สารบัญ
36 ความสัมพันธ์: ชานชาลาด้านข้างพ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552กรุงเทพมหานครกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมสภากรุงเทพมหานครสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสามารถ ราชพลสิทธิ์สินสาธร ทาวเวอร์สถานีวงเวียนใหญ่สถานีสะพานตากสินสถานีสุรศักดิ์สถานีสนามกีฬาแห่งชาติหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตรอภิรักษ์ โกษะโยธินผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครถนนเจริญนครแม่น้ำเจ้าพระยาเขตคลองสาน1 มีนาคม12 สิงหาคม12 เมษายน13 ธันวาคม13 เมษายน15 พฤษภาคม18 พฤษภาคม22 กุมภาพันธ์23 เมษายน25 เมษายน28 กุมภาพันธ์
ชานชาลาด้านข้าง
แผนผังชานชลาด้านข้างและสะพานลอย ชานชาลาด้านข้าง เป็นรูปแบบชานชลาสถานีรถไฟซึ่งมี 2 ชานชลา ตั้งอยู่ตรงข้ามกัน โดยมีรางรถไฟเป็นตัวแบ่ง ส่วนใหญ่มักใช้แบ่งเป็นชานชลารถเที่ยวขึ้น-ล่อง การก่อสร้างชานชลาลักษณะนี้ไม่ยุ่งยาก แต่มีประสิทธิภาพน้อย เพราะไม่สะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ หรือเปลี่ยนเส้นทาง.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและชานชาลาด้านข้าง
พ.ศ. 2548
ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและพ.ศ. 2548
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและพ.ศ. 2550
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและพ.ศ. 2551
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและพ.ศ. 2552
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและกรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือ บางมด (อังกฤษ: King Mongkut's University of Technology Thonburi; อักษรย่อ: มจธ.) โดยเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และเป็น สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตามประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 11 ก ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร
ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร
รถไฟฟ้าบีทีเอส
รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและรถไฟฟ้าบีทีเอส
รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม
รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..
ดู สถานีกรุงธนบุรีและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม
สภากรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร (ตัวย่อ: ส.ก.) เป็นองค์กรฝ่ายสภาของกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ควบคุม ตรวจสอบและดูแลการบริหารราชการกรุงเทพมหานครของฝ่ายบริหารอันมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นหัวหน้าคณะฯ ซึ่งประธานสภากรุงเทพมหานครคนปัจจุบัน คือ ร้อยตำรวจตรี เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร,นาย กิตติ บุศยพลากร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เป็นรองประธานสภากรุงเทพมหานคร คนที่ 1 และนาย นิรันดร์ ประดิษฐกุล รองประธานสภากรุงเทพมหานคร คนที่ 2.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและสภากรุงเทพมหานคร
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือที่รู้จักในนาม สะพานสาทร เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมถนนสาทร (เขตสาทรและเขตบางรัก) กับถนนกรุงธนบุรี (เขตคลองสาน) เป็นสะพานคู่แยกขาเข้า-ขาออก และเว้นเนื้อที่ระหว่างสะพานไว้เผื่อสร้างระบบขนส่งมวลชนอื่น โดยปัจจุบัน พื้นที่ระหว่างสะพานเป็นรางรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสีลม และพื้นที่ในฝั่งพระนครยังเป็นที่ตั้งของสถานีสะพานตากสินอีกด้วย สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเป็นที่รู้กันของชาวกรุงเทพฯ ว่าประสบปัญหาการจราจรอย่างหนัก โดยเฉพาะขาเข้าฝั่งพระนคร เนื่องจากปริมาณรถมาก และเชิงสะพานฝั่งพระนครมีสัญญาณไฟจราจร จึงเป็นการปิดกั้นกระแสรถจากฝั่งธนบุรีซึ่งมีปริมาณมากให้ไหลไปได้ช้า โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนที่มีปริมาณรถมากเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนตั้งอยู่ปลายสะพานทางฝั่งพระนครซึ่งในช่วงเวลาเช้าจะมีผู้ปกครองจอดรถเพื่อส่งเด็กนักเรียนเป็นจำนวนมาก และใช้เวลานานมาก ซึ่งเป็นที่มาส่วนหนึ่งของการจราจรที่ติดขัดเป็นพิเศษ.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สามารถ ราชพลสิทธิ์
มารถ ราชพลสิทธิ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ฝ่ายโยธาและจราจร หนึ่งในทีมบริหารกรุงเทพมหานครชุดเริ่มต้นของ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เกิดวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและสามารถ ราชพลสิทธิ์
สินสาธร ทาวเวอร์
กรุงเทพมหานครในยามสนธยา (สินสาธร ทาวเวอร์ คือตึกที่สูงที่สุดในภาพ) สินสาธร ทาวเวอร์ (Sinn Sathorn Tower) เป็นตึกระฟ้าในกรุงเทพมหานคร มีความสูงทั้งหมด 195 เมตร มีจำนวนชั้นทั้งสิ้น 43 ชั้น ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 77/8 ถนนกรุงธนบุรี ใกล้เชิงสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน (สะพานสาธร) แขวงคลองต้นไทร เขตคลองสาน มีพื้นที่ทั้งหมด 120,000 ตารางเมตร เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและสินสาธร ทาวเวอร์
สถานีวงเวียนใหญ่
นีวงเวียนใหญ่ สามารถหมายความถึง.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและสถานีวงเวียนใหญ่
สถานีสะพานตากสิน
นีสะพานตากสิน เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับระหว่างสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 2 สะพานที่ขนานกัน และคร่อมบริเวณปากคลองสาทร ช่วงริมแม่น้ำเจ้าพระยาถึงจุดตัดถนนเจริญกรุง เป็นสถานีรถไฟฟ้าแห่งเดียวในกรุงเทพมหานครที่เชื่อมต่อกับการสัญจรทางเรือในแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ท่าเรือสาทร (Central Pier) และยังเป็นที่ตั้งของศูนย์บริการนักท่องเที่ยวบีทีเอ.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและสถานีสะพานตากสิน
สถานีสุรศักดิ์
ั้นขายบัตรโดยสาร สถานีสุรศักดิ์ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือถนนสาทรเหนือและถนนสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและสถานีสุรศักดิ์
สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ
ลักษณะภายนอกของสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือ ถนนพระรามที่ 1 กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้า สนามกีฬาแห่งชาต.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ
หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร (22 กันยายน 2495 -) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 15 อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและหม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
อภิรักษ์ โกษะโยธิน
นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน (30 มีนาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์, อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 สมั.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและอภิรักษ์ โกษะโยธิน
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ถนนเจริญนคร
นนเจริญนคร (Thanon Charoen Nakhon) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งทางฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 4,900 เมตร จุดเริ่มต้นของถนนอยู่ที่ทางแยกคลองสานในพื้นที่แขวงคลองสาน เขตคลองสาน เลียบแม่น้ำเจ้าพระยาไปทางทิศใต้ ข้ามสะพานเจริญนคร 1 (คลองสาน) ตัดกับถนนเจริญรัถและเข้าพื้นที่แขวงคลองต้นไทร ข้ามสะพานเจริญนคร 2 (คลองวัดทองเพลง) ตัดกับถนนกรุงธนบุรีที่ทางแยกกรุงธนบุรี (เหนือและใต้) เลียบแม่น้ำไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ข้ามสะพานเจริญนคร 3 (คลองต้นไทร) และเข้าพื้นที่แขวงบางลำภูล่าง ข้ามสะพานเจริญนคร 4 (คลองบางลำภูล่าง) ข้ามสะพานเจริญนคร 5 (คลองบางไส้ไก่) และเข้าพื้นที่แขวงสำเหร่ เขตธนบุรี ข้ามสะพานเจริญนคร 6 (คลองสำเหร่) และสะพานเจริญนคร 7 (คลองบางน้ำชน) ตัดกับถนนมไหสวรรย์ที่ทางแยกบุคคโลและเข้าพื้นที่แขวงดาวคะนอง เมื่อผ่านปากซอยเจริญนคร 72 จะโค้งไปทางทิศใต้ ไปสิ้นสุดที่สะพานเจริญนคร 8 (คลองดาวคะนอง) โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนราษฎร์บูรณะในพื้นที่เขตราษฎร์บูรณะ ถนนเจริญนครตัดขึ้นในราวปี พ.ศ.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและถนนเจริญนคร
แม่น้ำเจ้าพระยา
แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและแม่น้ำเจ้าพระยา
เขตคลองสาน
ตคลองสาน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและเขตคลองสาน
1 มีนาคม
วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.
12 สิงหาคม
วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและ12 สิงหาคม
12 เมษายน
วันที่ 12 เมษายน เป็นวันที่ 102 ของปี (วันที่ 103 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 263 วันในปีนั้น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและ12 เมษายน
13 ธันวาคม
วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและ13 ธันวาคม
13 เมษายน
วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและ13 เมษายน
15 พฤษภาคม
วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและ15 พฤษภาคม
18 พฤษภาคม
วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและ18 พฤษภาคม
22 กุมภาพันธ์
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 53 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 312 วันในปีนั้น (313 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู สถานีกรุงธนบุรีและ22 กุมภาพันธ์
23 เมษายน
วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและ23 เมษายน
25 เมษายน
วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและ25 เมษายน
28 กุมภาพันธ์
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.
ดู สถานีกรุงธนบุรีและ28 กุมภาพันธ์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สถานีเจริญนคร