สารบัญ
175 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2514พ.ศ. 2518พ.ศ. 2523พ.ศ. 2525พ.ศ. 2530พ.ศ. 2543พื้นที่ชุ่มน้ำกรีกมองโกเลียมาซิโดเนียลักเซมเบิร์กวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์สหรัฐสหราชอาณาจักรสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์สาธารณรัฐคองโกสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกสาธารณรัฐโดมินิกันสนธิสัญญาอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทองอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหมอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงาอุทยานแห่งชาติแหลมสนอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอดฮ่องกงทะเลแคสเปียนดอนหอยหลอดประเทศบราซิลประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาประเทศบอตสวานาประเทศบัลแกเรียประเทศบังกลาเทศประเทศบาห์เรนประเทศบาฮามาสประเทศชาดประเทศชิลีประเทศบุรุนดีประเทศบูร์กินาฟาโซประเทศฟิลิปปินส์ประเทศฟินแลนด์ประเทศพม่าประเทศกัมพูชาประเทศกัวเตมาลาประเทศกาบองประเทศกาบูเวร์ดีประเทศกานาประเทศกินีประเทศกินี-บิสเซาประเทศญี่ปุ่น... ขยายดัชนี (125 มากกว่า) »
- การอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำ
- สนธิสัญญาด้านสิ่งแวดล้อม
- สนธิสัญญายูเนสโก
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับกรีซ
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับกัมพูชา
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับตุรกี
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับนอร์เวย์
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับนิวซีแลนด์
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับบราซิล
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับฝรั่งเศส
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับฟินแลนด์
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับฟิลิปปินส์
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับมอนเตเนโกร
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับมาเลเซีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับยูเครน
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับลาว
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสวิตเซอร์แลนด์
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสหภาพโซเวียต
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสหรัฐ
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสหราชอาณาจักร
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสเปน
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสโลวาเกีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับออสเตรีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับออสเตรเลีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอิตาลี
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอินเดีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอินโดนีเซีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอิสราเอล
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอียิปต์
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเกาหลีเหนือ
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเกาหลีใต้
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเช็กเกีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเนเธอร์แลนด์
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเบลเยียม
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเม็กซิโก
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเยอรมนีตะวันตก
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเวียดนาม
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับแคนาดา
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับแอฟริกาใต้
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับโครเอเชีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับโปรตุเกส
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับโรมาเนีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับไทย
พ.ศ. 2514
ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และพ.ศ. 2514
พ.ศ. 2518
ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และพ.ศ. 2518
พ.ศ. 2523
ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และพ.ศ. 2523
พ.ศ. 2525
ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และพ.ศ. 2525
พ.ศ. 2530
ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และพ.ศ. 2530
พ.ศ. 2543
ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และพ.ศ. 2543
พื้นที่ชุ่มน้ำ
ื้นที่ชุ่มน้ำเขตร้อน -ป่าพรุศูนย์พิกุลทอง จังหวัดนราธิวาส พื้นที่ชุ่มน้ำ (wetland) หมายถึงลักษณะทางภูมิประเทศที่มีรูปแบบเป็น พื้นที่ลุ่ม พื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พื้นที่ฉ่ำน้ำ มีน้ำท่วม มีน้ำขัง พื้นที่พรุ พื้นที่แหล่งน้ำ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ทั้งที่มีน้ำขังหรือท่วมอยู่ถาวรและชั่วครั้งชั่วคราว ทั้งที่เป็นแหล่งน้ำนิ่งและน้ำทั้งที่เป็นน้ำจืด น้ำกร่อย และน้ำเค็ม รวมไปถึงพื้นที่ชายฝั่งทะเล และพื้นที่ของทะเล ในบริเวณซึ่งเมื่อน้ำลดลงต่ำสุดมีความลึกของระดับน้ำไม่เกิน 6 เมตร.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และพื้นที่ชุ่มน้ำ
กรีก
กรีก (Greek) อาจหมายถึง.
มองโกเลีย
มองโกเลีย อาจหมายถึง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และมองโกเลีย
มาซิโดเนีย
มาซิโดเนีย อาจหมายถึง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และมาซิโดเนีย
ลักเซมเบิร์ก
ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg) อาจหมายถึง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และลักเซมเบิร์ก
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และวิทยาศาสตร์
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
สหราชอาณาจักร
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และสหราชอาณาจักร
สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์
หมู่เกาะมาร์แชลล์ (Marshall Islands; มาร์แชลล์: Aelōn̄ in M̧ajeļ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ (Republic of the Marshall Islands; มาร์แชลล์: Aolepān Aorōkin M̧ajeļ) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศนาอูรูและประเทศคิริบาส ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศไมโครนีเซียและอยู่ทางใต้ของเกาะเวกของสหรัฐอเมริก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์
สาธารณรัฐคองโก
รณรัฐคองโก (République du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก-บราซาวีล (Congo-Brazzaville) หรือ คองโก (Congo) (เป็นคนละประเทศกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ซึ่งครั้งหนึ่งเคยใช้ชื่อประเทศว่า "สาธารณรัฐคองโก" เช่นกัน) เป็นอดีตอาณานิคมของฝรั่งเศสในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตกกลาง มีอาณาเขตจรดกาบอง แคเมอรูน สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก แองโกลา และอ่าวกินี.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และสาธารณรัฐคองโก
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
รณรัฐประชาธิปไตยคองโก (République Démocratique du Congo) หรือบางครั้งมีผู้เรียกว่า คองโก (Congo) และ คองโก-กินชาซา (Congo-Kinshasa) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกากลางและเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่อันดับที่ 2 ของทวีป สาธารณรัฐประชาธิปไตยมีอาณาเขตจรดสาธารณรัฐแอฟริกากลางและซูดานทางทิศเหนือ จรดยูกันดา รวันดา บุรุนดี และแทนซาเนียทางทิศตะวันออก จรดแซมเบียและแองโกลาทางทิศใต้ และจรดสาธารณรัฐคองโกทางทิศตะวันตก โดยมีทางออกสู่ทะเลตามแม่น้ำคองโกไปสู่อ่าวกินี ชื่อ คองโก (หมายถึง "นักล่า") มาจากกลุ่มชาติพันธุ์บาคองโก (Bakongo) ซึ่งอาศัยอยู่บริเวณลุ่มน้ำคองโก ในอดีตสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกเคยเป็นอาณานิคมของเบลเยียม โดยมีชื่อว่า เบลเจียน คองโก (Belgian Congo) ในปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
สาธารณรัฐโดมินิกัน
รณรัฐโดมินิกัน (Dominican Republic; República Dominicana) เป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 2 ใน 3 ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีส เกาะนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางทิศตะวันตกของเปอร์โตริโก และอยู่ทางทิศตะวันออกของคิวบาและจาเมกา โดยสาธารณรัฐโดมินิกันมีอาณาเขตจรดเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณรัฐโดมินิกันเป็นคนละประเทศกับดอมินีกา ซึ่งเป็นประเทศในทะเลแคริบเบียนอีกประเทศหนึ่ง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และสาธารณรัฐโดมินิกัน
สนธิสัญญา
นธิสัญญา (treaty) เป็นข้อตกลงเฉพาะหน้าภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศซึ่งเข้าทำสัญญาโดยตัวแสดงในกฎหมายระหว่างประเทศ ได้แก่ รัฐเอกราชและองค์การระหว่างประเทศ สนธิสัญญาอาจเรียกชื่อต่าง ๆ เช่น กติกา (covenant), กติกาสัญญา (pact), กรรมสาร (act), ข้อตกลง (accord), ความตกลง (agreement), แถลงการณ์ (communiqué), ปฏิญญา (declaration), พิธีสาร (protocol) และ อนุสัญญา (convention) แต่ไม่ว่าจะเรียกอย่างไร รูปแบบความตกลงทั้งหมดเหล่านี้ถือว่าเป็นสนธิสัญญาเท่าเทียมกันและมีหลักเกณฑ์เดียวกันภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ สนธิสัญญาสามารถเปรียบได้หลวม ๆ กับสัญญา ทั้งสองต่างเป็นวิธีการที่ภาคีที่สมัครใจยอมรับพันธกรณีต่อกัน และภาคีซึ่งไม่สามารถยึดพันธกรณีสามารถรับผิดได้ภายใต้กฎหมายระหว่างประเท.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และสนธิสัญญา
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง เป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเลที่มีลักษณะเป็นหมู่เกาะในอ่าวไทยประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ 42 เกาะ ได้แก่ เกาะพะลวย เกาะวัวตาหลับ เกาะแม่เกาะ เกาะสามเส้า เกาะหินดับ เกาะนายพุด และเกาะไผ่ลวก เป็นต้น ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลอ่างทอง อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ครอบคลุมพื้นที่ 102 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นน้ำประมาณ 84 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 82 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมด ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในเขตจังหวัดตรัง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา
อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในจังหวัดพังงา มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 400 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ป่าชายเลนผืนใหญ่ที่อุดมสมบูรณ์คงสภาพธรรมชาติดั้งเดิมอยู่มาก เป็นป่าชายเลนกว้างใหญ่ที่สุดของประเทศไทยในปัจจุบัน โดยมีเนื้อที่ป่าโดยรวมทั้งจังหวัด 190,265 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 18.17 ของเนื้อที่ป่าชายเลนทั้งประเทศ (พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา
อุทยานแห่งชาติแหลมสน
อุทยานแห่งชาติแหลมสน (Laem Son National Park) เป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเล ประกอบไปด้วยป่าชายเลน หาดทราย และแนวปะการัง มีพื้นที่ 315 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมอำเภอเมืองและอำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง และอำเภอคุระบุรี จังหวัดพังง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และอุทยานแห่งชาติแหลมสน
อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด
อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในอำเภอสามร้อยยอดและอำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขัน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด
ฮ่องกง
องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.
ทะเลแคสเปียน
ทะเลแคสเปียน (Caspian Sea) เป็นทะเลปิดที่อยู่ระหว่างทวีปเอเชียกับทวีปยุโรป มีเนื้อที่ผิวน้ำประมาณ 371,000 ตร.กม. และจุดลึกที่สุดลึกประมาณ 980 เมตร ทะเลแคสเปียนมีลักษณะร่วมของทั้งทะเลและทะเลสาบ บางครั้งจึงได้ชื่อว่าเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในโลก อย่างไรก็ตามน้ำในทะเลแคสเปียนกลับไม่ได้เป็นน้ำจืด มีปริมาณเกลือประมาณ 1.2% ซึ่งคิดเป็น 1 ใน 3 ของปริมาณเกลือในน้ำทะเลทั่วไป.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และทะเลแคสเปียน
ดอนหอยหลอด
ริเวณดอนใน ดอนหอยหลอดตอนน้ำขึ้น ดอนหอยหลอด เป็นสันดอนตั้งอยู่ปากแม่น้ำแม่กลอง มีอาณาบริเวณกว้างประมาณ 3 กิโลเมตร ยาว 5 กิโลเมตร ใน ตำบลบางจะเกร็ง ตำบลแหลมใหญ่ ตำบลบางแก้ว อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นสถานที่ที่พบหอยหลอดจำนวนมาก เกิดจากการตกตะกอนของดินปนทราย (ชาวบ้านเรียกว่า “ทรายขี้เป็ด”).
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และดอนหอยหลอด
ประเทศบราซิล
ราซิล (Brazil; Brasil) หรือชื่อทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล (Federal Republic of Brazil; República Federativa do Brasil) เป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ และเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก มีพื้นที่กว้างขวางระหว่างตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้และ มหาสมุทรแอตแลนติก มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอุรุกวัย อาร์เจนตินา ปารากวัย โบลิเวีย เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา กายอานา ซูรินาม และแคว้นเฟรนช์เกียนาของฝรั่งเศส (ติดกับทุกประเทศในทวีปอเมริกาใต้ ยกเว้นเอกวาดอร์และชิลี) ชื่อ "บราซิล" มาจากต้นไม้ชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า บราซิลวูด (Pau-Brasil ในภาษาโปรตุเกส) ซึ่งนำไปใช้ย้อมผ้าด้วยสีแดงจากเปลือกไม้ของมัน บราซิลเป็นดินแดนแห่งเกษตรกรรมและป่าเขตร้อน การที่บราซิลมีทรัพยากรธรรมชาติที่มากมายและมีแรงงานเป็นจำนวนมาก ทำให้เป็นประเทศที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) สูงที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ (สูงเป็นอันดับที่ 10 ของโลก) และเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคในปัจจุบัน บราซิลใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาทางการ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศบราซิล
ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
right บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Bosnia and Herzegovina; บอสเนีย: Bosna i Hercegovina) บางครั้งย่อเป็น Bosnia, BiH, БиХ เป็นประเทศบอลข่านตะวันตกที่มีภูเขามาก เมืองหลวงชื่อซาราเยโว เดิมเป็นหนึ่งในหกสาธารณรัฐของอดีตยูโกสลาเวีย ได้รับเอกราชในสงครามยูโกสลาเวียในช่วงทศวรรษ 1990 และเนื่องจากข้อตกลงเดย์ตัน จึงเป็นรัฐในอารักขาของชุมชนนานาชาติ ปกครองโดยตัวแทนระดับสูงที่เลือกโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ประเทศบอตสวานา
อตสวานา (อังกฤษและBotswana) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบอตสวานา (Republic of Botswana; Lefatshe la Botswana) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาใต้ และเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตดังนี้ ทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ ทิศตะวันตกติดกับประเทศนามิเบีย ทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศซิมบับเว.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศบอตสวานา
ประเทศบัลแกเรีย
ัลแกเรีย (България) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐบัลแกเรีย (Република България) เป็นประเทศทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีชายฝั่งบนทะเลดำไปทางตะวันออก มีพรมแดนติดต่อกับประเทศกรีซและประเทศตุรกีทางใต้ ประเทศเซอร์เบียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางตะวันตก และประเทศโรมาเนียทางเหนือตามแม่น้ำดานูบบัลแกเรียเคยเป็นอาณานิคมของรัสเซี.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศบัลแกเรีย
ประเทศบังกลาเทศ
ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศบังกลาเทศ
ประเทศบาห์เรน
ห์เรน (Bahrain; البحرين) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain; مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะในอ่าวเปอร์เซีย โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียที่อยู่ห่างจากเกาะประมาณ 28 กิโลเมตร คือ สะพานคิงฟะฮัด ซึ่งเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค..1986 ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศบาห์เรน
ประเทศบาฮามาส
ประเทศบาฮามาส (The Bahamas) หรือชื่อทางการว่า เครือรัฐบาฮามาส (Commonwealth of the Bahamas) เป็นประเทศตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อยู่ทางตอนเหนือของประเทศคิวบาและทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากคำนภาษาสเปนว่า "บาคามาร์" (baja mar) มีความหมายว่า "ทะเลน้ำตื้น" เศรษฐกิจของประเทศมากกว่าร้อยละ 60 ของจีดีพี มาจากธุรกิจการท่องเที่ยว ส่วนที่เหลือมาจากอุตสาหกรรมการเกษตร.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศบาฮามาส
ประเทศชาด
(Tchad; تشاد, Tshād) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกจดประเทศซูดาน ทางใต้จดสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศแคเมอรูนและประเทศไนจีเรีย และทางตะวันตกจดประเทศไนเจอร์ เนื่องจากมีระยะไกลจากทะเลและมีภูมิอากาศเป็นแบบทะเลทรายเป็นส่วนใหญ่ ประเทศจึงได้ชื่อว่าเป็น "หัวใจตายของแอฟริกา" (dead heart of Africa) ทางเหนือมีทิวเขาทิเบสตี (Tibesti Mountains) ซึ่งเป็นเทือกเขาที่ใหญ่ที่สุดในทะเลทรายสะฮารา เดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐเฟรนช์อิเควทอเรียลแอฟริกา (Federation of French Equatorial Africa) มีชื่อตามทะเลสาบชาด (Lake Chad).
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศชาด
ประเทศชิลี
ลี (Chile ชีเล) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐชิลี (Republic of Chile; República de Chile) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาใต้ มีเนื้อที่ติดชายฝั่งทะเลยาวระหว่างเทือกเขาแอนดีสกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีอาณาเขตจรดประเทศอาร์เจนตินาทางทิศตะวันออก จรดโบลิเวียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และจรดเปรูทางทิศเหนือ ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกของประเทศมีความยาว 6,435 กิโลเมตร ซีไอเอ ชิลีมีดินแดนในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยครอบครองหมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ เกาะซาลาอีโกเมซ หมู่เกาะเดสเบนตูราดัส และเกาะอีสเตอร์ในโพลินีเซีย ชิลียังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนในแอนตาร์กติกาด้ว.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศชิลี
ประเทศบุรุนดี
รุนดี (ฝรั่งเศสและBurundi) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐบุรุนดี (Republika y'u Burundi; République du Burundi) หรือชื่อเดิมว่า อุรุนดี (Urundi) คือประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเกรตเลกส์ของแอฟริกา บุรุนดีมีพรมแดนทางเหนือจดประเทศรวันดา ทางใต้และตะวันออกจดประเทศแทนซาเนีย และทางตะวันตกจดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก บุรุนดีเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อย่างไรก็ดี ทางตะวันตกส่วนใหญ่ติดต่อกับทะเลสาบแทนกันยีกา (Lake Tanganyika) ชื่อบุรุนดีมาจากภาษากลุ่มบันตู ภาษาคิรุนดี นอกจากจะเป็นประเทศที่ห่างไกลทางภูมิศาสตร์ มีความกดดันทางประชากร และมีทรัพยากรเบาบางแล้ว บุรุนดีเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนและมีความขัดแย้งมากที่สุดในแอฟริกาและโลก ขนาดเล็กของบุรุนดี ต่างจากปัญหาใหญ่ที่มีเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยพื้นที่ที่เป็นสิทธิ์ของชนกลุ่มน้อยทุตซี กับชนกลุ่มใหญ่ฮูตู.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศบุรุนดี
ประเทศบูร์กินาฟาโซ
ูร์กินาฟาโซ (Burkina Faso) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตกซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านคือ ทางเหนือติดกับประเทศมาลี ตะวันออกติดกับประเทศไนเจอร์ ตะวันออกเฉียงใต้ติดกับประเทศเบนิน ทิศใต้ติดกับประเทศโตโกและประเทศกานา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับประเทศโกตดิวัวร์ (หรือไอเวอรีโคสต์) บูร์กินาฟาโซมีชื่อเดิมว่าอัปเปอร์วอลตา และเปลี่ยนชื่อเป็นบูร์กินาฟาโซในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศบูร์กินาฟาโซ
ประเทศฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศฟินแลนด์
ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศฟินแลนด์
ประเทศพม่า
ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศพม่า
ประเทศกัมพูชา
กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศกัมพูชา
ประเทศกัวเตมาลา
กัวเตมาลา (Guatemala) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐกัวเตมาลา (República de Guatemala) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ มีชายฝั่งติดกับทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน พรมแดนด้านตะวันตกจรดเม็กซิโก ตะวันออกเฉียงเหนือจรดเบลีซ และตะวันออกเฉียงใต้จรดฮอนดูรัสและเอลซัลวาดอร.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศกัวเตมาลา
ประเทศกาบอง
กาบอง (Gabon) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกาบอง (République Gabonaise) เป็นประเทศในตอนกลางของภาคตะวันตกของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนติดกับอิเควทอเรียลกินี แคเมอรูน สาธารณรัฐคองโก และอ่าวกินี กาบองปกครองโดยประธานาธิบดีที่สถาปนาตนเองขึ้นสู่อำนาจนับตั้งแต่ได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศกาบอง
ประเทศกาบูเวร์ดี
กาบูเวร์ดี (Cabo Verde) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐกาบูเวร์ดี (República de Cabo Verde) เป็นประเทศเกาะที่ตั้งอยู่บนกลุ่มเกาะภูเขาไฟประมาณ 10 เกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนกลาง ห่างจากชายฝั่งทวีปแอฟริกาไปทางทิศตะวันตก 570 กิโลเมตร (350 ไมล์) ทุกเกาะมีเนื้อที่รวมกันประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร (1,500 ตารางไมล์) เกาะสามเกาะในจำนวนนี้ (ได้แก่ เกาะซัล, เกาะโบอาวิชตา และเกาะไมยู) มีลักษณะค่อนข้างราบ แห้ง และเต็มไปด้วยทราย ส่วนเกาะอื่น ๆ โดยทั่วไปจะมีภูมิประเทศที่ขรุขระและมีพืชพรรณขึ้นอยู่มากกว่า ก่อนที่ชาวยุโรปจะเข้ามานั้น บนหมู่เกาะกาบูเวร์ดีไม่มีผู้คนอาศัยอยู่จนกระทั่งนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้ค้นพบและเข้ายึดครองเป็นอาณานิคมในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับการค้าทาสข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก หมู่เกาะแห่งนี้จึงทวีความมั่งคั่งขึ้นเรื่อย ๆ และดึงดูดให้บรรดาโจรสลัดเข้ามาปล้นสะดมอยู่หลายครั้ง หนึ่งในจำนวนนั้นได้แก่ ฟรานซิส เดรก โจรสลัดหลวงของราชินีอังกฤษซึ่งเข้าปล้นเมืองรีไบรากรังดือ (เมืองหลักของหมู่เกาะในขณะนั้น) ถึงสองครั้งในคริสต์ทศวรรษ 1580 นอกจากนี้เรือหลวงบีเกิล (ที่มีชาลส์ ดาร์วิน เดินทางไปด้วย) ก็เข้ามาจอดแวะที่กาบูเวร์ดีในปี ค.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศกาบูเวร์ดี
ประเทศกานา
กานา (Ghana) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกานา (Republic of Ghana) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก พรมแดนด้านตะวันตกจรกประเทศโกตดิวัวร์ ด้านตะวันออกจรดประเทศบูร์กินาฟาโซ ด้านตะวันออกจรดประเทศโตโก โดยมีชายฝั่งทะเลด้านใต้ติดกับอ่าวกินี เดิมเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรมีชื่อเรียกว่า โกลด์โคสต์ (Gold Coast).
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศกานา
ประเทศกินี
กินี (Guinea; Guinée) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐกินี (Republic of Guinea; République de Guinée) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนด้านทิศเหนือจรดกินีบิสเซา และเซเนกัล พรมแดนด้านทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศมาลี ตะวันออกเฉียงใต้จรดโกตดิวัวร์ ทิศใต้จรดไลบีเรีย และตะวันตกจรดเซียร์ราลีโอน เป็นแหล่งต้นน้ำของแม่น้ำไนเจอร์ แม่น้ำเซเนกัล และแม่น้ำแกมเบีย ชื่อกินี (ในทางภูมิศาสตร์แล้วเป็นชื่อที่ใช้เรียกดินแดนในเขตชายฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกา ตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารา และตอนเหนือของอ่าวกินี) มีต้นกำเนิดจากภาษาเบอร์เบอร์สามารถแปลได้ว่า "ดินแดนของคนผิวดำ".
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศกินี
ประเทศกินี-บิสเซา
กินี-บิสเซา (Guinea-Bissau; Guiné-Bissau) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกินี-บิสเซา (Republic of Guinea-Bissau; República da Guiné-Bissau) เป็นประเทศอยู่ในแอฟริกาตะวันตก เมืองหลวงชื่อว่าบิสเซา มีเนื้อที่โดยประมาณ 36,125 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศเหนือติดกับเซเนกัล ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับกินี ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก กินี-บิสเซายังมีเกาะเล็ก ๆ นอกแผ่นดินใหญ่อีกประมาณ 25 เกาะอีกด้ว.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศกินี-บิสเซา
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศญี่ปุ่น
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศฝรั่งเศส
ประเทศมอริเชียส
มอริเชียส (Mauritius) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐมอริเชียส (Republic of Mauritius) คือประเทศที่เป็นเกาะนอกชายฝั่งแอฟริกาในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ ประมาณ 900 กิโลเมตร (560 ไมล์) และทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดียประมาณ 3,943 กิโลเมตร (2,450 ไมล์) นอกจากตัวเกาะมอริเชียสแล้ว สาธารณรัฐมอริเชียสประกอบด้วยเกาะเซนต์แบรนดอน เกาะรอดรีกส์ และหมู่เกาะอากาเลกา มอริเชียสเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะแมสการีน มีเกาะเรอูนียงของฝรั่งเศส ตั้งอยู่ห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 200 กิโลเมตร (125 ไมล์).
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศมอริเชียส
ประเทศมอริเตเนีย
รณรัฐอิสลามมอริเตเนีย (Islamic Republic of Mauritania; الجمهورية الإسلامية الموريتانية; République Islamique de Mauritanie) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า มอริเตเนีย (Mauritania; موريتانيا; Mauritanie) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ มีชายฝั่งบนมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศเซเนกัล ทางตะวันออกและทางตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศมาลี ทางตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศแอลจีเรีย และมีพรมแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับพื้นที่ยึดครองโดยประเทศโมร็อกโก คือเวสเทิร์นสะฮารา เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศคือ นูแอกชอต (Nouakchott) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศมอริเตเนียตั้งชื่อตามราชอาณาจักรมอเรเตเนีย (Mauretania) ของชาวเบอร์เบอร์ (Berber) ยุคเก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศมอริเตเนีย
ประเทศมอลโดวา
มอลโดวา (Moldova) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลโดวา (Republica Moldova) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ตั้งอยู่ระหว่างประเทศโรมาเนียทางทิศตะวันตก และประเทศยูเครนทางทิศตะวันออก มีพรมแดนกับโรมาเนียตามแม่น้ำพรุต (Prut River) และแม่น้ำดานูบ (Danube River) ในอดีตพื้นที่ประเทศมอลโดวาอยู่ในอาณาบริเวณของราชรัฐมอลดาเวีย (Principality of Moldavia) ต่อมาถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซียในปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศมอลโดวา
ประเทศมาลาวี
รณรัฐมาลาวี (Republic of Malawi; เชวา: Dziko la Malaŵi) มีชื่อเดิมว่า ไนแอซาแลนด์ (Nyasaland) เป็นรัฐประชาธิปไตยที่มีประชากรหนาแน่นอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของแอฟริกา มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศแซมเบียทางตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับประเทศแทนซาเนียทางเหนือ และมีประเทศโมซัมบิกล้อมรอบทางทิศตะวันออก ทิศใต้ และทิศตะวันตก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศมาลาวี
ประเทศมาลี
ประเทศมาลี (Mali) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐมาลี (République du Mali) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกาตะวันตก ประเทศมาลีมีพรมแดนทางเหนือจดประเทศแอลจีเรีย ทางตะวันออกจดประเทศไนเจอร์ ทางใต้จดประเทศบูร์กินาฟาโซและประเทศโกตดิวัวร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศกินี และทางตะวันตกจดประเทศเซเนกัลและประเทศมอริเตเนีย มีพื้นที่ 1,240,000 กม.² และประชากร 18.5 ล้านคน เมืองหลวง คือ กรุงบามาโก มาลีแบ่งการปกครองเป็นแปดเขต และมีพรมแดนที่เป็นเส้นตรงทางเหนืออยู่ลึกเข้าไปใจกลางทะเลทรายซาฮารา ส่วนทางใต้ของประเทศเป็นที่ซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ มีแม่น้ำไนเจอร์และแม่น้ำเซเนกัลไหลผ่าน โครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศมีศูนยฺกลางอยู่ที่เกษตรกรรมและการประมง ทรัพยากรธรรมชาติบางส่วนของมาลีมีทองคำ ยูเรเนียม ปศุสัตว์และเกลือ ราวครึ่งหนึ่งของประชากรมีชีวิตอยู่ใต้เส้นยากจนนานาชาติที่ 1.25 ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน ประเทศมาลีปัจจุบันเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิแอฟริกาตะวันตกสามแห่งซึ่งควบคุมการค้าข้ามซาฮารา คือ จักรวรรดิกานา จักรวรรดิมาลี (อันเป็นที่มาของชื่อมาลี) และจักรวรรดิซองไฮ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ฝรั่งเศสเข้าควบคุมมาลีและทำให้เป็นส่วนหนึ่งของเฟรนช์ซูดาน (French Sudan) เฟรนช์ซูดาน (ซึ่งขณะนั้นรู้จักกันในชื่อ สาธารณรัฐชาวซูดาน) เข้าร่วมกับเซเนกัลใน..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศมาลี
ประเทศมาดากัสการ์
มาดากัสการ์ (Madagascar; Madagasikara) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมาดากัสการ์ (République de Madagascar; Repoblikan'i Madagasikara) คือชาติเกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่นอกชายฝั่งทางตะวันออกของแอฟริกา ใกล้กับโมซัมบิก เกาะมาดากัสการ์ที่เป็นเกาะหลักเป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก เป็นถิ่นของสายพันธุ์พืชและสัตว์ถึงร้อยละ 5 ของโลก และมีมากกว่าร้อยละ 80 ที่เป็นสัตว์หรือพืชเฉพาะถิ่นมาดากัสการ์ ที่เด่นคือตัวลีเมอร์ซึ่งอยู่ในตระกูลไพรเมต ตัวฟอสซา (fossa) ซึ่งกินเนื้อ นกเฉพาะถิ่น 3 ตระกูล และต้นบาวบับ (baobab) 6 ชนิด ภาษาหลักคือภาษามาลากาซี สมดุลทางธรรมชาติของมาดากัสการ์ถูกคุกคาม เนื่องจากป่าส่วนใหญ่เสียหาย และลีเมอร์ได้สูญพันธุ์ถึง 15 สายพัน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศมาดากัสการ์
ประเทศมาเลเซีย
มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศมาเลเซีย
ประเทศยูกันดา
ูกันดา (Uganda) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐยูกันดา (Republic of Uganda) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกจดประเทศเคนยา ทางเหนือจดประเทศซูดานใต้ ทางตะวันตกจดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ซาอีร์เดิม) ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศรวันดา และทางใต้จดประเทศแทนซาเนีย ทางใต้ของประเทศรวมถึงบางส่วนของทะเลสาบวิกตอเรีย ซึ่งมีพรมแดนติดกับเคนยาและแทนซาเนียด้วย ยูกันดาได้ชื่อมาจากอาณาจักรบูกันดาซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุมทางใต้ของประเทศ รวมถึงเมืองหลวง กัมปาลา นอกจากนี้ยังมีอาณาจักรอื่นคือ อาณาจักรโตโร อาณาจักรบุนโยโร-กิตารา อาณาจักรบูโซกา อาณาจักรอันโกเล อาณาจักรรเวนซูรูรู เมืองหลวงเก่าของประเทศนี้คือเอนเทบบี อันเป็นที่ตั้งของสนามบินแห่งชาติยูกันดาด้ว.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศยูกันดา
ประเทศยูเครน
ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศยูเครน
ประเทศรวันดา
รวันดา (กิญญาร์วันดา, อังกฤษ และRwanda) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐรวันดา (กิญญาร์วันดา: Republika y'u Rwanda; Republic of Rwanda; République du Rwanda) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลแต่อยู่ติดกับทะเลสาบเกรตเลกส์ (Great Lakes) ทางตะวันออกของประเทศ รวันดาเป็นประเทศเล็ก ๆ ที่อยู่ทางระหว่างตอนกลางและตะวันออกของทวีปแอฟริกา มีประชากรร่วม ๆ 8 ล้านคน รวันดามีอาณาเขตติดต่อกับยูกันดาทางตอนเหนือ บุรุนดีทางตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกทางตะวันตกเฉียงเหนือมาจนถึงตะวันตก และแทนซาเนียที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ไล่ขึ้นมาถึงทางตะวันออก รวันดามีลักษณะทางภูมิประเทศที่เป็นเนินเขาที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้ได้สมญานามจากเบลเยียม เจ้าอาณานิคมเก่าว่าเป็น ดินแดนแห่งเขาพันลูก (Pays des Mille Collines เป็นภาษาฝรั่งเศส หรือ Igihugu cy'Imisozi Igihumbi เป็นภาษากิญญาร์วันดา) รวันดายังถือเป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในแอฟริกาส่วนภูมิภาค (ไม่นับเกาะเล็ก ๆ) เหตุการณ์ที่โด่งดังที่สุดของประเทศรวันดาในระดับสากลคือเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวทุตซีในปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศรวันดา
ประเทศรัสเซีย
รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศรัสเซีย
ประเทศลัตเวีย
ลัตเวีย (Latvia; Latvija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐลัตเวีย (Republic of Latvia; Latvijas Republika) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับอีก 2 รัฐบอลติก คือ เอสโตเนียทางทิศเหนือ และลิทัวเนียและเบลารุสทางทิศใต้ จดรัสเซียทางทิศตะวันออก ส่วนทางทิศตะวันตกนั้น ลัตเวียมีอาณาเขตทางทะเลติดต่อกับสวีเดน กรุงรีกา เมืองหลวงของลัตเวียเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาเมืองที่อยู่ในกลุ่มรัฐบอลติก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศลัตเวีย
ประเทศลิกเตนสไตน์
ลิกเตนสไตน์ (Liechtenstein) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ราชรัฐลิกเตนสไตน์ (Fürstentum Liechtenstein) เป็นประเทศเล็กๆที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในทวีปยุโรปกลาง มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศออสเตรีย และด้านตะวันตกติดกับสวิตเซอร์แลนด์ ถึงแม้ประเทศนี้จะมีขนาดเล็ก และเต็มไปด้วยภูเขาสูง แต่ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย นอกจากนี้ลิกเตนสไตน์ยังเป็นที่นิยมของนักเล่นกีฬาฤดูหนาว และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นประเทศที่เก็บภาษีต่ำมากประเทศหนึ่ง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศลิกเตนสไตน์
ประเทศลิทัวเนีย
ลิทัวเนีย (Lithuania; Lietuva เลฺยียทุวะ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐลิทัวเนีย (Republic of Lithuania; Lietuvos Respublika) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของทะเลบอลติก ทิศเหนือจรดลัตเวีย ทิศตะวันออกและทิศใตัจรดเบลารุส และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดโปแลนด์และรัสเซีย (แคว้นคาลินินกราด) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซี.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศลิทัวเนีย
ประเทศลิเบีย
ลิเบีย (ليبيا) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ มีชายฝั่งบนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอียิปต์ไปทางตะวันออก ประเทศซูดานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ไปทางใต้ และประเทศแอลจีเรียและตูนิเซียไปทางตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อตริโปลี ประเทศลิเบียมีพื้นที่เกือบ 1,800,000 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา และประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 17 เมืองหลวง กรุงตริโปลี มีชาวลิเบียอาศัยอยู่ 1.7 ล้านคน จากทั้งประเทศ 6.4 ล้านคน ตามข้อมูลเมื่อปี..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศลิเบีย
ประเทศศรีลังกา
รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศศรีลังกา
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ประเทศสวีเดน
วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศสวีเดน
ประเทศสโลวาเกีย
ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศสโลวาเกีย
ประเทศสโลวีเนีย
ประเทศสโลวีเนีย (Slovenia; Slovenija) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย (Slovene:, abbr.: RS) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในยุโรปกลาง ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าและแหล่งวัฒนธรรมหลักของทวีปยุโรป มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดอิตาลี ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลเอเดรียติก ทางใต้และตะวันออกจรดโครเอเชีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดฮังการีและทางเหนือจรดออสเตรีย มีพื้นที่ประมาณ 20,273 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 2.06 ล้านคน สโลวีเนียเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาและเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ สหภาพยุโรปและเนโท เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดคือลูบลิยานา พื้นที่ส่วนใหญ่ของสโลวีเนียเป็นภูเขาและมีลักษณะอากาศแบบภูมิอากาศภาคพื้นทวีปหลัก ยกเว้นภูมิภาคชายฝั่งจะมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนและภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งมีภูมิอากาศแบบเทือกเขาแอลป์ นอกจากนี้ไดนาริกแอลป์และที่ราบพันโนเนียก็พอได้ในสโลวีเนียเช่นกัน สโลวีเนียเป็นหนึ่งประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหนึ่งในพื้นที่ ๆ มีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์มากในยุโรป ทั้งแม่น้ำจำนวนมาก ชั้นหินอุ้มน้ำและแหล่งธารน้ำใต้ดิน สโลวีเรียมีป่าปกคลุมมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ส่วนการตั้งถิ่นฐานของประชากรก็จะกระจักกระจายกันไป ประวัติศาสตร์สโลวีเนียได้รับทั้งวัฒนธรรมและภาษาจากสลาวิกตะวันตก สลาวิกใต้ เจอร์แมนิก โรมานซ์และฮังกาเรียน ถึงแม้ประชากรในประเทศจะไม่ได้เป็นเอกพันธุ์เดียวกันแต่ส่วนใหญ่เป็นชาวสโลวีน ภาษาสโลวีเนียซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาวิกใต้เป็นภาษาราชการของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศไม่นับถือศาสนาอย่างแท้จริง แต่วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของประเทศได้รับอิทธิพลจากโรมันคาทอลิกและลูเทอแรน เศรษฐกิจของประเทศสโลเวเนียเป็นแบบเปิดขนาดเล็กและเป็นอุตสาหกรรมมุ่งการส่งออก ที่ได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศ และได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปที่เริ่มช่วงปลายยุค 2000 เศรษฐกิจหลักคืออุตสาหกรรมบริการตามด้วยอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ในอดีตพื้นที่ของสโลเวเนียเป็นส่วนหนึ่งของรัฐที่แตกต่างกันหลายแห่งทั้งจักรวรรดิโรมัน จักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิการอแล็งเฌียง จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ที่ปกครองโดยราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค สาธารณรัฐเวนิส จังหวัดอิลลิเรียของนโปเลียนที่ 1ที่ปกครองโดยฝรั่งเศส จักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ในเดือนตุลาคม..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศสโลวีเนีย
ประเทศออสเตรีย
ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศออสเตรีย
ประเทศออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศออสเตรเลีย
ประเทศอาร์มีเนีย
อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (Armenia,; Հայաստան ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (Republic of Armenia; Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอาร์มีเนีย
ประเทศอาร์เจนตินา
อาร์เจนตินา (อังกฤษและArgentina อารฺเฆนตีนา (สเปน)) หรือชื่อทางการ สาธารณรัฐอาร์เจนตินา (Argentine Republic; República Argentina) เป็นหนึ่งในประเทศในทวีปอเมริกาใต้ (ลาตินอเมริกา) ตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาแอนดีสทางทิศตะวันตก และมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ทางทิศตะวันออกและทิศใต้ มีพรมแดนจดประเทศปารากวัยและประเทศโบลิเวียทางภาคเหนือ จดประเทศอุรุกวัยและประเทศบราซิลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจดประเทศชิลีทางภาคตะวันตกและภาคใต้ อาร์เจนตินาเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของทวีปอเมริกาใต้ รองจากบราซิล และมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอาร์เจนตินา
ประเทศอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan Respublikası) เป็นประเทศในแถบเทือกเขาคอเคซัส บริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อของภูมิภาคยุโรปตะวันออกกับเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกจรดทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดต่อกับสหพันธรัฐรัสเซีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับจอร์เจีย ทิศตะวันตกติดต่อกับอาร์มีเนีย และทิศใต้ติดต่อกับอิหร่าน อาเซอร์ไบจานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (ดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) มีอาณาเขตติดต่อกับอาร์มีเนียทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับอิหร่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก และติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนเขตนากอร์โน-คาราบัคทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ได้ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานในปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอาเซอร์ไบจาน
ประเทศอิสราเอล
ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอิสราเอล
ประเทศอิหร่าน
อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอิหร่าน
ประเทศอิตาลี
อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอิตาลี
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศอินเดีย
อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอินเดีย
ประเทศอิเควทอเรียลกินี
อิเควทอเรียลกินี (Equatorial Guinea; Guinea Ecuatorial; Guinée Équatoriale; Guiné Equatorial) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิเควทอเรียลกินี (Republic of Equatorial Guinea; República de Guinea Ecuatorial; République de Guinée Équatoriale; República da Guiné Equatorial) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก มีอาณาเขตติดกับประเทศแคเมอรูน ทางทิศเหนือ ประเทศกาบอง ทางทิศใต้และทิศตะวันตก อ่าวกินี ทางทิศตะวันตก และอยู่ใกล้ ๆ ประเทศเซาตูเมและปรินซิปี ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอิเควทอเรียลกินี
ประเทศอุรุกวัย
อุรุกวัย (Uruguay) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐบูรพาอุรุกวัย (República Oriental del Uruguay) เป็นประเทศเล็ก ๆ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตจรดประเทศบราซิลทางทิศเหนือ จรดแม่น้ำอุรุกวัยทางทิศตะวันตก จรดปากแม่น้ำรีโอเดลาปลาตา (มีความหมายตามตัวอักษรว่า "แม่น้ำแห่งแร่เงิน" แต่มักเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า "แม่น้ำเพลต") ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีอาณาเขตของประเทศอาร์เจนตินาอยู่อีกฝั่ง และจรดมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประชากรประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศอาศัยอยู่ในเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือ กรุงมอนเตวิเดโอ อุรุกวัยเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของทวีปอเมริกาใต้ และเป็นหนึ่งในประเทศที่มีระบบการเมืองและระบบเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพที.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอุรุกวัย
ประเทศอุซเบกิสถาน
อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอุซเบกิสถาน
ประเทศอียิปต์
รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศอียิปต์
ประเทศฮอนดูรัส
อนดูรัส (อังกฤษและHonduras) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฮอนดูรัส (Republic of Honduras; República de Honduras) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอเมริกากลาง (ลาตินอเมริกา) ครั้งหนึ่งเคยถูกเรียกว่า สแปนิช ฮอนดูรัส เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนกับ บริติช ฮอนดูรัส ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเบลิซ มีอาณาเขตติดต่อกันดังนี้คือ ทิศตะวันตกติดต่อกับกัวเตมาลา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับเอลซัลวาดอร์ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับนิการากัว ทิศใต้จรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจรดอ่าวฮอนดูรัสและทะเลแคริบเบียน และอยู่ห่างจากเบลีซ 75 กิโลเมตร (50 ไมล์) ตามชายฝั่งอ่าวฮอนดูรัส ฮอนดูรัสเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สำคัญหลายแห่ง ที่โด่งดังก็คือ มายา ถูกพิชิตโดยสเปนซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลซึ่งส่งผลถึงปัจจุบันทั้งทางด้านภาษาและขนบธรรมเนียมในหลายด้านตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ฮอนดูรัสประกาศเอกราชเมื่อปี 1821 และกลายเป็นสาธารณรัฐเมื่อหมดยุคของสเปน ประเทศมีขนาด 112,492 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อว่า เตกูซิกัลปา บางส่วนทางตอนเหนือเป็นส่วนหนึ่งของแคริบเบียนตะวันตก ฮอนดูรัสมีชื่อเสียงทางด้านการส่งออกแร่ กาแฟ ผลไม้เมืองร้อน อ้อย และล่าสุดกับการส่งออกเสื้อผ้าไปยังตลาดนานาชาติมากขึ้น.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศฮอนดูรัส
ประเทศฮังการี
ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศฮังการี
ประเทศจอร์แดน
ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน (Hashemite Kingdom of Jordan; المملكة الأردنية الهاشمية) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอร์แดน (Jordan; الأردن Al-Urdunn อัลอุรดุน) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอิรักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับซาอุดีอาระเบียทางทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งติดต่อกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครองทางทิศตะวันตก จอร์แดนเป็นประเทศที่เกือบไม่มีทางออกสู่ทะเล มีชายฝั่งทะเลเดดซีร่วมกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครอง มีชายฝั่งอ่าวอะกอบาร่วมกับอิสราเอล ซาอุดีอาระเบีย และอียิปต.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศจอร์แดน
ประเทศจอร์เจีย
อร์เจีย (Georgia; საქართველო, Sakartvelo) เดิมระหว่างปี พ.ศ. 2534-2538 เรียกว่า สาธารณรัฐจอร์เจีย เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลดำในคอเคซัสตอนใต้ ในอดีตเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศรัสเซีย ทางใต้จรดประเทศตุรกี ประเทศอาร์มีเนีย และประเทศอาเซอร์ไบจาน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศจอร์เจีย
ประเทศจาเมกา
มกา (Jamaica) เป็นประเทศที่อยู่บนเกาะในภูมิภาคหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่ เกาะจาเมกาเป็นเกาะที่มีความยาว 240 กม.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศจาเมกา
ประเทศจิบูตี
ูตี (جيبوتي; Djibouti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐจิบูตี (جمهورية جيبوتي; République de Djibouti) เป็นนครรัฐในแอฟริกาตะวันออกในภูมิภาคจะงอยแอฟริกา จิบูตีมีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศเอริเทรีย ทางตะวันตกและใต้จดเอธิโอเปีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จดโซมาเลีย อาณาเขตส่วนที่เหลือคือชายฝั่งทะเลแดงและอ่าวเอเดน ในอีกด้านของทะเลแดงคือคาบสมุทรอาหรับในส่วนของประเทศเยเมน ห่างจากฝั่งของจิบูตี 20 กิโลเมตร.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศจิบูตี
ประเทศจีน
ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศจีน
ประเทศทาจิกิสถาน
ทาจิกิสถาน (Tajikistan; Тоҷикистон) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐทาจิกิสถาน (Republic of Tajikistan; Ҷумҳурии Тоҷикистон) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคเอเชียกลาง มีอาณาเขตติดต่อกับอัฟกานิสถาน จีน คีร์กีซสถาน และอุซเบกิสถาน ทาจิกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศทาจิกิสถาน
ประเทศคอสตาริกา
อสตาริกา (Costa Rica) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคอสตาริกา (República de Costa Rica) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศนิการากัว ทางทิศเหนือ จรดประเทศปานามาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตกและทิศใต้ และจรดทะเลแคริบเบียนทางทิศตะวันออก ประเทศนี้เป็นตัวอย่างที่ดีของภูมิภาคในเรื่องการมีเสถียรภาพทางการเมือง และบางครั้งได้ชื่อว่าเป็น "สวิตเซอร์แลนด์ของอเมริกากลาง".
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศคอสตาริกา
ประเทศคอโมโรส
อโมโรส (Comoros; جزر القمر; Comores) หรือชื่อทางการว่า สหภาพคอโมโรส (Union of the Comoros; คอโมโรส: Udzima wa Komori; الاتحاد القمري; Union des Comores) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกา บริเวณจุดเหนือสุดของช่องแคบโมซัมบิก ระหว่างทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศมาดากัสการ์และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศโมซัมบิก ประเทศอื่นๆ ที่อยู่ใกล้กับคอโมโรสคือประเทศแทนซาเนียที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและประเทศเซเชลส์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีเมืองหลวงคือ โมโรนี บนเกาะกร็องด์กอมอร์ ภาษาราชการมี 3 ภาษาคือ อาหรับ คอโมโรส และฝรั่งเศส ศาสนาของประชากรส่วนใหญ่คือศาสนาอิสลาม ด้วยเนื้อที่เพียง 1,660 ตารางกิโลเมตร (640 ตารางไมล์) (ไม่รวมเกาะมายอตที่ยังมีปัญหากันอยู่) ทำให้คอโมโรสเป็นประเทศที่เล็กที่สุดเป็นอันดับ 3 ในทวีปแอฟริกา โดยมีประชากรทั้งหมดประมาณ 798,000 คน (ไม่รวมมายอต) ในฐานะที่เป็นประเทศที่เกิดขึ้นจากอารยธรรมที่แตกต่างกัน ทำให้หมู่เกาะนี้มีชื่อเสียงในด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย ผู้ตั้งรกรากบนเกาะนี้เป็นกลุ่มแรกๆ คือ กลุ่มคนที่พูดภาษาบันตู จากแอฟริกาตะวันออก พร้อมด้วยชาวอาหรับและการอพยพเข้ามาของชาวออสโตรนีเชียน หมู่เกาะคอโมโรสประกอบไปด้วย 3 เกาะใหญ่และหมู่เกาะเล็ก ๆ อีกมากมายซึ่งตั้งอยู่บนหมู่เกาะภูเขาไฟคอโมโรส เกาะที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในชื่อฝรั่งเศสของพวกเขา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุด คือ เกาะกร็องด์กอมอร์หรืออึงกาซีจา มอเอลีหรืออึมวาลี อ็องฌูอ็องหรืออึนซวานี นอกจากนี้ประเทศยังอ้างสิทธิเหนือเกาะอีกแห่งที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้สุดคือเกาะมายอตหรือมาโอเร ถึงแม้ว่าเกาะมายอตจะมีการประกาศอิสรภาพจากฝรั่งเศสแล้วตั้งแต่ปี 2517 แต่ก็ไม่เคยอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลคอโมโรสและยังคงถูกปกครองโดยฝรั่งเศสต่อไป (ในฐานะดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส) ฝรั่งเศสได้คัดค้านมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติทียืนยันอธิปไตยของคอโมโรสเหนือเกาะนี้The first UN General Assembly Resolution regarding the matter, " (PDF)", United Nations General Assembly Resolution A/RES/31/4, (21 October 1976) states "the occupation by France of the Comorian island of Mayotte constitutes a flagrant encroachment on the national unity of the Comorian State, a Member of the United Nations," rejecting the French-administered referendums and condemning French presence in Mayotte.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศคอโมโรส
ประเทศคาซัคสถาน
อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศคาซัคสถาน
ประเทศคิวบา
วบา (อังกฤษและCuba) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐคิวบา (Republic of Cuba; República de Cuba) ประกอบด้วยเกาะคิวบา (เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่) เกาะคูเบนตุด (Isla de la Juventud) และเกาะเล็ก ๆ ใกล้เคียง ตั้งอยู่ในภูมิภาคแคริบเบียนเหนือ ที่จุดบรรจบของทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และมหาสมุทรแอตแลนติก คิวบาตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสหรัฐอเมริกาภาคตะวันออก และหมู่เกาะบาฮามาส ทางทิศตะวันตกของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอสและประเทศเฮติ ทางทิศตะวันออกของเม็กซิโก และทางทิศเหนือของหมู่เกาะเคย์แมนและเกาะจาเมกา สาธารณรัฐคิวบาเป็นเพียงประเทศเดียวในบริเวณภูมิภาคนี้ที่ยังคงมีการปกครองแบบคอมมิวนิสต์อยู.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศคิวบา
ประเทศคีร์กีซสถาน
ก พิพิธภัณฑ์เลนิน ชายสวมหมวกแบบดั้งเดิม คีร์กีซสถาน (คีร์กีซและКыргызстан) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐคีร์กีซ (Кыргыз Республикасы; Кыргызская Республика) เป็นประเทศในเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดมีชื่อว่าบิชเคก (เดิมเรียกว่า ฟรุนเซ) คีร์กีซสถานเดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศคีร์กีซสถาน
ประเทศตรินิแดดและโตเบโก
ตรินิแดดและโตเบโก (Trinidad and Tobago) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก (Republic of Trinidad and Tobago) เป็นชาติที่ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ตอนใต้ ตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งเวเนซุเอลา 11 กม.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศตรินิแดดและโตเบโก
ประเทศตุรกี
ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศตุรกี
ประเทศตูนิเซีย
ตูนิเซีย (Tunisia; تونس) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตูนิเซีย (Tunisian Republic; الجمهورية التونسية) เป็นประเทศอาหรับมุสลิมที่ตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศทางตะวันออกสุดและเล็กที่สุดของ 3 ประเทศบนเทือกเขาแอตลาส (Atlas mountains) มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดประเทศแอลจีเรีย และทางใต้และตะวันตกจรดประเทศลิเบีย พื้นที่ร้อยละ 40 ของประเทศประกอบด้วยทะเลทรายสะฮารา ในขณะที่ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่ประกอบด้วยพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ และชายฝั่งที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ทั้งคู่มีบทบาทอย่างมากในสมัยโบราณ เริ่มต้นด้วยการก่อตั้งเมืองคาร์เทจ (Carthage) ที่มีชื่อของชาวฟีนีเชีย (Phoenicia) และในเวลาต่อมาได้กลายเป็นพื้นที่มณฑลแอฟริกา (Africa Province) เป็นพื้นที่อู่ข้าวอู่น้ำของอาณาจักรโรมัน สันนิษฐานว่า ชื่อ ตูนิส (Tunis) มาจากภาษาเบอร์เบอร์ (Berber) แปลว่าแหลมซึ่งสอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ที่เป็นแหลมยื้นเข้าไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน หรือ อีกความหมายหนึ่งนั้น แปลว่า "พักแรม".
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศตูนิเซีย
ประเทศซามัว
รัฐเอกราชซามัว (ซามัว: Malo Sa‘oloto Tuto'atasi o Sāmoa; Independent State of Samoa) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ซามัว (ซามัว: Sāmoa; Samoa) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยหมู่เกาะอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ชื่อในอดีตคือ เยอรมันซามัว ระหว่างปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศซามัว
ประเทศซูรินาม
ซูรินาม (Suriname, Surinam,; Suriname,, ซือรีนาเมอ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐซูรินาม (Republic of Suriname; Republiek Suriname) เดิมรู้จักกันในชื่อ "ดัตช์เกียนา" เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ระหว่างเฟรนช์เกียนาทางทิศตะวันออกกับกายอานาทางทิศตะวันตก เขตแดนทางทิศใต้ติดต่อกับบราซิล ส่วนทางเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก พื้นที่ทางใต้สุดของประเทศกำลังเป็นกรณีพิพาทกับกายอานาและเฟรนช์เกียน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศซูรินาม
ประเทศซูดาน
ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศซูดาน
ประเทศซีเรีย
ประเทศซีเรีย (Syria; سورية ซูริยา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย (Syrian Arab Republic; الجمهورية العربية السورية) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศตะวันตกจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทิศตะวันออกจดประเทศอิรัก ทิศใต้จดประเทศจอร์แดน และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศอิสราเอล กรุงดามัสกัส เมืองหลวง เป็นนครที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประเทศซีเรียเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ ภูเขาสูงและทะเลทราย มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์และศาสนาหลากหลาย ส่วนมากเป็นชาวอาหรับ ซึ่งรวมอลาวียะห์ ดรูซ มุสลิมซุนนีย์และคริสต์ศาสนิกชน กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ได้แก่ ชาวอาร์มีเนีย อัสซีเรีย เคิร์ดและเติร์ก ชาวอาหรับซุนนีย์เป็นกลุ่มประชากรใหญ่ที่สุดในประเทศซีเรีย ในภาษาอังกฤษ เดิมชื่อ "ซีเรีย" สมนัยกับเลแวนต์ (ภาษาอาหรับว่า al-Sham) ขณะที่รัฐสมัยใหม่ครอบคลุมที่ตั้งของราชอาณาจักรและจักรวรรดิโบราณหลายแห่ง รวมถึงอารยธรรมเอบลา (Ebla) ในสหัสวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในสมัยอิสลาม ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ และเมืองเอกในรัฐสุลต่านมัมลุกในอียิปต์ รัฐซีเรียสมัยใหม่สถาปนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเป็นอาณาเขตในอาณัติของฝรั่งเศส และเป็นรัฐอาหรับใหญ่ที่สุดที่กำเนิดขึ้นจากเลแวนต์อาหรับที่เดิมออตโตมันปกครอง ประเทศซีเรียได้รับเอกราชในเดือนเมษายน 2489 เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา สมัยหลังได้รับเอกราชมีความวุ่นวาย และกลุ่มรัฐประหารและความพยายามรัฐประหารสะเทือนประเทศในสมัยปี 2492–2514 ระหว่างปี 2501 ถึง 2504 ประเทศซีเรียเข้าร่วมสหภาพช่วงสั้น ๆ กับอียิปต์ ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยรัฐประหาร ประเทศซีเรียอยู่ภายใต้กฎหมายฉุกเฉินระหว่างปี 2506 ถึง 2554 ระงับการคุ้มครองพลเมืองส่วนใหญ่ของรัฐธรรมนูญอย่างชะงัด และระบบรัฐบาลถูกพิจารณาว่าไม่เป็นประชาธิปไตย บัชชาร อัลอะซัดเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2543 สืบทอดจากฮาเฟซ อัลอะซัด บิดา ซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2513 ถึง 2543 ประเทศซีเรียเป็นสมาชิกสหประชาชาติและขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ปัจจุบันถูกระงับสมาชิกภาพจากสันนิบาตอาหรับและองค์การความร่วมมืออิสลาม และระงับตนเองจากสหภาพเพื่อเมดิเตอร์เรเนียน นับแต่เดือนมีนาคม 2554 ประเทศซีเรียเกิดสงครามกลางเมืองในห้วงการก่อการกำเริบ (ถือว่าเป็นผลขยายของอาหรับสปริง) ต่ออะซัดและรัฐบาลพรรคบะอัธ กลุ่มต่อต้านตั้งรัฐบาลทางเลือกขึ้น คือ แนวร่วมแห่งชาติซีเรีย (Syrian National Coalition) ในเดือนมีนาคม 2555 ต่อมา ผู้แทนรัฐบาลนี้ได้รับเชิญให้แทนที่ประเทศซีเรียในสันนิบาตอาหรั.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศซีเรีย
ประเทศปากีสถาน
ปากีสถาน (Pakistan; پاکستان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน (Islamic Republic of Pakistan; اسلامی جمہوریہ پاکستان) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเอเชียใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศอินเดีย อิหร่าน อัฟกานิสถาน และ จีน และมีชายฝั่งติดกับทะเลอาหรับ มีประชากรกว่า 150 ล้านคน มากเป็นอันดับ 6 ของโลก และเป็นประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ใหญ่เป็นอันดับ 2 และเป็นสมาชิกที่สำคัญของ โอไอซี และเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ไว้ในครอบครอง คำว่า "ปากีสถาน" ซึ่งมีความหมายว่า "ดินแดนของชนบริสุทธิ์" ในภาษาอูรดูและภาษาเปอร์เซียนั้น มาจากการรวมชื่อดินแดนในประเทศนี้ ประกอบด้วยปัญจาบ (Punjab) อัฟกาเนีย (Afghania) แคชเมียร์หรือกัศมีร์ (Kashmir) สินธ์ (Sindh) และบาลูจิสถาน (BaluchisTAN).
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศปากีสถาน
ประเทศปารากวัย
ปารากวัย (Paraguay; กวารานี: Paraguái) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐปารากวัย (República del Paraguay; กวารานี: Tetã Paraguái) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในทวีปอเมริกาใต้ ตั้งอยู่บนสองฝั่งแม่น้ำปารากวัย มีอาณาเขตจรดประเทศอาร์เจนตินาทางทิศใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้ จรดประเทศบราซิลทางทิศเหนือ และจรดประเทศโบลิเวียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อประเทศปารากวัยมีความหมายว่า "น้ำซึ่งไหลไปสู่น้ำ" (water that goes to the water) โดยมาจากคำในภาษากวารานี: ปารา (pará) แปลว่า มหาสมุทร, กวา (gua) แปลว่า สู่/จาก, และ อี (y) แปลว่า น้ำ วลีในภาษากวารานีมักจะอ้างถึงเมืองหลวงอาซุนซีออน แต่ถ้าเป็นในภาษาสเปนจะอ้างถึงทั้งประเท.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศปารากวัย
ประเทศปาปัวนิวกินี
ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea; Papua Niugini) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี (Independent State of Papua New Guinea; Independen Stet bilong Papua Niugini) เป็นประเทศในแถบโอเชียเนีย เป็นพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะนิวกินี (พื้นที่ทางตะวันตกเป็นของจังหวัดปาปัวของประเทศอินโดนีเซีย) ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางตะวันตกของหมู่เกาะโซโลมอน ปัจจุบันปาปัวนิวกินีเป็นประเทศสังเกตการณ์ในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน).
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศปาปัวนิวกินี
ประเทศปานามา
ปานามา (Panamá) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐปานามา (República de Panamá) เป็นประเทศที่อยู่ทางใต้สุดของอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศคอสตาริกาทางทิศตะวันตก และจรดประเทศโคลอมเบียทางทิศตะวันออก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศปานามา
ประเทศปาเลา
ปาเลา (Palau; ปาเลา: Belau) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา (Republic of Palau; ปาเลา: Beluu er a Belau) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศปาเลา
ประเทศนอร์เวย์
นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศนอร์เวย์
ประเทศนามิเบีย
นามิเบีย (Namibia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนามิเบีย (Republic of Namibia) เป็นประเทศในทวีปแอฟริกาตอนใต้ ริมฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก มีพรมแดนติดด้านเหนือกับประเทศแองโกลา และแซมเบีย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับซิมบับเว ทางตะวันออกติดกับบอตสวานา และทางใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ นามิเนียได้รับเอกราชคืนจากประเทศแอฟริกาใต้เมื่อ..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศนามิเบีย
ประเทศนิการากัว
นิการากัว (Nicaragua) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนิการากัว (República de Nicaragua) เป็นประเทศที่มีพื้นที่มากที่สุดในอเมริกากลาง แต่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุด มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศฮอนดูรัส ทางใต้จรดประเทศคอสตาริกา ชายฝั่งตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนชายฝั่งตะวันออกจรดทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากการสนธิระหว่างคำว่า "นีการาโอ" (Nicarao) เป็นชื่อชนเผ่าพื้นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดขณะที่ชาวสเปนมาถึง กับคำว่า "อะกวา" (Agua) ซึ่งเป็นคำในภาษาสเปน แปลว่าน้ำ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศนิการากัว
ประเทศนิวซีแลนด์
นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศนิวซีแลนด์
ประเทศแกมเบีย
แกมเบีย (The Gambia) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐแกมเบีย (Republic of The Gambia) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตก จัดเป็นประเทศที่เล็กที่สุดในแผ่นดินใหญ่ของทวีปแอฟริกา ถูกล้อมด้วยเซเนกัลสามด้าน ยกเว้นด้านตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีเมืองหลวงชื่อบันจูล แต่เมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศคือเซเรกุนดา ประเทศนี้ตั้งอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ำแกมเบีย ซึ่งเป็นแม่น้ำที่ไหลผ่านกลางประเทศไปลงมหาสมุทรแอตแลนติก มีพื้นที่ 10,500 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรราว 1,700,000 คน ประวัติศาสตร์ของแกมเบียเกี่ยวข้องกับการค้าทาสในอดีตเช่นเดียวกับประเทศในแอฟริกาตะวันตกอื่น ๆ ทำให้เกิดอาณานิคมในบริเวณแม่น้ำแกมเบีย โดยครั้งแรกถูกยึดครองโดยโปรตุเกส ต่อมาจึงถูกยึดครองโดยอังกฤษ อาชีพหลักของประชากรคือเกษตรกรรม การประมงและการท่องเที่ยว ประชากรส่วนใหญ่มีฐานะยากจน วันที่ 18 กุมภาพัน..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศแกมเบีย
ประเทศแอฟริกาใต้
รณรัฐแอฟริกาใต้ (Republic of South Africa) หรืออาจเรียกสั้น ๆ ว่า แอฟริกาใต้ (ต่างจาก "แอฟริกาตอนใต้" ซึ่งเป็นภูมิภาคประกอบไปด้วยหลายประเทศ รวมถึงประเทศแอฟริกาใต้ด้วย) เป็นประเทศอิสระที่อยู่ตอนปลายทางใต้สุดของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนติดกับประเทศนามิเบีย บอตสวานา ซิมบับเว โมซัมบิก และสวาซิแลนด์ นอกจากนี้ยังมีเลโซโทซึ่งเป็นประเทศที่ถูกล้อมรอบทุกด้านด้วยอาณาเขตของประเทศแอฟริกาใต้ รวมทั้งยังเป็นประเทศส่งออกเพชร, ทองคำ และไวน์ที่ชาวฝรั่งเศสนำเข้ามาอีกด้ว.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศแอฟริกาใต้
ประเทศแอลจีเรีย
แอลจีเรีย (Algeria; الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (People's Democratic Republic of Algeria; الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศแอลจีเรีย
ประเทศแอลเบเนีย
แอลเบเนีย (Albania; Shqipëri) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (Republic of Albania; Republika e Shqipërisë) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับเซอร์เบีย (คอซอวอ) ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไต.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศแอลเบเนีย
ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา
แอนติกาและบาร์บูดา (Antigua and Barbuda) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนตะวันออก บริเวณรอยต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะหลักสองเกาะ คือ เกาะแอนติกาและเกาะบาร์บูดา ทั้งสองเกาะตั้งอยู่ในตอนกลางของหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) ในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออก ประมาณ 17 องศาเหนือเส้นศูนย์สูตร แอนติกาและบาร์บูดายังเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส โดยมีหมู่เกาะกัวเดอลุป ดอมินีกา มาร์ตีนิก เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ บาร์เบโดส เกรเนดา ตรินิแดดและโตเบโกอยู่ทางทิศใต้ เกาะมอนต์เซอร์รัตทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ หมู่เกาะเซนต์คิตส์และเนวิสทางทิศตะวันตก และมีเกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี เกาะเซนต์มาร์ติน และมีเกาะแองกวิลลาอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศแอนติกาและบาร์บูดา
ประเทศแทนซาเนีย
แทนซาเนีย หรือชื่อทางการ สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย (United Republic of Tanzania; Jamhuri ya Muungano wa Tanzania) เป็นประเทศที่อยู่บนชายฝั่งตะวันออกของแอฟริกา มีอาณาเขตทางเหนือจดเคนยาและยูกันดา ทางตะวันตกจดรวันดา บุรุนดี และสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และทางใต้จดแซมเบีย มาลาวี และโมซัมบิก ส่วนทางตะวันออกจดมหาสมุทรอินเดีย ประเทศตั้งชื่อมาจากแผ่นดินใหญ่แทนกันยีกาและเกาะแซนซิบาร์ที่อยู่นอกจากชายฝั่งตะวันออก แทนซาเนียเป็นสมาชิกของเครือจักรภพแห่งชาติ ตั้งแต่ประกาศเอกราชเมื่อ พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศแทนซาเนีย
ประเทศแคนาดา
แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศแคนาดา
ประเทศแซมเบีย
แซมเบีย (Zambia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแซมเบีย (Republic of Zambia) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคแอฟริกาใต้ มีพรมแดนทางด้านเหนือจรดสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดแทนซาเนีย ทางด้านใต้จรดโมซัมบิก ซิมบับเว บอตสวานา และนามิเบีย และทางตะวันตกจรดแองโกลา เดิมมีชื่อว่าโรดีเซียเหนือ ชื่อแซมเบียมีต้นกำเนิดมาจากแม่น้ำแซมบีซี.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศแซมเบีย
ประเทศโบลิเวีย
ลิเวีย (Bolivia) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐพหุชนชาติแห่งโบลิเวีย เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตจรดประเทศบราซิลทางทิศเหนือและทิศตะวันออก จรดประเทศปารากวัยและอาร์เจนตินาทางทิศใต้ และจรดประเทศชิลีและเปรูทางทิศตะวันตก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศโบลิเวีย
ประเทศโกตดิวัวร์
กตดิวัวร์ (Côte d'Ivoire) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไอวอรีโคสต์ (Ivory Coast) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ (République de Côte d'Ivoire) เป็นประเทศในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่บริเวณแอฟริกาตะวันตก ทิศตะวันตกติดกับประเทศกินีและประเทศไลบีเรีย ทิศเหนือติดกับประเทศมาลีและประเทศบูร์กินาฟาโซ ทิศตะวันออกติดกับประเทศกานา ส่วนทิศใต้เป็นอ่าวกินี ในอดีตเป็นประเทศที่เจริญรุ่งเรืองแห่งหนึ่งของแอฟริกา แต่ช่วงหลังต้องเผชิญปัญหาสงครามกลางเมืองและการคอร์รัปชัน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศโกตดิวัวร์
ประเทศโมร็อกโก
มร็อกโก (ชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก, เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐเอกราชที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคมาเกร็บในแอฟริกาเหนือ เป็นหนึ่งในถิ่นกำเนินชนเบอร์เบอร์ ในทางภูมิศาสตร์โมร็อกโกมีเทือกเขาหินขรุขระตรงกลาง มีทะเลทรายขนาดใหญ่และมีชายฝั่งยาวมาตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน โมร็อกโกมีพื้นที่ประมาณ 710,850 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 33.8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อราบัตและมีเมืองใหญ่สุดชื่อกาซาบล็องกา นอกจากนี้ยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ อีกอาทิมาร์ราคิช แทงเจียร์ ซาเล่ห์ แฟ็ส แม็กแน็สและ วัจด้า ในทางประวัติศาสตร์โมร็อกโกเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคมีความเป็นอิสระและไม่ได้ถูกยุ่งเกียวหรือรุกรานโดยเพื่อนบ้านตั้งแต่สุลต่าน โมเลย์ อิดริส ที่ 1ก่อตั้งรัฐโมร็อกโกครั้งแรกใน พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศโมร็อกโก
ประเทศโมซัมบิก
มซัมบิก (Mozambique; Moçambique) มีชื่อเป็นทางการว่า สาธารณรัฐโมซัมบิก (Republic of Mozambique; República de Moçambique) เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปแอฟริกา โดยมีมหาสมุทรอินเดียอยู่ทางตะวันออก ประเทศแทนซาเนียอยู่ทางเหนือ ประเทศมาลาวีและแซมเบียอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศซิมบับเวอยู่ทางตะวันตก และมีประเทศสวาซิแลนด์และแอฟริกาใต้อยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศโมซัมบิก
ประเทศโมนาโก
ราชรัฐโมนาโก (Principauté de Monaco) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า โมนาโก (Monaco มอนาโก) เป็นนครรัฐในยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศเอกราชที่เล็กที่สุดเป็นอันดับสองของโลก แต่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่ง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศโมนาโก
ประเทศโรมาเนีย
รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศโรมาเนีย
ประเทศโครเอเชีย
รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศโครเอเชีย
ประเทศโตโก
ตโก (Togo) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโตโก (République togolaise) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก (เขตที่ราบสูงกินี) มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศกานาทางทิศตะวันตก ทิศตะวันออกติดกับประเทศเบนินทิศเหนือติดกับประเทศบูร์กินาฟาโซ ทิศใต้จรดอ่าวกินี กรุงโลเมที่เป็นเมืองหลวงก็ติดกับอ่าวกินี.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศโตโก
ประเทศโปรตุเกส
ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศโปรตุเกส
ประเทศไลบีเรีย
ลบีเรีย (Liberia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไลบีเรีย (Republic of Liberia) เป็นประเทศที่อยู่ในเขตแอฟริกาตะวันตก ติดกับประเทศเซียร์ราลีโอนทางด้านทิศตะวันตก ประเทศกินีทางด้านทิศเหนือ และประเทศโกตดิวัวร์ทางด้านทิศตะวันออก มีเมืองหลวงชื่อมันโรเวียปกครองโดยใช้ระบอบประชาธิปไตย จากการสำรวจประชากรในปี 2008 มีประชากรอยู่ 3,476,608 คน และมีพื้นที่ครอบคลุม 111,369 ตร.กม.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศไลบีเรีย
ประเทศไอร์แลนด์
อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศไอร์แลนด์
ประเทศไอซ์แลนด์
อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศไอซ์แลนด์
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศไทย
ประเทศไซปรัส
ซปรัส (Cyprus; Κύπρος คีโปรส; Kıbrıs) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไซปรัส (Republic of Cyprus; Κυπριακή Δημοκρατία; Kıbrıs Cumhuriyeti) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออก อยู่ทางใต้ของประเทศตุรกี 44 ไมล์ อยู่ทางตะวันตกของชายฝั่งประเทศซีเรียประมาณ 64 ไมล์ และห่างจากเกาะโรดส์ และเกาะคาร์ปาทอส ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรีซ 240 ไมล์ ไซปรัสเป็นจุดหมายหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุด โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวประมาณ 2.4 ล้านคนต่อปี ไซปรัสได้รับเอกราชจากการเป็นอาณานิคมจากสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1960 และเป็นประเทศสมาชิกในเครือจักรภพในปี 1961.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศไซปรัส
ประเทศไนจีเรีย
นจีเรีย (Nigeria) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย (Federal Republic of Nigeria) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในแอฟริกา ไนจีเรียได้ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยเมื่อพ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศไนจีเรีย
ประเทศไนเจอร์
นเจอร์ (อังกฤษและNiger) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐไนเจอร์ (Republic of Niger; République du Niger) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่อยู่ทางใต้ของทะเลทรายสะฮาราในแอฟริกาตะวันตก ตั้งชื่อตามแม่น้ำไนเจอร์ มีอาณาเขตทางใต้จดประเทศไนจีเรียและประเทศเบนิน ตะวันตกจดประเทศมาลี เหนือจดประเทศแอลจีเรียและประเทศลิเบีย ตะวันออกจดประเทศชาด ไนเจอร์มีพื้นที่เกือบ 1,270,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งร้อยละ 80 ถูกปกคลุมด้วยทะเลทรายสะฮารา มีประชากรประมาณ 15 ล้านคน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามและอาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณตอนใต้และตะวันตกของประเทศ เมืองหลวงชื่อนีอาเม (Niamey).
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศไนเจอร์
ประเทศเบลารุส
ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเบลารุส
ประเทศเบลีซ
ลีซ (Belize) เป็นชาติขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของอเมริกากลาง ริมทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตจรดประเทศเม็กซิโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดประเทศกัวเตมาลาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ มีประเทศฮอนดูรัสเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ห่างออกไปเพียง 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ตามอ่าวฮอนดูรัสทางด้านตะวันออก ชื่อประเทศมีต้นกำเนิดมาจากชื่อแม่น้ำเบลีซ ซึ่งเมืองเบลีซซิตี (เมืองหลวงเก่า) ก็ได้ชื่อมาจากแม่น้ำนี้ด้วยเช่นกัน ในภาษาสเปนมักจะเรียกว่า Belice เบลีซเป็นสมาชิกของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) และ the Sistema de Integracion Centro Americana (SICA) และจัดว่าตนเองอยู่ทั้งในกลุ่มประเทศแคริบเบียนและอเมริกากลาง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเบลีซ
ประเทศเบลเยียม
ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเบลเยียม
ประเทศเบนิน
นิน (Benin; Bénin) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเบนิน (Republic of Benin; République du Bénin) คือประเทศในแอฟริกาตะวันตก ชื่อเดิม ดาโฮมีย์ (Dahomey) หรือ ดาโฮเมเนีย (Dahomania) มีชายฝั่งเล็ก ๆ กับอ่าวเบนินทางภาคใต้ และมีพรมแดนติดต่อประเทศโตโกทางตะวันตก ประเทศไนจีเรียทางตะวันออก และประเทศบูร์กินาฟาโซ กับประเทศไนเจอร์ทางเหนือ ไม่มีความเกี่ยวข้องเป็นพิเศษกับเมืองเบนินซิตีในไนจีเรีย หรือจักรวรรดิเบนิน ซึ่งเป็นแหล่งของรูปปั้นทองแดงเบนิน (Benin Bronzes) อันมีชื่อเสียง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเบนิน
ประเทศเช็กเกีย
็กเกีย (Czechia; Česko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic; Česká republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ในภูมิภาคยุโรปกลาง พรมแดนทางตอนเหนือจรดประเทศโปแลนด์ ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือจรดเยอรมนี ทางใต้จรดออสเตรีย และทางตะวันออกจรดสโลวาเกีย เช็กเกียประกอบด้วยภูมิภาคที่เก่าแก่สองส่วน คือ โบฮีเมียและมอเรเวีย และส่วนหนึ่งของภูมิภาคที่สาม เรียกว่า ไซลีเซีย ประเทศนี้ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเช็กเกีย
ประเทศเกาหลีใต้
รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเกาหลีใต้
ประเทศเม็กซิโก
ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเม็กซิโก
ประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเยอรมนี
ประเทศเลบานอน
ลบานอน (Lebanon; لُبْنَان) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเลบานอน (Republic of Lebanon, Lebanese Republic; جمهورية لبنان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และถือเป็นหนึ่งใน 15 ดินแดนที่ประกอบเป็น "แหล่งกำเนิดแห่งมนุษยชาติ" (Cradle of Humanity) เลบานอนมีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียและประเทศอิสราเอล พรมแดนที่ติดกับประเทศอิสราเอลได้รับการรับรองจากองค์การสหประชาชาติแล้ว แต่พื้นที่บางส่วน เรียกว่า "ชีบาฟาร์ม" (Shebaa farms) ตั้งอยู่ในที่ราบสูงโกลันยังคงครอบครองโดยอิสราเอล ซึ่งอ้างว่าเป็นพื้นที่ของซีเรีย กองทัพต่อต้านอ้างว่า "ชีบาฟาร์ม" เป็นพื้นที่ของเลบานอน และในบางโอกาสก็โจมตีที่มั่นของอิสราเอลภายในพื้นที่ดังกล่าว นอกจากนี้ ซีเรียบำรุงรักษากองทัพที่มีทหารประมาณ 14,000 นายในเลบานอน ชาวเลบานอนที่สนับสนุนเลบานอนอ้างว่าเป็นการอยู่อย่างถูกต้องเนืองจากรัฐบาลเลบานอนได้ขอไว้ ตอนเริ่มสงครามกลางเมืองเมื่อ พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเลบานอน
ประเทศเลโซโท
ลโซโท (โซโทและLesotho) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเลโซโท (โซโท: Mmušo wa Lesotho; Kingdom of Lesotho) เป็นประเทศขนาดเล็กในทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ทั้งหมด 30,355 ตารางกิโลเมตร (11,720 ตารางไมล์) พรมแดนถูกล้อมรอบด้วยประเทศแอฟริกาใต้ทุกทิศทำให้ไม่มีทางออกสู่ทะเล ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบสูง มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือมาเซรู เลโซโทมีรูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเป็นหนึ่งในสามประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่นเดียวกับประเทศโมร็อกโกและประเทศสวาซิแลน.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเลโซโท
ประเทศเวียดนาม
วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเวียดนาม
ประเทศเวเนซุเอลา
ประเทศเวเนซุเอลา (เบ-เน-ซเว-ลา) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโบลีวาร์แห่งเวเนซุเอลา (Bolivarian Republic of Venezuela, República Bolivariana de Venezuela) เป็นประเทศบนชายฝั่งทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตจรดประเทศโคลอมเบียทางทิศตะวันตก จรดบราซิลทางทิศใต้ และจรดกายอานาทางทิศตะวันออก เวเนซุเอลามีดินแดนราว 916,445 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรโดยประมาณ 29,105,632 คน เวเนซุเอลาถูกพิจารณาว่าเป็นรัฐที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงอย่างยิ่ง โดยถิ่นที่อยู่มีตั้งแต่เทือกเขาแอนดีสทางตะวันตกไปถึงป่าฝนแอ่งแอมะซอนทางใต้ ผ่านที่ราบยาโนสอันกว้างใหญ่และชายฝั่งแคริบเบียนในตอนกลางและสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโอรีโนโกทางตะวันออก เวเนซุเอลาเป็นสหพันธรัฐที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข ประกอบด้วย 23 รัฐ, แคปิทอลดิสตริกท์ (Capital District) ซึ่งมีกรุงการากัส และเฟเดอรัลดีเพนเดนซี (Federal Dependency) ซึ่งประกอบด้วยหมู่เกาะนอกชายฝั่งเวเนซุเอลา เวเนซุเอลาอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนทั้งหมดของกายอานาที่อยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเอสกวีโบ ซึ่งผืนดิน 159,500 ตารางกิโลเมตรนี้ถูกตั้งฉายาว่า กายอานาเอสกวีบา หรือ "เขตที่ถูกเรียกร้องคืน" เวเนซุเอลาเป็นหนึ่งในประเทศที่กลายเป็นเมืองที่สุดในละตินอเมริกา ชาวเวเนซุเอลาส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในนครทางเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กรุงการากัส เมืองหลวงของประเทศ ซึ่งเป็นนครใหญ่สุดเช่นกัน นับแต่การค้นพบน้ำมันในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เวเนเซุเอลากลายเป็นหนึ่งในประเทศผู้ส่งออกน้ำมันของโลก และมีน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุด จากเดิมที่เวเนซุเอลาเป็นประเทศด้อยพัฒนาที่ส่งออกโภคภัณฑ์ทางการเกษตร เช่น กาแฟและโกโก้ แต่น้ำมันขึ้นมาครองการส่งออกและรายได้ภาครัฐอย่างรวดเร็ว ปริมาณน้ำมันที่มากเกินความต้องการในคริสต์ทศวรรษ 1980 นำไปสู่วิกฤตหนี้สินภายนอกและวิกฤตเศรษฐกิจอันยาวนาน ซึ่งเงินเฟ้อแตะ 100% ในปี 2539 และอัตราความยากจนพุ่งแตะ 66% ในปี 2538 โดยที่ในปี 2541 จีดีพีต่อหัวร่วงลงอยู่ระดับเดียวกับปี 2506 หรือลดลงหนึ่งในสามจากจุดสูงสุดในปี 2521 การฟื้นตัวของราคาน้ำมันหลังปี 2544 กระตุ้นเศรษฐกิจเวเนซูเอลาและอำนวยการบริโภคทางสังคม แม้ผลกระทบจากวิกฤตการเงินโลกปี 2551 จะทำให้เกิดเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหม่ อย่างไรก็ดี จนถึงปี 2553 เศรษฐกิจเวเนซูเอลากลับมาเติบโตอีกครั้ง เวเนซุเอลายังได้อ้างว่าตนตั้งอยู่ในตะวันออกกลางและสันนิบาตอาหรั.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเวเนซุเอลา
ประเทศเอกวาดอร์
อกวาดอร์ (Ecuador) หรือ สาธารณรัฐเอกวาดอร์ (República del Ecuador) เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับโคลอมเบียทางทิศเหนือ ติดต่อกับเปรูทางทิศตะวันออกและทางทิศใต้ และจรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตก ประเทศนี้มีอำนาจอธิปไตยเหนือหมู่เกาะกาลาปาโกส (หมู่เกาะโกลอน) ในแปซิฟิก ตั้งอยู่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ไปทางทิศตะวันตก 965 กิโลเมตร (ประมาณ 600 ไมล์) เนื่องจากบริเวณนี้ตั้งอยู่บริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน จึงได้รับการตั้งชื่อตามคำในภาษาสเปนว่า Ecuador ซึ่งก็ตรงกับ "equator" ในภาษาอังกฤษนั่นเอง เอกวาดอร์มีพื้นที่ 272,045 ตารางกิโลเมตร (105,037 ตารางไมล์) เมืองหลวงคือกรุงกีโต (Quito).
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเอกวาดอร์
ประเทศเอลซัลวาดอร์
อลซัลวาดอร์ (El Salvador) หรือชื่อทางการ สาธารณรัฐเอลซัลวาดอร์ (สเปน: República de El Salvador) เป็นประเทศในแถบอเมริกากลาง มีจำนวนประชากรเกือบ 6.7 ล้านคน เป็นประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุดในแผ่นดินใหญ่ของ (ทวีป) อเมริกา (โดยเฉพาะในเขตเมืองหลวงซานซัลวาดอร์) และเป็นประเทศที่มีการพัฒนาอุตสาหกรรมมากที่สุดในภูมิภาค ประเทศเอลซัลวาดอร์ได้ยกเลิกสกุลเงินโกลอนและเปลี่ยนมาใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแทนในปี ค.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเอลซัลวาดอร์
ประเทศเอสโตเนีย
อสโตเนีย (Estonia; Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (Republic of Estonia; Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเอสโตเนีย
ประเทศเดนมาร์ก
นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเดนมาร์ก
ประเทศเคนยา
นยา (อังกฤษและKenya) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเคนยา (Republic of Kenya; Jamhuri ya Kenya) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก มีอาณาเขตจรดประเทศเอธิโอเปีย (ทางเหนือ) ประเทศโซมาเลีย (ทางตะวันออกเฉียงเหนือ) ประเทศแทนซาเนีย (ทางใต้) ประเทศยูกันดา (ทางตะวันตก) ประเทศเซาท์ซูดานและทะเลสาบวิกตอเรีย (ทางตะวันตกเฉียงเหนือ) และมหาสมุทรอินเดีย มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือ ไนโรบี.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเคนยา
ประเทศเซอร์เบีย
ซอร์เบีย (Serbia; Србија, Srbija) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซอร์เบีย (Republic of Serbia; Република Србија, Republika Srbija) เป็นประเทศสาธารณรัฐตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป เมืองหลวงคือกรุงเบลเกรด เซอร์เบียมีอาณาเขตติดต่อกับฮังการีทางทิศเหนือ ติดต่อกับโรมาเนียและบัลแกเรียทางทิศตะวันออก ติดต่อกับมาซิโดเนียและแอลเบเนียทางทิศใต้ (พื้นที่ชายแดนทางด้านนี้กำลังมีปัญหาเรื่องการเรียกร้องเอกราชของคอซอวอ) และติดต่อกับมอนเตเนโกร โครเอเชีย และบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาทางทิศตะวันตก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเซอร์เบีย
ประเทศเซียร์ราลีโอน
ซียร์ราลีโอน (Sierra Leone) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน (Republic of Sierra Leone) เป็นประเทศอยู่ในแอฟริกาตะวันตก เมืองหลวงชื่อว่าฟรีทาวน์ มีเนื้อที่โดยประมาณ 71,740 ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับสาธารณรัฐกินี ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับประเทศไลบีเรีย ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเซียร์ราลีโอน
ประเทศเซนต์ลูเชีย
ซนต์ลูเชีย (Saint Lucia) เป็นประเทศที่เป็นเกาะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของทะเลแคริบเบียน และติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เซนต์ลูเชียเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) โดยอยู่ทางทิศเหนือของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศบาร์เบโดส และทางทิศใต้ของเกาะมาร์ตินีกของฝรั่งเศส ประเทศเซนต์ลูเชียรู้จักในนาม "Helen of the West".
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเซนต์ลูเชีย
ประเทศเซเชลส์
ประเทศเซเชลส์ หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเซเชลส์ (Republic of Seychelles; République des Seychelles; ครีโอลเซเชลส์: Repiblik Sesel) เป็นประเทศที่เป็นกลุ่มเกาะ ประกอบด้วยเกาะ 115 เกาะในมหาสมุทรอินเดีย มีเมืองหลวงคือกรุงวิกตอเรีย อยู่ห่างจากชายฝั่งของทวีปแอฟริกาทางตะวันออก 1,500 กิโลเมตร ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมาดากัสการ์ หมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ทางทิศใต้ ได้แก่ มอริเชียส ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่ คอโมโรสและมายอต และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ มัลดีฟส์ มีเกาะหลักคือ เกาะมาเฮ ประเทศเซเชลล์มีจำนวนประชากรประมาณ 92,000 คน ถูกจัดให้เป็นประเทศเอกราชที่มีจำนวนประชากรอาศัยอยู่น้อยที่สุดในทวีปแอฟริกา โดยประเทศเซเชลส์ได้รับการยอมรับให้เป็นหนึ่งในสมาชิกของสหประชาชาติและสหภาพแอฟริกา รวมถึงเป็นสมาชิกของกลุ่มประชาคมเพื่อการพัฒนาภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้ (The Southern African Development Community (SADC)) และยังเป็นหนึ่งในเครือจักรภพแห่งประชาชาต.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเซเชลส์
ประเทศเซเนกัล
ซเนกัล (Sénégal) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเซเนกัล (République du Sénégal) เป็นประเทศที่อยู่ในแอฟริกาตะวันตก มีพรมแดนทางตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทางเหนือจรดมอริเตเนีย ทางตะวันออกจรดมาลี และทางใต้จรดกินีและกินี-บิสเซา โดยล้อมแกมเบียซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศไว้เกือบทั้งหมด และมีหมู่เกาะกาบูเวร์ดีตั้งอยู่ห่างจากชายแดนตะวันตกไปราว 560 กิโลเมตร.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเซเนกัล
ประเทศเปรู
ประเทศเปรู (Perú) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเปรู เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศเอกวาดอร์และประเทศโคลอมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศบราซิลและประเทศโบลิเวีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศชิลี และทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศเปรูเป็นที่ตั้งของอารยธรรมการัล ซึ่งเป็นอารยธรรมเก่าแก่อันหนึ่งของโลก และอาณาจักรอินคา จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลัมบัส ต่อมาภูมิภาคนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิสเปน และได้รับเอกราชในปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเปรู
ประเทศเนปาล
ประเทศเนปาล หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (Federal Democratic Republic of Nepal; सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศเนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และแยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุงกาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ ภาคเหนือของประเทศเนปาลซึ่งเป็นแถบภูเขามีแปดจากสิบภูเขาสูงสุดในโลก ซึ่งรวมยอดเขาเอเวอร์เรสต์ จุดสูงสุดบนโลก ยอดเขากว่า 240 แห่งซึ่งสูงเกิน 6,096 เมตร (20,000 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลอยู่ในประเทศเนปาล ส่วนภาคใต้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์และชื้น ชาวเนปาลประมาณ 81.3% นับถือศาสนาฮินดู เป็นสัดส่วนสูงสุดในโลก ศาสนาพุทธมีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับประเทศเนปาล และมีประชากรนับถือ 9% ตามด้วยศาสนาอิสลาม 4.4% Kiratism 3.1% ศาสนาคริสต์ 1.4% และวิญญาณนิยม 0.4% ประชากรสัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคภูเขา อาจระบุตัวว่าเป็นทั้งฮินดูและพุทธ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของธรรมชาติกลมเกลียวของทั้งสองความเชื่อในประเทศเนปาลก็เป็นได้ ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จำนวนมาก จนปี 2551 สงครามกลางเมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นำสู่ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมาสนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความท้าทายทางการเมืองยังดำเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประเทศเนปาลเป็นประเทศกำลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่ำ อยู่ในอันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายในปี 2565.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเนปาล
ประเทศเนเธอร์แลนด์
นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และประเทศเนเธอร์แลนด์
นันทนาการ
กิจกรรมปีนหน้าผา นันทนาการ (recreation) คือ กิจกรรมที่สมัครใจทำในยามว่าง เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลิน ผ่อนคลายความตึงเครียดทั้งร่างกายและจิตใจ นันทนาการ การเล่น และความสนุกสนาน ไม่สงวนไว้แต่มนุษย์ แต่พบได้ในสัตว์เกือบทุกชนิด การเล่นช่วยพัฒนาทักษะต่าง ๆ โดยเฉพาะทักษะการเคลื่อนไหวในสิ่งมีชีวิตวัยเยาว์ สำหรับมนุษย์ กิจกรรมนันทนาการมักเกิดขึ้นในช่วงสุดสัปดาห์ และวันหยุด ประกอบด้วย ดนตรี การเต้นรำ กีฬา งานอดิเรก เกม และการท่องเที่ยว การดูโทรทัศน์ และฟังเพลง เป็นรูปแบบสามัญของนันทนาการ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และนันทนาการ
แม่น้ำกระบุรี
แม่น้ำกระบุรี หรืออีกชื่อหนึ่งของคนในท้องถิ่นว่า แม่น้ำปากจั่น ภาษาพม่าเรียก แม่น้ำจัน (မြစ်ကြီးနား, BGN/PCGN: myitkyina) เป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่า มีความยาวตลอดสายประมาณ 60 กิโลเมตร บางแห่งว่า 95 กิโลเมตร บางแห่งว่า 125 กิโลเมตร มีต้นน้ำมาจากเทือกเขาตะนาวศรี ไหลผ่านพื้นที่อำเภอกระบุรี อำเภอละอุ่น และอำเภอเมือง จังหวัดระนอง แม่น้ำสายนี้มีลักษณะพิเศษทางภูมิประเทศที่เป็นเอกลักษณ์ เรียกว่า ชะวากทะเล หมายถึงบริเวณปากแม่น้ำมีระยะห่างระหว่างฝั่งทั้งสองค่อย ๆ ขยายกว้างออกไปจนเป็นอ่าว อันเกิดจากแผ่นดินมีการยุบตัวลง มีอิทธิพลน้ำเค็มจากทะเลเข้าไปได้ สองฝั่งแม่น้ำจึงมีสภาพนิเวศแบบป่าชายเลนไปตลอดจนถึงเขตอำเภอละอุ่น บริเวณปากคลองละอุ่นจึงเริ่มเป็นบริเวณที่แม่น้ำมีความกว้างเป็นปรกติ โดยมีความกว้างสุด 6 กิโลเมตร ก่อนออกสู่ทะเลนั้นก็มีลำน้ำสาขาไหลออกสู่แม่น้ำกระบุรี คือ คลองบางหมี คลองขี้นาค คลองลำเลียง คลองบางสองรา คลองบางใหญ่เหนือ คลองบางใหญ่ คลองละอุ่น คลองจิก คลองหลุมถ่าน คลองเส็ตกวด และคลองหินช้าง ประชาชนทั้งสองฝั่งแต่เดิมเป็นคนพื้นเมืองปักษ์ใต้ หมู่บ้านที่อยู่ตรงข้ามกับอำเภอกระบุรี (เมืองตระในอดีต) คือหมู่บ้านหมาราง หมู่บ้านตลิ่งชัน ขึ้นกับเมืองมะลิวัลย์ ซึ่งแต่เดิมเป็นดินแดนของราชอาณาจักรสยาม ได้เสียให้แก่อังกฤษไปในสมัยรัชกาลที่ 4 พร้อมกับเมืองมะริด ทวาย และตะนาวศรี แม่น้ำสายนี้ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติลำน้ำกระบุรี.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และแม่น้ำกระบุรี
แม่น้ำกระบี่
ทัศนียภาพแม่น้ำกระบี่ แม่น้ำกระบี่ เป็นแม่น้ำสายเล็ก ๆ สายหนึ่งในจังหวัดกระบี่ ซึ่งอยู่ทางภาคใต้ฝั่งตะวันตกหรือฝั่งทะเลอันดามัน แม่น้ำกระบี่ มีความยาวเพียง 5 กิโลเมตร ขนาบข้างไปด้วยเขาขนาบน้ำ แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัด นับว่าเป็นแม่น้ำสายที่สั้นที่สุดในประเทศไทย อยู่ในเขตอำเภอเมืองกระบี่ ก่อนไหลผ่านปากแม่น้ำลงสู่ทะเลอันดามัน มีความสำคัญ คือ บริเวณปากแม่น้ำนับว่าเป็นแหล่งธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เพราะเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำ ซึ่งได้รับการประกาศให้เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำในอนุสัญญาแรมซาร์ เมื่อปี..
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และแม่น้ำกระบี่
แม่น้ำตรัง
แม่น้ำตรัง เป็นแม่น้ำสายสำคัญของจังหวัดตรัง มีความยาวประมาณ 123 กิโลเมตร เมื่ออยู่ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียกว่า แม่น้ำหลวง เมื่อไหลเข้าเขตจังหวัดตรังเรียกว่า แม่น้ำตรัง ในช่วงที่ไหลผ่านอำเภอเมืองตรัง เรียกว่า คลองท่าจีน เดิมใช้เป็นเส้นทางคมนาคม จากดินแดนภายในจังหวัดติดต่อไปยังทะเลที่ปากน้ำกันตัง กล่าวกันว่า ในสมัยโบราณสามารถเดินเรือไปได้ถึงทุ่งสง เดิมแม่น้ำสายนี้มีความกว้างราว 50 เมตร แต่ปัจจุบันบางแห่งเหลือความกว้างเพียง 30 เมตร.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และแม่น้ำตรัง
แอฟริกากลาง
สหพันธ์แอฟริกากลาง (ยกเลิก) แอฟริกากลาง เป็นดินแดนในทวีปแอฟริกา ได้ถูกนิยามไว้สองอย่างคือ Central Africa และ Middle Africa (นิยามโดยสหประชาชาติ) ประกอบด้วยประเท.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และแอฟริกากลาง
โคลัมเบีย
ลัมเบีย (Columbia) อาจหมายถึง.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และโคลัมเบีย
เกาะกระ
กาะกระ หรือ หมู่เกาะกระ อยู่ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ห่างจากแผ่นดินประมาณ 53 กิโลเมตร เมื่อวัดในแนวตรงจากอำเภอปากพนัง มีเนื้อที่ทั้งหมด 390,106 ตารางเมตร ประกอบด้วย เกาะขนาดเล็ก 3 เกาะ ได้แก่ เกาะกระ เกาะกลาง และเกาะเล็ก และมีกองหินขนาดเล็กอีก 1 กอง เรียกว่า"หินเรือ" พื้นที่เกาะกระเป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เหมาะสมสำหรับการพัฒนาและควรค่าแก่การอนุรักษ์ เป็นเกาะที่ไม่มีผู้คนอาศัยอยู่บนเกาะเช่นเดียวกับเกาะโลซิน ชื่อของเกาะกระเป็นชื่อเรียกของเกาะหลายเกาะในประเทศ เช่น เกาะกระในจังหวัดชุมพร, หมู่เกาะกระ เป็นกลุ่มของเกาะอยู่ทางตะวันตกของเกาะหมากในจังหวัดตราด หมู่เกาะกระ มีแนวปะการังที่สวยงาม และสภาพสมบูรณ์ มีแนวปะการังทั้งสิ้น 412 ไร่ โดยพบปะการัง เช่น ปะการังแปรงล้างขวด (Acropora longicyathus), ปะการังเขากวาง (A.
เศรษฐกิจ
รษฐกิจ (economy) นั้น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยามว่า "งานอันเกี่ยวกับการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจก และการบริโภคใช้สอยสิ่งต่าง ๆ ของชุมชน." รวมถึงด้านการใช้บริการและการท่องเที่ยวที่มีปัจจัยกระตุ้นต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจยังอาจอธิบายได้ว่าเป็นเครือข่ายจำกัดโดยพื้นที่และเครือข่ายสังคมที่ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการตามอุปสงค์และอุปทานระหว่างผู้มีส่วนโดยการแลกเปลี่ยนหรือสื่อกลางการแลกเปลี่ยนด้วยมูลค่าเครดิตหรือเดบิตที่ยอมรับกันภายในเครือข่าย เศรษฐกิจหนึ่ง ๆ เป็นผลมาจากกระบวนการซึ่งเกี่ยวข้องทั้งวิวัฒนาการทางเทคโนโลยี ประวัติศาสตร์และสถาบันสังคม เช่นเดียวกับภูมิศาสตร์ การมีทรัพยากรธรรมชาติ และนิเวศวิทยา เป็นปัจจัยหลัก ปัจจัยเหล่านี้ให้บริบท สาร ตลอดจนจัดสภาพและตัวแปรซึ่งเศรษฐกิจทำงานอยู่ หมวดหมู่:ระบบเศรษฐกิจ หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์.
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทางเดินศึกษาธรรมชาติ ภายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือ ป่าพรุโต๊ะแดง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ป่าพรุโต๊ะแดง หรือ ป่าพรุสิรินธร เป็นป่าพรุที่มีเนื้อที่มากที่สุดที่ยังเหลืออยู่ในประเทศไทย เนื้อที่ของป่ามีความกว้างประมาณ 8 กิโลเมตร และมีความยาวประมาณ 28 กิโลเมตร มีพื้นที่ครอบคลุมอาณาเขตของอำเภอตากใบ อำเภอสุไหงปาดี อำเภอสุไหงโก-ลก อำเภอเจาะไอร้อง และอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส คิดเป็นเนื้อที่กว่า 125,625 ไร่ (แต่ส่วนที่สมบูรณ์จริง ๆ มีประมาณ 50,000 ไร่) มีแหล่งน้ำสำคัญ 3 สายไหลผ่าน คือ แม่น้ำบางนรา, คลองสุไหงปาดี และคลองโต๊ะแดง (อันเป็นที่มาของชื่อเรียก) ป่าแห่งนี้เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ป่าหลากหลายชนิด ซึ่งหลายชนิดอยู่ในสถานะใกล้สูญพันธุ์ และพื้นที่รอบๆป่าก็เป็นพื้นที่เพาะปลูกข้าว ยาง และผลไม้ต่าง ๆ โดยมีศูนย์วิจัยและศึกษาพันธ์ป่าพรุสิรินธร ซึ่งตั้งอยู่ ณ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหงโกลก ใช้เวลาเดินทางจากตัวเมืองสุไหงโกลก ผ่านทางหลวงสายสุไหงโกลก - ตากใบ แล้วเลี้ยวซ้ายตรงแยกชวนันท์ ด้วยระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตรจากตัวเมืองสุไหงโกลก เดินศึกษาธรรมชาติยาวกว่า 1,200 เมตร ภายในศูนย์ฯมีเส้นทางเดินศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของป่าผ่าใจกลางป่าพรุ มีหอคอย และศูนย์บริการข้อมูล ตลอดจนซุ้มแสดงประวัติและข้อมูลขอลพืช พันธ์ และสัตว์ต่างๆในพื้นที่ป่าพรุโดยรอบ ใช้เวลาเดินประมาณ 45 - 60 นาที.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหนองบงคาย
ทะเลสาบเชียงแสน หรือ หนองบงคาย ตั้งอยู่ในท้องที่ตำบลโยนก และตำบลป่าสัก อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ระหว่างเส้นละติจูดที่ 20 ํ 28’ 25” ถึง 20 ํ 40’ 55” เหนือ และเส้นลองติจูดที่ 100 ํ 6’ 17” ถึง 100 ํ 7’ 38”ตะวันออก เดิมเป็นหนองน้ำธรรมชาติขนาดเล็ก ที่ล้อมรอบด้วยภูเขาและเนินเขาเตี้ยๆ ซึ่งชาวบ้านได้ร่วมกันทำฝายดินกั้นแม่น้ำลั๊วะ เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้เพื่อการเพาะปลูก และต่อมาหน่วยงานเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) ได้สร้างฝายน้ำล้น ขนาดเล็กเพื่อใช้กั้นบริเวณทางน้ำไหลในปี พ.ศ.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าหนองบงคาย
2 กุมภาพันธ์
วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และ2 กุมภาพันธ์
21 ธันวาคม
วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.
ดู อนุสัญญาแรมซาร์และ21 ธันวาคม
ดูเพิ่มเติม
การอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำ
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาด้านสิ่งแวดล้อม
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญายูเนสโก
- คณะกรรมการมรดกโลก
- ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับกรีซ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญามาสทริชท์
- สนธิสัญญาลิสบอน
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับกัมพูชา
- กฎบัตรอาเซียน
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงป้องกันและปราบปรามการค้าสิ่งปลอม
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับตุรกี
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาจันทรา
- สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
- สนธิสัญญาโลซาน
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- องค์การสนธิสัญญากลาง
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับนอร์เวย์
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาสฟาลบาร์
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับนิวซีแลนด์
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาไวตางี
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับบราซิล
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับฝรั่งเศส
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความเป็นกลางของลาว
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญามาสทริชท์
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับฟินแลนด์
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาสฟาลบาร์
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับฟิลิปปินส์
- กฎบัตรอาเซียน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- ปฏิญญากรุงเทพฯ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาจันทรา
- สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับมอนเตเนโกร
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับมาเลเซีย
- กฎบัตรอาเซียน
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ปฏิญญากรุงเทพฯ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับยูเครน
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับลาว
- กฎบัตรอาเซียน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสวิตเซอร์แลนด์
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาสฟาลบาร์
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสหภาพโซเวียต
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- การสงบศึกมอสโก
- ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความเป็นกลางของลาว
- ปฏิญญามอสโก
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียต
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญารัฐออสเตรีย
- สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี
- สนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันฝรั่งเศส-โซเวียต
- สนธิสัญญาสฟาลบาร์
- สนธิสัญญาสันติภาพมอสโก
- สนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–สหภาพโซเวียต
- สนธิสัญญาไม่รุกรานกันระหว่างจีน-โซเวียต
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสหรัฐ
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความเป็นกลางของลาว
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน
- สนธิสัญญารัฐออสเตรีย
- สนธิสัญญาว่าด้วยการจำกัดและการลดอาวุธทางรัฐนาวี
- สนธิสัญญาสฟาลบาร์
- สนธิสัญญาสี่อำนาจ
- สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาแวร์ซายน้อย
- สนธิสัญญาไมตรีและพาณิชย์ ค.ศ. 1833
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงบัวโนสไอเรส
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสหราชอาณาจักร
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงมิวนิก
- ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความเป็นกลางของลาว
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- ปฏิญญาร่วมจีน-อังกฤษ
- พันธมิตรทางการทหารอังกฤษ-โปแลนด์
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญามาสทริชท์
- สนธิสัญญารัฐออสเตรีย
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาว่าด้วยการจำกัดและการลดอาวุธทางรัฐนาวี
- สนธิสัญญาสฟาลบาร์
- สนธิสัญญาโลคาร์โน
- สนธิสัญญาโลซาน
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- องค์การสนธิสัญญากลาง
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความเป็นกลางของลาว
- ปฏิญญาร่วมจีน-อังกฤษ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
- โครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างจีน-ไต้หวัน
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสเปน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญามาสทริชท์
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสโลวาเกีย
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับออสเตรีย
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาจันทรา
- สนธิสัญญารัฐออสเตรีย
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับออสเตรเลีย
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาจันทรา
- สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอิตาลี
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญามาสทริชท์
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอินเดีย
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความเป็นกลางของลาว
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาแบร์น
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอินโดนีเซีย
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กฎบัตรอาเซียน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ปฏิญญากรุงเทพฯ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอิสราเอล
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาแบร์น
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอียิปต์
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเกาหลีเหนือ
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาสฟาลบาร์
- สนธิสัญญาแบร์น
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเกาหลีใต้
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเช็กเกีย
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาสฟาลบาร์
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเนเธอร์แลนด์
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารนักมวย
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาจันทรา
- สนธิสัญญามาสทริชท์
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาสฟาลบาร์
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเบลเยียม
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารนักมวย
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาจันทรา
- สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
- สนธิสัญญามาสทริชท์
- สนธิสัญญาลอนดอน (ค.ศ. 1839)
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาสฟาลบาร์
- สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาโลคาร์โน
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเม็กซิโก
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาจันทรา
- สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงบัวโนสไอเรส
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเยอรมนีตะวันตก
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- พิธีสารมอนทรีออล
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาสิทธิบัตรสตราสบวร์ก
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเวียดนาม
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กฎบัตรอาเซียน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับแคนาดา
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความเป็นกลางของลาว
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับแอฟริกาใต้
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับโครเอเชีย
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- พิธีสารไนโตรเจนออกไซด์
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับโปรตุเกส
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญามาสทริชท์
- สนธิสัญญาลิสบอน
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับโรมาเนีย
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาลิสบอน
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับไทย
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กฎบัตรอาเซียน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความเป็นกลางของลาว
- ความตกลงสมบูรณ์แบบ
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ปฏิญญากรุงเทพฯ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาสยาม–ฝรั่งเศส ร.ศ. 122
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาเบอร์นี
- สนธิสัญญาเบาว์ริง
- สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไมตรีและพาณิชย์ ค.ศ. 1833
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ พื้นที่ชุ่มน้ำแรมซาร์