อ Aneuk Jamee มีนังกาเบา มีนังกาเบา.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษามีนังกาเบา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาราชการ

ษาทางการ หรือ ภาษาราชการ คือภาษาที่มีการกำหนดให้เป็นภาษาหลักในการติดต่อสื่อสารภายในประเทศและเขตแดนที่ติดต่อกับประเทศนั้น บางครั้งภาษาท้องถิ่นถูกเข้าใจผิดว่าเป็นภาษาทางการเพราะมีการใช้การติดต่อกับทางส่วนการปกครองของท้องที่นั้น ในขณะที่ประเทศส่วนใหญ่มีภาษาทางการ 1 ภาษา บางประเทศมีภาษาทางการ 2 ภาษาขึ้นไป เช่น เบลเยียม แคนาดา ฟินแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ฯลฯ ขณะเดียวกันบางประเทศไม่มีภาษาทางการ เช่น สหรัฐอเมริกา สวีเดน ฯลฯ ภาษาทางการของบางประเทศที่อยู่ภายใต้อาณานิคม เช่น ภาษาอังกฤษ และ ภาษาฝรั่งเศส ถูกใช้เป็นภาษาทางการ ถึงแม้ว่าไม่ใช่ภาษาที่มีการใช้เป็นหลักในประเทศนั้นๆ ในประเทศไอร์แลนด์ ภาษาไอร์แลนด์ (ไอริช) เป็นภาษาทางการและเป็นภาษาประจำชาติของประเทศ แต่มีผู้ใช้ภาษาไอร์แลนด์น้อยกว่า 1 ใน 3 ของประชากรประเทศ ขณะที่ผู้คนส่วนมากใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก ในบางประเทศมีการโต้เถียงอย่างรุนแรง ในประเด็นที่ว่าควรใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการของประเทศ สำหรับประเทศไทยนั้น ใช้ภาษาไทยมาตรฐาน เป็น "ภาษากลาง" ที่ได้พัฒนารูปแบบขึ้นมาจากภาษาไทยถิ่นกลางมาโดยลำดับ จนมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากภาษาไทยถิ่นกลางอื่นๆ เรียกอีกอย่างว่าเป็นภาษาหนังสือ เป็นภาษาที่ใช้ในเอกสารราชการ การประชุมที่เป็นทางการ หนังสือ และตำราต่างๆ โดยปรากฏแนวการพัฒนาเป็นภาษากลางตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาราชการ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นใต้

ษาหมิ่นใต้, ภาษาหมิ่นหนาน เป็นสำเนียงของภาษาจีน ใช้พูดทางใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และบริเวณใกล้เคียง และโดยลูกหลานของผู้อพยพจากบริเวณนี้เข้าไปยังบริเวณอื่นๆทั่วโลก โดยทั่วไปภาษาหมิ่นใต้เป็นชื่อเรียกโดยชาวจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำเนียงหนึ่งในภาษานี้เรียกภาษาไต้หวัน อยู่ในกลุ่มภาษาหมิ่น ของภาษาจีน โดยปกติไม่สามารถเข้าใจกันได้กับภาษาหมิ่นตะวันออก ภาษาจีนกวางตุ้ง และภาษาจีนกลาง.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาหมิ่นใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน

ษาหมิ่นใต้มาตรฐาน หรือ ภาษาฮกเกี้ยน (ภาษาหมิ่นใต้:福建話, ภาษาจีน:泉漳話) เป็นภาษาหมิ่นใต้ที่มีจำนวนผู้ใช้มากที่สุด มักจะใช้เรียกแทนภาษาหมิ่นใต้ ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐานมีแหล่งต้นกำเนิดมาจากจังหวัดจงาจิว, เจียงจิวและจังหวัดเอ้หมึงในมณทฑฝูเจี้ยน นอกไปจากนี้ยังมีจำนวนผู้ใช้จำนวนมากในประเทศไต้หวัน, สิงคโปร์ และประเทศฟิลิปปินส์บางส่วน ภาษาหมิ่นใต้ถิ่นนี้ ประเทศไต้หวันเรียกว่า ไต้อี๊ (อักษรจีน:臺語) ในเอเชียตะวันออกเฉียงไต้เรียกว่า ฮกเกี้ยนเอ (ป๋ายเอ๋ยี๋:Hok-kiàn-ōe) ส่วนจีนกลางเรียกว่า เฉวียนจางฮว่า (泉漳話) เพื่อป้องกันการสับสนกับภาษาฟุกจิว (อักษรจีน:福州話).

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาเจะฮ์

ภาษาอาเจะฮ์ เป็นภาษาในตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในอาเจะฮ์ เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย และโบตา รัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย อาเจะฮ์ อาเจะฮ์.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาอาเจะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจีนกวางตุ้ง

ษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า 粵 เยฺว่ Yuè หรือ ยฺหวืด Jyut6) เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลกที่อพยพไปจากมณฑลกวางตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเท.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาจีนกวางตุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซุนดา

ษาซุนดาเป็นภาษาที่ใช้พูดในหมู่ชาวซุนดา ประเทศอินโดนีเซียในเขตชวาตะวันตก อยู่ในตระกูลออโตรนีเซียน สาขามลาโย-โพลีนีเซียน สำเนียงปรีงาอันเป็นสำเนียงที่มีการสอนในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาซุนดา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแคะ

300px ภาษาแคะ ภาษาฮักกา หรือ เค่อเจียฮว่า คือหนึ่งในภาษาของตระกูลกลุ่มภาษาจีน มีผู้พูด 34 ล้านคน เป็นภาษาของชาวฮั่น ที่มีบรรพบุรุษอยู่ในมณฑลเหอหนานและส่านซี ทางเหนือของจีนเมื่อกว่า 2,700 ปีที่แล้วต่อมาชาวแคะอพยพไปทางใต้เข้าสู่มณฑลกวางตุ้งและฝูเจี้ยนและไปเป็นชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาแคะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบอตาวี

ษาเบอตาวี เป็นภาษาพูดของชาวเบอตาวีในกรุงจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซีย มีผู้พูดภาษาเบอตาวีเป็นภาษาแม่ประมาณ 2,700,000 ล้านคน (พ.ศ. 2536) โดยเป็นภาษาลูกผสมที่อิงภาษามลายู (Malay-based creole language) มีผู้พูดประมาณ 2,700,000 คน (พ.ศ. 2536) ในจาการ์ตา เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาลูกผสมที่มีภาษามลายูเป็นฐาน มีความแตกต่างจากภาษาอินโดนีเซียและภาษาลูกผสมที่มีฐานจากภาษามลายูอื่น ๆ เกิดขึ้นรววพุทธศตวรรษที่ 25 มีการออกเสียงและรากศัพท์ที่เป็นเอกลักษณ์ ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอรานากันในอินโดนีเซียและภาษาบาหลี ที่มาของคำว่า "เบอตาวี" มาจากคำว่า "บาตาฟียา" (Batavia) อันเป็นชื่อทางการของจาการ์ตาในสมัยที่อินโดนีเซียเป็นอาณานิคมของเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาเบอตาวี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตตุม

ษาเตตุม (หรือเตตุน) เป็นภาษาประจำชาติของประเทศติมอร์-เลสเต เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเชียน ที่มีคำจำนวนมากมาจากภาษาโปรตุเกส รวมถึงภาษามลายูและภาษาอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและภาษาเตตุม · ดูเพิ่มเติม »

ยกยาการ์ตา

กยาการ์ตา (Yogyakarta) เป็นเมืองหลักของเขตปกครองพิเศษยกยาการ์ตา เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่นี่ถือว่าเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมชวาโบราณทั้งในด้านดนตรี นาฏศิลป์ และงานฝีมือ ยกยาการ์ตาเคยเป็นเมืองหลวงในช่วงที่อินโดนีเซียเรียกร้องเอกราชจากดัชต์ในปีช่วง..1945 - 1949 เมืองยกยาการ์ตาแต่เดิมมีชื่อว่า "อโยธยา" (Ayodhya) ซึ่งตั้งตามเมืองในวรรณคดีเรื่องรามายณะ ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นยกยาการ์ตา โดยคำว่า ยกยา (Yogya) แปลว่า "เหมาะสม" ส่วนคำว่า การ์ตา (Karta) แปลว่า "รุ่งเรือง".

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและยกยาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

สื่อมวลชน

ื่อมวลชน (mass media) เป็นสื่อที่สามารถกระจายข้อมูลข่าวสารจากบุคคลหนึ่งหรือจากองค์กรหนึ่ง ไปยังมวลชนจำนวนมากโดยเฉพาะประชาชนทั้งประเทศ ในเวลาอันรวดเร็ว ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ อินเทอร์เน็ตฯลฯ การเผยแพร่ในสื่อมวลชนส่วนหนึ่งต้องจ่ายเงินเพื่อซื้อเวลา ซื้อพื้นที่ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตามองค์กรสามารถใช้สื่อมวลชนแบบให้เปล่าได้ หากองค์กรนั้นมีเรื่องราวที่น่าสนใจแก่การเผยแพร่ หรือบังคับโดยข้อกฎหม.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและสื่อมวลชน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโมลุกกะ

หมู่เกาะโมลุกกะ (Moluccas) หรือ หมู่เกาะมาลูกู (Maluku Islands) เป็นหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู ตั้งอยู่บนแผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย ทางด้านตะวันออกของเกาะซูลาเวซี (เซเลบีส) ทางด้านตะวันตกของเกาะนิวกินี และทางเหนือของติมอร์ ในอดีตนั้น ชาวจีนและชาวยุโรปเรียกหมู่เกาะนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะเป็นภูเขา บางส่วนยังเป็นภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ และมีสภาพภูมิอากาศที่ชื้น พืชพรรณอุดมสมบูรณ์ แม้จะอยู่บนเกาะที่เล็ก แคบ และล้อมรอบด้วยทะเล อาทิ ป่าฝน สาคู ข้าว และเครื่องเทศต่าง ๆ (เช่น ลูกจันทน์เทศ กานพลู และดอกจันทน์เทศ) ถึงแม้ว่าชาวเมลานีเซียนจะเป็นประชากรส่วนใหญ่แต่เดิมโดยเฉพาะบนเกาะบันดา แต่ก็ถูกสังหารในช่วงศตวรรษที่ 17 การอพยพเข้ามาของชาวมลายูในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในช่วงที่ชาวดัตช์ปกครองอยู่ และต่อเนื่องมาจนถึงยุคที่เป็นประเทศอินโดนีเซียแล้ว ในทางการเมือง หมู่เกาะโมลุกกะเป็นจังหวัดหนึ่งในอินโดนีเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 ถึงปี พ.ศ. 2542 มาลูกูเหนือและฮัลมาเฮรากลางถูกแยกออกเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ดังนั้น หมู่เกาะนี้จึงถูกแบ่งออกเป็น 2 จังหวัด คือ มาลูกู (Maluku) และมาลูกูเหนือ (North Maluku) ระหว่างปี 2542 ถึง 2545 เป็นช่วงที่เกิดความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมกับชาวคริสต์ แต่ก็เพิ่งกลับมาสงบสุขเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านม.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและหมู่เกาะโมลุกกะ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเรียว

หมู่เกาะเรียว (Kepulauan Riau) เป็นหมู่เกาะแห่งหนึ่งในเกาะสุมาตรา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 6 ของโลกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู อยู่ทางตอนใต้ของประเทศสิงคโปร์ ทางตะวันออกของหมู่เกาะนี้คือมหาสมุทรอินเดีย และมีเมืองหลวงชื่อตันจุงปีนัง.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและหมู่เกาะเรียว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชวากลาง

วากลาง (Jawa Tengah, ꦗꦮꦠꦼꦔꦃ) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย เมืองเอกคือ เซอมารัง (Semarang) นับเป็นหนึ่งในจังหวัดทั้งหกของเกาะชวา ชวากลางมีจุดเด่นทั้งด้านวัฒนธรรม และทางการเมือง ยอกยาการ์ตาเป็นส่วนสำคัญแห่งหนึ่งของชวากลาง อย่างไรก็ตาม ในเชิงการบริหารแล้ว เมืองนี้และพื้นที่โดยรอบเป็นพื้นที่พิเศษที่แยกต่างหาก นับตั้งแต่อินโดนีเซียประกาศเอกราช จังหวัดชวากลางมีพื้นที่ 32,548.20 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณหนึ่งในสี่ของพื้นที่เกาะชวา มีประชากร 31,820,000 (พ.ศ. 2548) จึงเป็นจังหวัดที่มีประชากรมากเป็นอันดับสามของอินโดนีเซีย รองจากชวาตะวันตก และชวาตะวันออก และมีประชากรประมาณหนึ่งในสี่ของเกาะนี้ ชวากลาง หมวดหมู่:จังหวัดชวากลาง.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและจังหวัดชวากลาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชวาตะวันตก

วาตะวันตก (Jawa Barat) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย มีเมืองบันดุงเป็นศูนย์กลาง.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและจังหวัดชวาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาหลี

หลี (Bali) เป็น 1 ใน 34 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดินปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมด 5,634.40 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 3,422,600 คน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซียและภาษาบาหลี.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและจังหวัดบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุมาตราตะวันตก

มาตราตะวันตก (Sumatera Barat) หรือเรียกอย่างย่อว่า ซุมบาร์ (Sumbar) เป็นจังหวัดทางภาคตะวันตกของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ประชากรในปี..

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและจังหวัดสุมาตราตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุมาตราเหนือ

มาตราเหนือ (Sumatera Utara) เป็นจังหวัดหนึ่งบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรมากกว่า 13 ล้านคน เป็นจังหวัดที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศหากไม่นับรวมกรุงจาการ์ต.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและจังหวัดสุมาตราเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาเจะฮ์

อาเจะฮ์ (Aceh) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของเกาะสุมาตร.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและจังหวัดอาเจะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจัมบี

ัมบี (Jambi) เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย จังหวัดอยู่ทางตอนกลางของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีเมืองหลักชื่อจัมบี จังหวัดมีเนื้อที่ 50,058.16 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 3,092,265 คน ตามการสำรวจสำมะโนประชากร ปี..

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและจังหวัดจัมบี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเรียว

รียว (Riau) เป็นหนึ่งใน 33 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกของเกาะสุมาตราซึ่งจรดช่องแคบมะละกา มีเมืองหลักชื่อเปอกันบารู จังหวัดมีเนื้อที่ 72,569 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 5,538,367 คน ตามการสำรวจสำมะโนประชากร ปี..

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและจังหวัดเรียว · ดูเพิ่มเติม »

จาการ์ตา

การ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนเกาะชวาฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ มีประชากร 8.3 ล้านคน (พ.ศ. 2543) ในอดีตมีชื่อว่า บาตาวียา หรือ ปัตตาเวีย (Batavia) คนไทยในอดีตเรียก กะหลาป๋.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและจาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน

ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน เป็นตระกูลภาษาที่มีผู้พูดกระจายไปทั่วหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมหาสมุทรแปซิฟิก มีจำนวนน้อยบนผืนแผ่นดินของทวีปเอเชีย อยู่ในระดับมาตรฐานเดียวกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนและตระกูลภาษายูราลิกคือสามารถสืบหาภาษาดั้งเดิมของตระกูลได้ คำว่าออสโตรนีเซียนมาจากภาษาละติน austro (ลมใต้) รวมกับคำภาษากรีก nesos (เกาะ) ตระกูลภาษานี้ได้ชื่อนี้ เพราะส่วนมากใช้พูดในบริเวณหมู่เกาะ มีเพียงไม่กี่ภาษา เช่น ภาษามลายู และ ภาษาจามที่ใช้พูดบนผืนแผ่นดิน สมาชิกของตระกูลนี้มีถึง 1,268 ภาษา หรือประมาณ 1 ใน 5 ของภาษาที่รู้จักกันทั่วโลก การแพร่กระจายจากแหล่งกำเนิดของภาษาถือว่ากว้างไกล เริ่มตั้งแต่เกาะมาดากัสการ์ ไปจนถึงเกาะทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ภาษาราปานูอี ภาษามาลากาซี และ ภาษาฮาวาย เป็นภาษาที่ใช้พูดตามรอบนอกของขอบเขตที่มีการใช้ภาษาตระกูลนี้ ภาษาตระกูลนี้มีสาขามากมาย ส่วนมากพบในไต้หวัน ภาษากลุ่มเกาะฟอร์โมซาในไต้หวันเป็นสาขาหลักของภาษาในตระกูลนี้ มีถึง 9 สาขา ภาษาที่ใช้พูดนอกเกาะฟอร์โมซาทั้งหมดอยู่ในภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย ซึ่งบางครั้งเรรียกว่าภาษานอกเกาะฟอร์โมซ.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เกาะมาดูรา

เกาะมาดูรา (Madura) เป็นเกาะในประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่นอกฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะชวา มีพื้นที่ราว 4,250 กม² เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดชวาตะวันออก มีเมืองสำคัญคือ เมืองปาเมกาซัน ภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นเนินเขา กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ การเลี้ยงปศุสัตว์ การประมง ปลูกข้าวโพด มันสำปะหลังและข้าวเจ้า หมวดหมู่:เกาะในประเทศอินโดนีเซีย.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและเกาะมาดูรา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะนิวกินี

นิวกินี (New Guinea) ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของประเทศออสเตรเลีย เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของโลก ซึ่งถูกแบ่งแยกออกจากแผ่นดินใหญ่ออสเตรเลีย เมื่อบริเวณที่ที่ปัจจุบันคือช่องแคบทอร์เรส (Torres Strait) จมลงในช่วง 5000 ปีก่อนคริสตกาล โดยพื้นที่ส่วนตะวันตกของตัวเกาะเป็นดินแดนจังหวัดปาปัวและจังหวัดปาปัวตะวันตก (อดีตอีเรียนจายาตะวันตก) ของประเทศอินโดนีเซีย ส่วนพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะมีฐานะเป็นแผ่นดินใหญ่ของรัฐเอกราชปาปัวนิวกินี ด้วยความสูง 4,884 เมตร ยอดเขาปุนจะก์จายา (Puncak Jaya) ซึ่งบางครั้งเรียกว่ายอดเขาการ์สเตินส์ (Carstensz) ทำให้เกาะนิวกินีได้รับการจัดให้เป็นพื้นแผ่นดินขนาดใหญ่ที่สูงเป็นอันดับที่ 4 ของโลก นิวกินี เกาะนิวกินี หมวดหมู่:เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก หมวดหมู่:เกาะนิวกินี หมวดหมู่:เกาะนานาชาติ หมวดหมู่:เกาะในประเทศปาปัวนิวกินี.

ใหม่!!: ภาษาในประเทศอินโดนีเซียและเกาะนิวกินี · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »