สารบัญ
15 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2510พ.ศ. 2551กฎบัตรสหประชาชาติกฎหมายกฎหมายระหว่างประเทศกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)การก่อการร้ายสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อาวุธนิวเคลียร์อำนาจอธิปไตยจาการ์ตาปฏิญญากรุงเทพฯประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประเทศอินโดนีเซีย15 ธันวาคม
- กฎหมายสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับกัมพูชา
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับบรูไน
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับฟิลิปปินส์
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับมาเลเซีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับลาว
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสิงคโปร์
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอินโดนีเซีย
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเวียดนาม
- สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับไทย
พ.ศ. 2510
ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
กฎบัตรสหประชาชาติ
กฎบัตรสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)คือ ข้อตกลงที่บรรดาประเทศผู้ก่อตั้งและร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ให้สัตยาบันเข้าผูกพัน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ด้วยเหตุนี้ องค์การสหประชาชาติจึงก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.
ดู กฎบัตรอาเซียนและกฎบัตรสหประชาชาติ
กฎหมาย
กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม ในทุกที่ที่เป็นไปได้ กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม กฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาดตราสารอนุพันธ์ กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินนิยามสิทธิและหนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโอนและกรรมสิทธิ์ของสังหาชิดมทรัพย์ส่วนตัวและอสังหาริมทรัพย์ กฎหมายทรัสต์ (Trust law) ใช้กับสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อการลงทุนและความมั่นคงทางการเงิน ขณะที่กฎหมายละเมิด (tort) อนุญาตให้เรียกร้องให้มีการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหากสิทธิหรือทรัพย์สินของบุคคลได้รับความเสียหาย หากความเสียหายนั้นถูกประกาศว่า มิชอบด้วยกฎหมายในบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎหมายอาญาให้วิธีการซึ่งรัฐสามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดได้ กฎหมายรัฐธรรมนูญกำหนดกรอบสำหรับการบัญญัติกฎหมาย การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการเลือกตั้งผู้แทนทางการเมือง กฎหมายปกครองใช้เพื่อทบทวนการวินิจฉัยของหน่วยงานภาครัฐ ขณะที่กฎหมายระหว่างประเทศควบคุมกิจการระหว่างรัฐเอกราชในกิจกรรมตั้งแต่การค้าไปจนถึงระเบียบทางสิ่งแวดล้อมหรือการปฏิบัติทางทหาร นักปรัชญากรีก อริสโตเติล เขียนไว้เมื่อ 350 ปีก่อนคริสตกาลว่า "นิติธรรมดีกว่าการปกครองของปัจเจกบุคคลใด ๆ" ระบบกฎหมายกล่าวถึงสิทธิและความรับผิดชอบในหลายวิถีทาง ความแตกต่างทั่วไปสามารถตัดสินได้ระหว่างเขตอำนาจซีวิลลอว์ ซึ่งประมวลกฎหมายของตน และระบบคอมมอนลอว์ ที่ซึ่งผู้พิพากษาบัญญัติกฎหมายนั้นไม่ถูกรวบรวม ในบางประเทศ ศาสนาเป็นที่มาของกฎหมาย กฎหมายเป็นบ่อเกิดอันมีคุณค่าของการสอบสวนอย่างคงแก่เรียน ไปยังประวัติศาสตร์กฎหมาย ปรัชญา การวิเคราะห์เศรษฐกิจหรือสังคมวิทยา กฎหมายยังยกประเด็นที่สำคัญและซับซ้อนเกี่ยวข้องกับความเสมอภาค ความเป็นธรรมและความยุติธรรม ผู้ประพันธ์ อานาตอล ฟร็องส์ กล่าวใน..
กฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศ (International law) หมายถึง กฎ กฎเกณฑ์ และข้อตกลงที่เกิดขึ้นจากความตกลง หรือการแสดงเจตนาเข้าผูกพันของรัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้นไป และมักใช้เป็นหลักในการพิจารณาข้อพิพาทระหว่างประเท.
ดู กฎบัตรอาเซียนและกฎหมายระหว่างประเทศ
กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)
กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.
ดู กฎบัตรอาเซียนและกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)
การก่อการร้าย
ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 175 ที่ถูกจี้ พุ่งเข้าชนอาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ ในนครนิวยอร์ก ระหว่างเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ.
ดู กฎบัตรอาเซียนและการก่อการร้าย
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,479,210 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน ในปี..
ดู กฎบัตรอาเซียนและสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อาวุธนิวเคลียร์
ญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2488 ปลายสงครามโลกครั้งที่สอง อาวุธนิวเคลียร์ เป็นวัตถุระเบิดซึ่งมีอำนาจทำลายล้างมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาฟิชชัน(atomic bomb)อย่างเดียว หรือ ฟิชชันและฟิวชัน(hydrogen bomb)รวมกัน ปฏิกิริยาทั้งสองปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาลจากสสารปริมาณค่อนข้างน้อย การทดสอบระเบิดฟิชชัน ("อะตอม") ลูกแรกปลดปล่อยพลังงานออกมาเทียบเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 20,000 ตัน การทดสอบระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ ("ระเบิดไฮโดรเจน") ลูกแรก ปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 10,000,000 ตัน อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์สมัยใหม่ที่หนักกว่า 1,100 กิโลกรัมเล็กน้อย สามารถก่อให้เกิดแรงระเบิดเทียบเท่ากับการจุดจามทีเอ็นทีมากกว่า 1.2 ล้านตัน ดังนั้น กระทั่งวัตถุนิวเคลียร์ลูกเล็กๆ ที่ขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าระเบิดธรรมดา สามารถทำลายล้างนครทั้งนครได้ ด้วยแรงระเบิด ไฟและกัมมันตรังสี อาวุธนิวเคลียร์ถูกพิจารณาว่าเป็นอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง และการใช้และควบคุมอาวุธนิวเคลียร์ได้กลายเป็นจุดสนใจสำคัญของนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนับแต่ถือกำเนิดขึ้น มีอาวุธนิวเคลียร์เพียงสองชิ้นเท่านั้นที่เคยใช้ตลอดห้วงการสงคราม ทั้งสองครั้งโดยสหรัฐอเมริกายามสงครามโลกครั้งที่สองใกล้ยุติ วันที่ 6 สิงหาคม..
ดู กฎบัตรอาเซียนและอาวุธนิวเคลียร์
อำนาจอธิปไตย
อำนาจอธิปไตย (sovereignty) หมายถึง อำนาจสูงสุดในการปกครองรัฐ ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอำนาจยิ่งกว่าหรือขัดต่ออำนาจอธิปไตยหาได้ไม่ อำนาจอธิปไตย ย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง ตัวอย่างเช่น ในระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน กล่าวคือ ประชาชนคือผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อำนาจอธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ คือ กษัตริย์เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นต้น อนึ่ง อำนาจอธิปไตยนี้ นับเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของความเป็นรัฐ เพราะการจะเป็นรัฐได้นั้น นอกจากต้องประกอบด้วย อาณาเขต ประชากร และรัฐบาลแล้ว ย่อมต้องมีอำนาจอธิปไตยด้วย กล่าวคือ ประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอำนาจสูงสุด (อำนาจอธิปไตย) ในการปกครองตนเอง จึงจะสามารถเรียกว่า "รัฐ" ได้.
ดู กฎบัตรอาเซียนและอำนาจอธิปไตย
จาการ์ตา
การ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนเกาะชวาฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ มีประชากร 8.3 ล้านคน (พ.ศ.
ปฏิญญากรุงเทพฯ
ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือ ปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เป็นเอกสารในการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้รับการลงนาม ณ กรุงเทพมหานคร ในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.
ดู กฎบัตรอาเซียนและปฏิญญากรุงเทพฯ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) คือ การร่วมกันทางเศรษฐกิจของประเทศในเขตอาเซียน เพื่อผลประโยชน์ในอำนาจการต่อรองทางเศรษฐกิจ การส่งออก และการนำเข้าของสินค้า จะเริ่มใช้ใน พ.ศ.
ดู กฎบัตรอาเซียนและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).
ดู กฎบัตรอาเซียนและประเทศอินโดนีเซีย
15 ธันวาคม
วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.
ดูเพิ่มเติม
กฎหมายสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- กฎบัตรอาเซียน
- ปฏิญญากรุงเทพฯ
- ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- เขตการค้าเสรีอาเซียน
- เวลามาตรฐานอาเซียน
สนธิสัญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- กฎบัตรอาเซียน
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับกัมพูชา
- กฎบัตรอาเซียน
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับบรูไน
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กฎบัตรอาเซียน
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับฟิลิปปินส์
- กฎบัตรอาเซียน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ
- ปฏิญญากรุงเทพฯ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาการค้าอาวุธ
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาจันทรา
- สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทิ้งวัสดุเหลือใช้และวัสดุอย่างอื่น
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับมาเลเซีย
- กฎบัตรอาเซียน
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ปฏิญญากรุงเทพฯ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับลาว
- กฎบัตรอาเซียน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสิงคโปร์
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กฎบัตรอาเซียน
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ปฏิญญากรุงเทพฯ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับอินโดนีเซีย
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กฎบัตรอาเซียน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ปฏิญญากรุงเทพฯ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับเวียดนาม
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กฎบัตรอาเซียน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาควบคุมอาวุธบนพื้นสมุทร
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษความผิดอาญาฐานฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาแรมซาร์
สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับไทย
- กฎบัตรสหประชาชาติ
- กฎบัตรอาเซียน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
- กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง
- กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า
- ความตกลงปารีส
- ความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยความเป็นกลางของลาว
- ความตกลงสมบูรณ์แบบ
- ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน
- ปฏิญญากรุงเทพฯ
- พิธีสารมอนทรีออล
- พิธีสารเกียวโต
- สนธิสัญญาสยาม–ฝรั่งเศส ร.ศ. 122
- สนธิสัญญาห้ามอาวุธนิวเคลียร์
- สนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452
- สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- สนธิสัญญาเบอร์นี
- สนธิสัญญาเบาว์ริง
- สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)
- สนธิสัญญาแบร์น
- สนธิสัญญาไมตรีและพาณิชย์ ค.ศ. 1833
- สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
- อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ
- อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
- อนุสัญญาว่าด้วยอาวุธเคมี
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล
- อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สอง
- อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง
- อนุสัญญาเมตริก
- อนุสัญญาแรมซาร์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ASEAN Charter