เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล vs. รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

| open. รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ในเส้นทาง รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท สถานีหมอชิต-สถานีอ่อนนุช และ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ-สถานีสะพานตากสิน โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วทั้งสิ้น 5 สาย 77 สถานี ครอบคลุมระยะทางกว่า 112 กิโลเมตร*.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มี 44 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2542พ.ศ. 2547พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2560พ.ศ. 2562พ.ศ. 2563พ.ศ. 2568กรุงเทพมหานครการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยการรถไฟแห่งประเทศไทยระบบขนส่งมวลชนเร็วรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าสายสีเหลืองรถไฟฟ้าสายสีเทารถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกสวนลุมพินีสถานีบางซื่อสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมืองสถานีลาดพร้าว...สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสถานีหมอชิตสถานีหลักสองสถานีหัวลำโพงสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีห้าแยกลาดพร้าวสถานีท่าพระทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพซีเมนส์ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทรโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)1 กรกฎาคม11 สิงหาคม3 กรกฎาคม ขยายดัชนี (14 มากกว่า) »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

พ.ศ. 2542และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · พ.ศ. 2542และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

พ.ศ. 2547และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · พ.ศ. 2547และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

พ.ศ. 2553และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · พ.ศ. 2553และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2554และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · พ.ศ. 2554และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

พ.ศ. 2555และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · พ.ศ. 2555และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

พ.ศ. 2557และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · พ.ศ. 2557และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2560และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · พ.ศ. 2560และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2562

ทธศักราช 2562 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2019 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2562และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · พ.ศ. 2562และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2563

ทธศักราช 2563 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2020 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2563และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · พ.ศ. 2563และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2568

ทธศักราช 2568 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2025 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2568และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · พ.ศ. 2568และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · กรุงเทพมหานครและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและระบบขนส่งมวลชนเร็ว · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและระบบขนส่งมวลชนเร็ว · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก เป็นโครงการรถไฟชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยตามแผนแม่บท พื้นที่โครงการจะมีระยะทาง 127.5 กิโลเมตรคำนวณระยะทางจาก ช่วงนครปฐม-ตลิ่งชัน 43 กม.

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

รถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้เร่งรัดแผนงานจากกำหนดการเดิมในปี..

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าสายสีเหลือง · รถไฟฟ้าสายสีเหลืองและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเทา

รถไฟฟ้าสายสีเทา (วัชรพล-พระโขนง-สะพานพระราม 9-ท่าพระ) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล..

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าสายสีเทา · รถไฟฟ้าสายสีเทาและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

สวนลุมพินี

วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสวนลุมพินี · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสวนลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบางซื่อ

นีบางซื่อ สามารถหมายถึง.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีบางซื่อ · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง

นชาลาที่ 1 ของรถไฟฟ้า City Line มุ่งหน้าสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ภายในอาคารผู้โดยสาร สถานีมักกะสัน สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง (City Air Terminal, รหัส: A6) หรือ สถานีมักกะสัน เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย Express Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link Express Line) ซึ่งจะวิ่งตรงจากมักกะสันสู่สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยไม่แวะสถานีรายทาง ระยะทาง 25.7 กิโลเมตร ใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที (ต่างจากรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ) สถานีแห่งนี้เป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานฯ ที่มีจอแสดงผลข้อมูลเที่ยวบินตรงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิติดตั้งอยู่ และเป็นสถานีที่ผู้โดยสารสามารถมาเช็คอินและโหลดกระเป๋าได้.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลาดพร้าว

นีลาดพร้าว เป็นสถานีรถไฟฟ้าที่ตั้งอยู่ที่บริเวณสี่แยกรัชดา-ลาดพร้าว หรือจุดตัดระหว่าง ถนนรัชดาภิเษก และ ถนนลาดพร้าว ในพื้นที่แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทาง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และ รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ทั้งสองสถานีเป็นสถานีที่อยู่ภายใต้การดูแลของ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไท.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีลาดพร้าว · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

นีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (รหัส CUL) หรือสถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจ ศูนย์การค้า ที่พักอาศัย และอยู่ใกล้สถานที่สำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม เช่นศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นชุมทางรถไฟฟ้าในทิศทางจากสถานีห้วยขวางขึ้นบนระดับพื้นดิน เข้าสู่ ศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟฟ้ามหานคร ห้วยขวาง.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหมอชิต

นีหมอชิต เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท ซึ่งมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร และยังสามารถเปลี่ยนเส้นทางไปยังสถานีสวนจตุจักร ของรถไฟฟ้ามหานครได้ นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี่ โดยจะเป็นสถานีสุดท้ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ก่อนจะเข้าสู่ย่านลาดพร้าวซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ที่จะดำเนินการก่อสร้างส่วนต่อขยายต่อไปจนถึงย่านลำลูกกาในอนาคต.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหมอชิต · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีหมอชิต · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหลักสอง

นีหลักสอง (Lak Song Station, รหัส BS20) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหลักสอง · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีหลักสอง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหัวลำโพง

นีหัวลำโพง อาจหมายถึง.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหัวลำโพง · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีหัวลำโพง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งเป็นสถานีรถไฟที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางและเพื่อรำลึกถึงกิจการรถไฟในประเทศไทย จึงใช้สถานีหัวลำโพงเป็นสถานที่ทำพิธีวางศิลาฤกษ์โครงการ และทำพิธีเปิดการเดินรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานครอยู่ภายในสถานี.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร) · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีห้าแยกลาดพร้าว

นีห้าแยกลาดพร้าว (Ladphrao Intersection Station, รหัส N9) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน บริเวณสุดเขตสวนจตุจักร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันกำลังก่อสร้าง และอยู่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไท.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีห้าแยกลาดพร้าว · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีห้าแยกลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีท่าพระ

นีท่าพระ เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีที่เชื่อมต่อทั้งสองส่วนของสายเฉลิมรัชมงคลเข้าไว้ดัวยกัน ก่อให้เกิดเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าวงแหวนภายในเขตกรุงเทพมหานครชั้นกลางและชั้นใน ยกระดับเหนือแยกท่าพระ บริเวณจุดตัดระหว่าง ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเพชรเกษม และถนนรัชดาภิเษกฝั่งใต้ ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีท่าพระ · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีท่าพระ · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ

ริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (Bangkok Expressway and Metro Public Company Limited ย่อว่า BEM) บริษัทที่ดำเนินธุรกิจคมนาคมขนส่งซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและเอกชนโดยบริษัทแห่งนี้เป็นคู่สัมปทานกับ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.).

ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ซีเมนส์

ำหรับยี่ห้อระบบรถไฟฟ้า ดูที่ ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร ซีเมนส์ (Siemens AG) เป็นกลุ่มบริษัทวิศวกรรมขนาดใหญ่ที่สุดของยุโรป สำนักงานใหญ่นานาชาติของซีเมนส์ตั้งอยู่ที่เบอร์ลินและมิวนิก ประเทศเยอรมนี ซีเมนส์เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจหลายประเภทรวมกัน (conglomerate) โดยมีแผนกธุรกิจหลัก 6 ส่วน ได้แก่ ระบบอัตโนมัติและระบบควบคุม, พลังงานไฟฟ้า, ระบบขนส่ง, การแพทย์, สารสนเทศและการสื่อสาร, และระบบส่องสว่าง เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซีเมนส์ได้ปรับธุรกิจใหม่เป็นสามส่วนคือ อุตสาหกรรม, พลังงาน, และสุขภาพ โดยมีแผนกรวมทั้งหมด 15 แผนก ซีเมนส์และบริษัทในเครือจ้างงานทั่วโลกประมาณ 400,000 ตำแหน่ง, www.siemens.com, January 2008 ในเกือบ 190 ประเทศ และแจ้งรายได้ทั่วโลก 72,448 ล้านยูโร ในปีงบประมาณ 2550 บริษัทซีเมนส์อยู่ในตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ต และอยู่ในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กตั้งแต่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2544 ซีเมนส์ก่อตั้งโดย แวร์เนอร์ ฟอน ซีเมนส์ เมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2390 (ค.ศ. 1847) โดยเริ่มจากการคิดค้นระบบโทรเลขที่ให้ผลลัพธ์เป็นตัวอักษรแทนที่จะเป็นรหัสมอร์ส เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560 ซีเมนส์ประกาศควบรวมกิจการเฉพาะหน่วยธุรกิจระบบรางและระบบอาณัติสัญญาณ (ซีเมนส์ โมบิลิที) เข้ากับ อัลสตอม (Alstom) ของประเทศฝรั่งเศส เพื่อร่วมกันสร้างบริษัทระบบรางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่มีสำนักงานย่อย โรงงาน คู่ค้าและพันธมิตรกว่า 60 ประเทศ รวมประเทศไทย โดยบริษัทใหม่จะใช้ชื่อว่า ซีเมนส์ อัลสตอม (Siemens Alstom) มีกำหนดควบรวมกิจการเสร็จภายในสิ้นปีการเงิน..

ซีเมนส์และรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ซีเมนส์และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร

รถไฟฟ้าเมืองเนือร์นแบร์ก ประเทศเยอรมนี ภายในรถไฟฟ้าเมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร (Siemens Modular Metro) เป็นตระกูลรถรางไฟฟ้าเพื่อระบบขนส่งด่วนพิเศษ ซึ่งผลิตโดย ซีเมนส์ทรานสพอร์เทชันซิสเทมส์ และผู้ประกอบการรถไฟใช้ทั่วโลก แนวคิดของยานพาหนะดังกล่าวเปิดตัวในกรุงเวียนนา เมื่อ..

ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทรและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทรและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)

รงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่บนเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ในการบริการขนส่งผู้โดยสารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชานเมืองเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบรางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้อนผู้โดยสารเข้าสู่โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และกรุงเทพมหานคร ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีอยู่แล้ว และยังจะสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซื่อ–รังสิต และช่วงบางซื่อ–ตลิ่งชัน รวมสถานีกลางบางซื่อ ใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวมทั้งหมด 99,840.4 ล้านบาท.

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

1 กรกฎาคมและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · 1 กรกฎาคมและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

11 สิงหาคมและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · 11 สิงหาคมและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

3 กรกฎาคมและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · 3 กรกฎาคมและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล มี 187 ความสัมพันธ์ขณะที่ รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มี 136 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 44, ดัชนี Jaccard คือ 13.62% = 44 / (187 + 136)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: