สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: พื้นที่คุ้มครองหินปูนอุทยานแห่งชาติศรีพังงาอุทยานแห่งชาติคลองพนมอุทยานแห่งชาติแก่งกรุงอุทยานแห่งชาติเขาสกดีบุกคอคอดกระคาสต์เทือกเขาเทือกเขาตะนาวศรีเขื่อนรัชชประภา
- คอคอดกระ
- คาบสมุทรมลายู
- บทความเกี่ยวกับ ภูมิศาสตร์ไทย ที่ยังไม่สมบูรณ์
- ภาคใต้
- เทือกเขาตะนาวศรี
- เทือกเขาในประเทศไทย
พื้นที่คุ้มครอง
การเดินป่าที่ป่าสงวน Jaldapara Wildlife Sanctuary ในเบ็งกอลตะวันตกในอินเดีย Arribes del Duero Natural Park ในสเปน อุทยานแห่งชาติสวิสในบริเวณภูเขาแอลป์ส่วนที่อยู่ในสวิตเซอร์แลนด์ พื้นที่คุ้มครอง (Protected area) คือภูมิภาคหรือบริเวณที่ได้รับการพิทักษ์หรืออนุรักษ์เพราะความมีคุณค่าต่อสิ่งแวดล้อม หรือเพราะความมีคุณค่าทั้งต่อสิ่งแวดล้อมและต่อวัฒนธรรม ตัวอย่างของภูมิภาคหรือบริเวณที่ได้รับการคุ้มครองก็ได้แก่อุทยาน, เขตสงวนธรรมชาติ (nature reserves) และ เขตอาศัย/อนุรักษ์สัตว์ (wildlife sanctuaries) แต่ไม่รวมภูมิภาคทางประวัติศาสตร์ เช่นสิ่งก่อสร้างที่มิได้คำนึงถึงคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ แต่รวม “ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม” (cultural landscapes) ที่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษยชาติและธรรมชาติ พื้นที่คุ้มครองรวม พื้นที่คุ้มครองทางทะเล (Marine Protected Area) ที่หมายถึงภูมิภาคหรือบริเวณที่ได้รับการพิทักษ์หรืออนุรักษ์ที่มีดินแดนที่รวมเนื้อที่ในทะเล พื้นที่คุ้มครองมีเป็นจำนวนมากและระดับของการพิทักษ์หรืออนุรักษ์ก็ต่างกันออกไปตามแต่กฎหมายของแต่ละประเทศ หรือตามกฎขององค์การระหว่างประเทศ ในปัจจุบันพื้นที่คุ้มครองทั่วโลกมีจำนวนด้วยกันทั้งหมดราว 108,000 แห่ง และมีเนื้อที่รวมกันทั้งสิ้นประมาณ 30,430,000 ตารางกิโลเมตร หรือกว่า 12% ของเนื้อที่ที่เป็นพื้นดินทั้งหมดทั่วโลก หรือกว้างใหญ่กว่าทวีปแอฟริกาทั้งทวีป ตรงกันข้ามกับพื้นที่คุ้มครองทางทะเลที่เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2009 มีจำนวน 5,000 แห่ง และมีเนื้อที่เพียง 0.8 ของหนึ่งเปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ที่เป็นมหาสมุทร.
ดู เทือกเขาภูเก็ตและพื้นที่คุ้มครอง
หินปูน
ำหรับหินปูนในช่องปากให้ดูที่ คราบหินปูน หินปูน (limestone) เป็นหินในกลุ่มหินตะกอน มีชื่อวิทยาศาสตร์ที่รู้จักกันในหมู่นักธรณีว่า แร่แคลไซต์ (Calcite)(CaCO3) เป็นหินตะกอนคาร์บอเนต เกิดจากการทับถมของตะกอนคาร์บอเนตในท้องทะเล ทั้งจากสารอนินทรีย์ และซากสิ่งมีชีวิต เช่น ปะการัง และกระดองของสัตว์ทะเล ซึ่งถับถมกันภายใต้ความกดดันและตกผลึกใหม่เป็นแร่แคลไซต์จึงทำปฏิกิริยากับกรด เนื้อแน่นละเอียดทึบ มีสีออกขาว เทา ชมพู หรือสีดำ เพราะฉะนั้น อาจมีซากดึกดำบรรพ์ในหินได้ เช่น ซากหอย ปะการัง ภูเขาหินปูนมักมียอดยักแหลมเป็นหน้าผา และเป็นหินที่ละลายน้ำได้ดี.
อุทยานแห่งชาติศรีพังงา
Plant in Thailand National Park-Sri Phang-Nga อุทยานแห่งชาติศรีพังงา อยู่ในเขตอำเภอคุระบุรี และอำเภอตะกั่วป่า ครอบคลุมพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เทือกเขานมสาว เนื้อที่ 153,800 ไร่ เป็นประเภทป่าดิบชื้น พันธุ์ไม้ที่สำคัญ เช่น ไม้ยาง ตะเคียนทอง ปาล์ม กระพ้อหนู ยังสามารถพบสัตว์ป่าหลายชนิด เช่น สมเสร็จ เลียงผา เก้ง นกเงือก ประกาศเป็นอุทยานเมื่อ 16 เมษายน 2531 ได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอ.
ดู เทือกเขาภูเก็ตและอุทยานแห่งชาติศรีพังงา
อุทยานแห่งชาติคลองพนม
100px อุทยานแห่งชาติคลองพนม อยู่ในท้องที่ตำบลคลองสก ตำบลพนม และตำบลพลูเถื่อน อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 460 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 290,000 ไร่ ได้จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2543.
ดู เทือกเขาภูเก็ตและอุทยานแห่งชาติคลองพนม
อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง
อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ครอบคลุมพื้นที่อำเภอท่าชนะ อำเภอไชยา อำเภอท่าฉาง และอำเภอวิภาวดี เป็นอุทยานที่มีสภาพป่าเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน มีสถานที่น่ารื่นรมย์สำหรับพักผ่อนหย่อนใจ เช่น น้ำตก ลำน้ำ บ่อน้ำร้อน ภูเขา ซึ่งมีทัศนียภาพที่สวยงาม เป็นป่าต้นน้ำลำธารที่หล่อเลี้ยงชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดชุมพร มีเนื้อที่ประมาณ 338,125 ไร่ หรือ 541 ตารางกิโลเมตร แก่งกรุงเป็นชื่อแก่งขนาดใหญ่ในลำน้ำคลองยัน ในอดีตการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยดำเนินการสำรวจเพื่อก่อสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ ปัจจุบันได้ชะลอโครงการดังกล่าวไว้.
ดู เทือกเขาภูเก็ตและอุทยานแห่งชาติแก่งกรุง
อุทยานแห่งชาติเขาสก
อุทยานแห่งชาติเขาสก มีพื้นที่อยู่ในท้องที่อำเภอพนมและอำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีสภาพพื้นที่เป็นธรรมชาติอันกว้างใหญ่ปกคลุมไปด้วยป่าดิบชื้น ครอบคลุมพื้นที่เกือบทั้งหมดของเขตอุทยานแห่งชาติ ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงต่ำสลับซับซ้อน พื้นที่ราบมีน้อย พื้นที่ส่วนหนึ่งด้านทิศเหนือบริเวณคลองพระแสงเป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ เกิดขึ้นเนื่องจากการก่อสร้างเขื่อนรัชชประภา (เชี่ยวหลาน) ประกอบไปด้วยพรรณไม้และสัตว์ป่านานาชนิด อุทยานแห่งชาติเขาสกมีเนื้อที่ประมาณ 741.01 ตารางกิโลเมตร หรือ 463,131.43 ไร่ ได้มีการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2523.
ดู เทือกเขาภูเก็ตและอุทยานแห่งชาติเขาสก
ดีบุก
ีบุก (อังกฤษ: Tin) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 50 และสัญลักษณ์คือ Sn (มาจากคำในภาษาลาตินว่า Stannum) ดีบุกเป็นโลหะที่ไม่ดี หลอมเหลวได้ง่าย ทนต่อการกัดกร่อน และถูกอ๊อกซิไดซ์ในอากาศได้ดี พบในโลหะผสมหลายชนิด ใช้ประโยชน์ในการเคลือบโลหะเพื่อป้องกันการกันกร่อน ดีบุกส่วนใหญ่สกัดได้จากแร่แคสสิเตอร์ไรต์ (cassiterite).
คอคอดกระ
อคอดกระ (เบื้องหลังเป็นเทือกเขาตะนาวศรี) คอคอดกระ หรือ กิ่วกระ เป็นส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายูอยู่ในเขตบ้านทับหลี ตำบลมะมุ อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง กับ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร ประมาณกิโลเมตรที่ 545 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ห่างจากเขตเทศบาลเมือง 66 กิโลเมตร ในบริเวณนี้มีแผ่นป้ายคอนกรีตขนาดใหญ่จำลอง คอคอดกระ มีระยะทางจากฝั่งทะเลตะวันตกจรดฝั่งตะวันออกกว้างเพียง 50 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนนี้นับเป็นยุทธศาสตร์สำคัญ ที่ได้รับความสนใจตั้งแต่ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในการที่จะขุดคลองตัดผ่านจนกระทั่งถึงรัชกาลที่ 4 ฝรั่งเศสคิดจะขุดคอคอดกระเพื่อร่นระยะทางในการเดินเรือจากฝั่งทะเลอันดามันข้ามมายังฝั่งอ่าวไทย โดยไม่ต้องอ้อมไปทางแหลมมลายู แต่เนื่องด้วยความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับอังกฤษที่เป็นเจ้าของกิจการท่าเรือในปีนังและสิงคโปร์โครงการนี้จึงต้องระงับไป ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองในสนธิสัญญาสมบูรณ์แบบไทยยินยอมที่จะไม่ขุดคลองคอคอดกระหากไม่ได้รับความยินยอมจากอังกฤษก่อน ปรีดี พนมยงค์ได้เสนอให้ขุดคลอง เมื่อ กุมภาพันธ์ พ.ศ.
คาสต์
ต์ คาสต์ (Karst) เป็นลักษณะของหินปูนที่ถูกน้ำ ละลายหินออกไปจนเหลือหินเป็นลักษณะตะปุ่มตะป่ำ เต็มไปด้วยหลุมบ่อ,ถ้ำและทางน้ำใต้ดินที่ละลายเอาเนื้อหินปูนแทรกซึมหายลงไป พื้นที่แบบนี้มักเป็นที่แห้งแล้งและมีธารน้ำที่น้ำไหลลงที่ต่ำในหน้าฝน แต่ตอนปลายธารน้ำมุดดินหายไปหมด คำนี้แต่เดิมใช้แก้ที่ราบสูงคาสต์อันเป็นที่ราบสูงหินปูนชายฝั่งทะเลเอเดรียติก ในเขตประเทศยูโกสลาเวียในปัจจุบัน ในประเทศไทยมีลักษณะของคาสต์คล้ายกันนี้แต่มีบริเวณที่เล็กกว่าอยู่ที่ อำเภอเมือง จังหวัดพังงา, อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช และ ปรากฏเป็นหย่อมๆ ทางตะวันตกของ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม.
เทือกเขา
เทือกเขาแอนดีส เทือกเขา หรือ ทิวเขา หมายถึงแนวทอดตัวของภูเขาที่ล้อมรอบด้วยพื้นที่ต่ำ หรือถูกแบ่งแยกออกจากภูเขาอื่นๆ ด้วยหุบเขาหรือแม่น้ำ ภูเขาแต่ละลูกที่อยู่ในเทือกเขาเดียวกันไม่จำเป็นต้องมีลักษณะทางธรณีวิทยาที่เหมือนกัน ซึ่งอาจเกิดจากการก่อเทือกเขา (orogeny) ที่แตกต่างกัน เช่น ภูเขาไฟ ภูเขายกตัวหรือภูเขายุบจม หรือมีชนิดของหินที่ไม่เหมือนกัน เทือกเขาแอนดีสเป็นเทือกเขาที่ยาวที่สุดในโลก เทือกเขาหิมาลัยเป็นเทือกเขาที่มียอดเขาที่สูงสุดในโลก คือยอดเขาเอเวอร์เรสต์และเทือกเขาอาร์กติกคอร์ดิลเลอรา (Arctic Cordillera) ก็เป็นเทือกเขาที่ตั้งอยู่ทิศเหนือมากที่สุดของโลก หมวดหมู่:ภูเขา.
เทือกเขาตะนาวศรี
ทือกเขาตะนาวศรีในอำเภอกะปง จังหวัดพังงา เทือกเขาตะนาวศรี (တနင်္သာရီ တောင်တန်း; Tenasserim Hills, Range) เป็นชื่อทางภูมิศาสตร์ของเทือกเขาซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศพม่ากับประเทศไทย และลากยาวผ่านคอคอดกระลงไปจนถึงคาบสมุทรมลายู ยอดเขาที่สูงที่สุดในเทือกเขาตะนาวศรี ชาวพม่าเรียกว่า "บีล็อกตอง" (Bilauktaung).
ดู เทือกเขาภูเก็ตและเทือกเขาตะนาวศรี
เขื่อนรัชชประภา
ื่อนรัชชประภา มีชื่อเรียกดั้งเดิมว่า เขื่อนเชี่ยวหลาน เป็นเขื่อนอเนกประสงค์แห่งที่สองของภาคใต้ อยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อก่อนสร้างแล้วเสร็จได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานนามให้ใหม่ว่า “เขื่อนรัชชประภา” มีความหมายว่า “แสงสว่างแห่งราชอาณาจักร” เขื่อนรัชชประภา สร้างปิดกั้นลำน้ำคลองแสง ที่บ้านเชี่ยวหลาน ตำบลเขาพัง อำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานีโดยพื้นที่ส่วนใหญ่ติดอุทยานแห่งชาติเขาสกเกือบทั้งหมด เป็นเขื่อนหินถมแกนดินเหนียว สูง 94 เมตร ความยาวสันเขื่อน 761 เมตร และมีเขื่อนปิดกั้นช่องเขาขาดอีก 5 แห่ง มีความจุ 5,638.8 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่อ่างเก็บน้ำ 185 ตารางกิโลเมตร ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเฉลี่ยปีละ 3,057 ล้านลูกบาศก์เมตร ติดตั้งเครื่องผลิตไฟฟ้า เครื่องละ 80,000 กิโลวัตต์ จำนวน 3 เครื่อง รวมกำลัง การผลิต 240,000 กิโลวัตต์ ให้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยปีละประมาณ 554 ล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง เขื่อนรัชชประภา เริ่มดำเนินการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..
ดู เทือกเขาภูเก็ตและเขื่อนรัชชประภา
ดูเพิ่มเติม
คอคอดกระ
คาบสมุทรมลายู
- ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
- คอคอดกระ
- คาบสมุทรมลายู
- ค่างแว่นถิ่นใต้
- ช่องแคบมะละกา
- ทะเลอันดามัน
- ทิวเขานครศรีธรรมราช
- ทิวเขาภูเก็ต
- ภาคใต้ (ประเทศไทย)
- ภาษามลายูปัตตานี
- ภาษาโอรังเซอเลตาร์
- ภาษาไทยถิ่นใต้
- มาเลเซียตะวันตก
- มโนราห์ (รำ)
- อาณาจักรลังกาสุกะ
- เทือกเขาตะนาวศรี
บทความเกี่ยวกับ ภูมิศาสตร์ไทย ที่ยังไม่สมบูรณ์
- คลองดำเนินสะดวก
- คลองภาษีเจริญ
- จังหวัดพิบูลสงคราม
- จังหวัดศรีโสภณ
- ดอยเชียงดาว
- ตำบลห้วยโก๋น
- ถนนสุรนารายณ์
- ทิวเขานครศรีธรรมราช
- ทิวเขาภูเก็ต
- น้ำตกทีลอซู
- ภาคตะวันตก (ประเทศไทย)
- ภูเข้
- มณฑลนครศรีธรรมราช
- วัดราชบุรณราชวรวิหาร
- สวนเบญจกิติ
- อำเภอบางปะอิน
- อุทยานเบญจสิริ
- อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติลานสาง
- อุทยานแห่งชาติแม่ปิง
- อ่าวมะนาว
- เกาะพะลวย
- เขตมิสซังเชียงราย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง
- เขื่อนแก่งเสือเต้น
- เทศบาลตำบลปักธงชัย
- เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์
- เทศบาลเมืองมาบตาพุด
- เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี
- เทศบาลเมืองหนองปรือ
- แขวงบางยี่เรือ
- แขวงบางไผ่
- โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ
ภาคใต้
- ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
- คอคอดกระ
- คาบสมุทรมลายู
- จังหวัดกระบี่
- จังหวัดชุมพร
- จังหวัดตรัง
- จังหวัดนครศรีธรรมราช
- จังหวัดปัตตานี
- จังหวัดพังงา
- จังหวัดพัทลุง
- จังหวัดภูเก็ต
- จังหวัดยะลา
- จังหวัดระนอง
- จังหวัดสงขลา
- จังหวัดสตูล
- จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- ช่องแคบมะละกา
- ทิวเขานครศรีธรรมราช
- ทิวเขาภูเก็ต
- ภาคใต้ (ประเทศไทย)
- ภาษามลายูปัตตานี
- ภาษาไทยถิ่นใต้
- มโนราห์ (รำ)
- สนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452
- อาณาจักรลังกาสุกะ
- เทศบาลนครภูเก็ต
- เทือกเขาตะนาวศรี
เทือกเขาตะนาวศรี
- ด่านเจดีย์สามองค์
- ทิวเขานครศรีธรรมราช
- ทิวเขาภูเก็ต
- ปลาหมูฮ่องเต้
- อุทยานแห่งชาติคลองพนม
- อุทยานแห่งชาติศรีพังงา
- อุทยานแห่งชาติเขาสก
- อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด
- อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
- อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง
- อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น
- อุทยานแห่งชาติไทรโยค
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองแสง
- เทือกเขาตะนาวศรี
เทือกเขาในประเทศไทย
- ทิวเขาขุนตาน
- ทิวเขาถนนธงชัย
- ทิวเขานครศรีธรรมราช
- ทิวเขาผีปันน้ำ
- ทิวเขาพนมดงรัก
- ทิวเขาภูเก็ต
- ทิวเขาหลวงพระบาง
- ทิวเขาแดนลาว
- เทือกเขาตะนาวศรี
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ทิวเขาภูเก็ต