โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เขื่อนแก่งเสือเต้น

ดัชนี เขื่อนแก่งเสือเต้น

ื่อนแก่งเสือเต้น เป็นโครงการก่อสร้างเขื่อนปิดกั้นแม่น้ำยมที่อำเภอสอง จังหวัดแพร่ เพื่อกักเก็บน้ำไว้เพื่อประโยชน์ด้านการเกษตรในเขตลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนบน ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าจะช่วยป้องกันปัญหาอุทกภัยซ้ำซากในพื้นที่ดังกล่าวได้ แต่ชาวบ้านในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อน องค์กรนอกภาครัฐ (NGO) และองค์กรภาคประชาชน ได้ออกมาคัดค้าน เพราะเห็นว่าเป็นการทำลายทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้ซึ่งยังคงมีความอุดมสมบูรณ์ และตั้งคำถามถึงความสามารถของเขื่อนในการป้องกันปัญหาอุทกภั.

17 ความสัมพันธ์: การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สนั่น ขจรประศาสน์อำเภอสองอำเภอเมืองแพร่องค์การนอกภาครัฐจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดพิจิตรจังหวัดสุโขทัยจังหวัดแพร่น้ำแม่กกน้ำแม่อิงแม่น้ำยมแม่น้ำงาวแม่น้ำโขงแม่น้ำเจ้าพระยา

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ตัวย่อ กฟผ. (Electricity Generating Authority of Thailand) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงพลังงาน มีหน้าที่ผลิตไฟฟ้าใช้ภายในประเทศไทย ในปี..

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและสนั่น ขจรประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสอง

อำเภอสอง (30px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและอำเภอสอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองแพร่

อำเภอเมืองแพร่ (50px) เป็นศูนย์กลางการบริหารราชการ ศูนย์กลางธุรกิจ และวัฒนธรรมของจังหวัดแพร.

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและอำเภอเมืองแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การนอกภาครัฐ

องค์การนอกภาครัฐ (non-governmental organisation หรือย่อว่า NGO) เป็นองค์การที่ไม่แสวงผลกำไร และดำเนินงานอยู่ภายนอกโครงสร้างการเมืองแบบสถาบัน โดยทั่วไปใช้เรียกกลุ่มรณรงค์ด้านสังคม วัฒนธรรม กฎหมาย และสิ่งแวดล้อมซึ่งไม่มีเป้าหมายหลักทางการค้า แต่เพื่ออุดมการณ์ในการปกป้องประชาชนไม่ให้ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาซึ่งไร้การจัดการที่ดี องค์การนอกภาครัฐมักจะได้รับเงินสนับสนุนส่วนหนึ่งจากภาคเอกชน เนื่องจากชื่อ "องค์การนอกภาครัฐ" นั้นกินความหมายกว้าง ปัจจุบัน ในประเทศไทยจึงนิยมใช้ว่า "องค์การอาสาสมัครเอกชน" (private voluntary organisation หรือ PVO), "องค์การพัฒนาเอกชน" (private development organisation หรือ PDO) หรือ "องค์การสาธารณประโยชน์".

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและองค์การนอกภาครัฐ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแพร่

ังหวัดแพร่ (25px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็ก มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างภูเขา โดยมีทิวเขาล้อมรอบ และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านคือแม่น้ำยม.

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำแม่กก

น้ำแม่กก (45px) เป็นแม่น้ำสายสำคัญสายหนึ่งในภาคเหนือของประเทศไทย มีต้นกำเนิดจากทิวเขาแดนลาวและทิวเขาผีปันน้ำตอนเหนือของเมืองกก จังหวัดเชียงตุงภายในอาณาเขตของรัฐชานในประเทศพม่า ไหลเข้าสู่ประเทศไทยที่ช่องน้ำแม่กก อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ไหลมาเรื่อย ๆ จนผ่านตัวอำเภอเมืองเชียงราย หลังจากนั้นก็ไหลลงแม่น้ำโขงที่บริเวณสบกก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย มีความยาว 285 กิโลเมตร (ในประเทศไทยยาว 130 กิโลเมตร) ลำน้ำสาขาที่สำคัญได้แก่ น้ำแม่ฝาง น้ำแม่ลาว และน้ำแม่สรว.

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและน้ำแม่กก · ดูเพิ่มเติม »

น้ำแม่อิง

น้ำแม่อิง (40px) เป็นแม่น้ำสายหลักของจังหวัดเชียงรายและจังหวัดพะเยา เป็นเพียงหนึ่งในแม่น้ำไม่กี่สายในประเทศที่ไหลย้อนขึ้นทางทิศเหนือ น้ำแม่อิงเป็นลำน้ำสาขาสายหนึ่งของแม่น้ำโขง โดยไหลลงแม่น้ำโขงที่บ้านปากอิง หมู่ที่ 16 ตำบลศรีดอนชัย อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและน้ำแม่อิง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำยม

แม่น้ำยมในจังหวัดแพร่ แม่น้ำยม (20px) เป็นแม่น้ำที่มีต้นกำเนิดอยู่ในป่าดงดิบสูงชันสลับซับซ้อนบนเทือกเขาผีปันน้ำและเทือกเขาแดนลาว ซึ่งอยู่ในเขต พะเยา และแพร่ โดยมีแม่น้ำงิม และ แม่น้ำควร ไหลมาบรรจบกันที่บ้านบุญยืน ตำบลนาปรัง อำเภอปง จังหวัดพะเยา มีความยาวประมาณ 735 กิโลเมตร กระแสน้ำไหลผ่านที่ราบสูงของอำเภอปง อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา ผ่านจังหวัดแพร่ สุโขทัย พิษณุโลก และพิจิตร ไปบรรจบกับแม่น้ำน่านที่ตำบลเกยไชย อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ก่อนแม่น้ำน่านจะไปรวมกับแม่น้ำปิง ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เกิดเป็นแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำสายสำคัญของพื้นที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย สภาพโครงสร้างทางน้ำของแม่น้ำยมมีลักษณะแบบกิ่งไม้ ประกอบด้วยลำน้ำสาขา 77 สาย ระดับน้ำสูงสุดในฤดูฝน ลดลงเมื่อถึงฤดูหนาว และต่ำสุดในฤดูร้อน ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและแม่น้ำยม · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำงาว

น้ำแม่งาว เป็นแม่น้ำสายหนึ่งที่มีต้นกำเนิดในอำเภองาวจังหวัดลำปาง โดยต้นน้ำเกิดมีแหล่งกำเนิดจากดอยปากบ่องผาแดง เป็นภูเขาสายหนึ่งของทิวเขาผีปันน้ำ ตะวันออกในเขตบ้านขุนแม่งาว ตำบลบ้านร้อง อำเภองาว จังหวัดลำปาง ไหลผ่านที่ราบลุ่มจากที่ภูเขาสูงลงสู่อำเภองาว จากนั้นไหลบรรจบสู่แม่น้ำยมที่อำเภอสอง จังหวัดแพร่ เป็นลำน้ำสาขาหลักของแม่น้ำยม หนึ่งในแม่น้ำสี่สายต้นกำเนิดแม่น้ำเจ้าพร.

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและแม่น้ำงาว · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง (မဲခေါင်မြစ်; ແມ່ນ້ຳຂອງ; ទន្លេដ៏ធំ; Mê Kông) มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านบริเวณที่ราบสูงทิเบตและมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศจีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ หลานชางเจียง (จีนตัวย่อ: 澜沧江, จีนตัวเต็ม: 瀾滄江) แปลว่า "แม่น้ำที่มีความเชี่ยวกราก" และเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึงคำเมืองล้านนาก็เรียก น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูบตะวันออก นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ ปลาบึก.

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: เขื่อนแก่งเสือเต้นและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »