โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26 vs. รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

อมพลแปลก พิบูลสงคราม''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 26 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 26 ของไทย (21 มีนาคม พ.ศ. 2500 - 16 กันยายน พ.ศ. 2500) จอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 21 มีนาคม.. รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์สฤษดิ์ ธนะรัชต์หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)ผิน ชุณหะวัณถนอม กิตติขจรประภาส จารุเสถียรประมาณ อดิเรกสารแปลก พิบูลสงครามเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์

ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี

อมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข รองนายกรัฐมนตรี จอมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี มีนามเดิมว่า ฟื้น ฤทธาคนี เป็นบุตรของนายฟุ้ง ฤทธาคนีและนางพุดตาน ฤทธาคนี ศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี · ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนีและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์และรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

ลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ (นามเดิม: มุนี มหาสันทนะ; 29 มีนาคม พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2528) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกของกองทัพอากาศไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ มีนามเดิมว่า มุนี มหาสันทนะ ศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยสายสวลี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ · มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์และรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)

อมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล หรือ จอมพลเรือ ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงสหกรณ์ กระทรวงวัฒนธรรม และรองนายกรัฐมนตรี จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล มีนามเดิมว่า ประยูร ศาสตระรุจิ ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเรือ ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) · รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและหลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และผิน ชุณหะวัณ · ผิน ชุณหะวัณและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และถนอม กิตติขจร · ถนอม กิตติขจรและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และประภาส จารุเสถียร · ประภาส จารุเสถียรและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และประมาณ อดิเรกสาร · ประมาณ อดิเรกสารและรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และแปลก พิบูลสงคราม · รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์

นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2452 ที่จังหวัดระยอง เป็นบุตรของนายเหลียง เปี่ยมพงศ์สานต์ นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ เป็นนักการเมืองจังหวัดระยอง ที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของจังหวัดระยอง ถึง 8 สมัยติดต่อกัน ต่อมาได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการการทรวงการคลัง รองนายกรัฐมนตรี และเป็นผู้ริเริ่มให้มีการเก็บภาษียาสูบและสุรา ที่ยังคงมีการจัดเก็บอยู่ในปัจจุบัน.

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ · รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยและเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26 มี 23 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย มี 177 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 5.50% = 11 / (23 + 177)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26และรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »