โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก vs. รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม. รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ในเส้นทาง รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท สถานีหมอชิต-สถานีอ่อนนุช และ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ-สถานีสะพานตากสิน โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วทั้งสิ้น 5 สาย 77 สถานี ครอบคลุมระยะทางกว่า 112 กิโลเมตร*.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มี 32 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บริติช เรล คลาส 360พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560กรุงเทพมหานครการรถไฟแห่งประเทศไทยระบบขนส่งมวลชนเร็วรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าสายสีชมพูรถไฟฟ้าสายสีเหลืองรถไฟความเร็วสูงรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกสถานีพญาไทสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมืองสถานีลาดกระบังสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิสแตนดาร์ดเกจจังหวัดสมุทรปราการทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพซีเมนส์ซีเมนส์ เดซิโรโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)...23 สิงหาคม5 ธันวาคม ขยายดัชนี (2 มากกว่า) »

บริติช เรล คลาส 360

ริติช เรล คลาส 360 ในรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ ภายในรถ รถไฟฟ้าบริติช เรล คลาส 360 สร้างขึ้นโดยซีเมนส์ นำเข้าตั้งแต่ ค.ศ. 2002-2003 และ ค.ศ. 2004-2005 เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลรถซีเมนส์ เดซิโร ประเทศไทย ได้นำเข้าบริติช เรล คลาส 360 เพื่อนำมาใช้งานในเส้นทางรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

บริติช เรล คลาส 360และรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · บริติช เรล คลาส 360และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

พ.ศ. 2552และรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · พ.ศ. 2552และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

พ.ศ. 2553และรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · พ.ศ. 2553และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

พ.ศ. 2559และรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · พ.ศ. 2559และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2560และรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · พ.ศ. 2560และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · กรุงเทพมหานครและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · การรถไฟแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและระบบขนส่งมวลชนเร็ว · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและระบบขนส่งมวลชนเร็ว · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.

ริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการรถไฟฟ้าต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ การรถไฟแห่งประเทศไท.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. · รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก เป็นโครงการรถไฟชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยตามแผนแม่บท พื้นที่โครงการจะมีระยะทาง 127.5 กิโลเมตรคำนวณระยะทางจาก ช่วงนครปฐม-ตลิ่งชัน 43 กม.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน · รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม · รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าบีทีเอส · รถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้ามหานคร · รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีชมพู

รงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบหลัก เป็นโครงการรถไฟฟ้าโครงการหนึ่งตามแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในระยะแรกโครงการดังกล่าวมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 27 กิโลเมตร แต่ต่อมาก็ได้มีการขยายต้นทางจากปากเกร็ดมายังแคราย เพื่อเชื่อมกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ทำให้เส้นทางของโครงการเริ่มต้นที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดที่มีนบุรี ระยะทางรวมประมาณ 34–36 กิโลเมตร.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าสายสีชมพู · รถไฟฟ้าสายสีชมพูและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้เร่งรัดแผนงานจากกำหนดการเดิมในปี..

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าสายสีเหลือง · รถไฟฟ้าสายสีเหลืองและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูง

รถไฟชิงกันเซ็ง รุ่น E5 TGV 2N2 ของ SNCF ซึ่งเป็นรถไฟความเร็วสูงที่พัฒนาให้มีห้องโดยสาร 2 ชั้น ขณะอยู่ที่เมืองแฟรงเฟิร์ตของเยอรมนี รถไฟความเร็วสูง หรือ ระบบรางความเร็วสูง (High-Speed Rail (HSR)) เป็นระบบการขนส่งทางรางที่วิ่งด้วยความเร็วสูงกว่าระบบขนส่งทางรางทั่วไปอย่างมาก โดยการใช้ระบบล้อเลื่อน (rolling stock) พิเศษรวมกับระบบรางที่ออกแบบมาให้ใช้โดยเฉ.

รถไฟความเร็วสูงและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · รถไฟความเร็วสูงและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

สถานีพญาไท

มุมสูง สถานีพญาไทของรถไฟฟ้าทั้ง 2 ระบบ สถานีพญาไท เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีพญาไท · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง

นชาลาที่ 1 ของรถไฟฟ้า City Line มุ่งหน้าสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ภายในอาคารผู้โดยสาร สถานีมักกะสัน สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง (City Air Terminal, รหัส: A6) หรือ สถานีมักกะสัน เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย Express Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link Express Line) ซึ่งจะวิ่งตรงจากมักกะสันสู่สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิโดยไม่แวะสถานีรายทาง ระยะทาง 25.7 กิโลเมตร ใช้เวลาไม่เกิน 15 นาที (ต่างจากรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ) สถานีแห่งนี้เป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานฯ ที่มีจอแสดงผลข้อมูลเที่ยวบินตรงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิติดตั้งอยู่ และเป็นสถานีที่ผู้โดยสารสามารถมาเช็คอินและโหลดกระเป๋าได้.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลาดกระบัง

นีลาดกระบัง (Lat Krabang Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ โดยสถานีลาดกระบังเป็นสถานีสุดท้ายก่อนเข้าสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีลาดกระบัง · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

นีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นสถานีรถไฟฟ้าของรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายบางนา-สุวรรณภูมิ (โครงการในอนาคต).

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

สแตนดาร์ดเกจ

แตนดาร์ดเกจ หรือ รางขนาดมาตรฐานยุโรป (European standard gauge)เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีการใช้กันมากที่สุด โดยคิดเป็นประมาณ 60% ของรางรถไฟทั่วโลก ระยะห่างภายในของรางรถไฟมีขนาด 1.435 เมตร (4 ฟุต 8 1/2 นิ้ว) สแตนดาร์ดเกจยังมีชื่อเรียกว่า สตีเฟนซันเกจ ตั้งชื่อตาม จอร์จ สตีเฟนซัน ความกว้าง 1.435 นี้เป็นระยะห่างของล้อรถม้าและเกวียนในสมัยโรมันโบราณ ซึ่งเป็นระยะที่กว้างพอที่จะทำให้ม้า 2 ตัวแบบเรียงหน้ากระดาน สามารถลากจูงรถได้โดยที่ลำตัวไม่เบียดกันเวลาม้าวิ่ง.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและสแตนดาร์ดเกจ · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสแตนดาร์ดเกจ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

จังหวัดสมุทรปราการและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · จังหวัดสมุทรปราการและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ

ริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (Bangkok Expressway and Metro Public Company Limited ย่อว่า BEM) บริษัทที่ดำเนินธุรกิจคมนาคมขนส่งซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและเอกชนโดยบริษัทแห่งนี้เป็นคู่สัมปทานกับ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.).

ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ซีเมนส์

ำหรับยี่ห้อระบบรถไฟฟ้า ดูที่ ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร ซีเมนส์ (Siemens AG) เป็นกลุ่มบริษัทวิศวกรรมขนาดใหญ่ที่สุดของยุโรป สำนักงานใหญ่นานาชาติของซีเมนส์ตั้งอยู่ที่เบอร์ลินและมิวนิก ประเทศเยอรมนี ซีเมนส์เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจหลายประเภทรวมกัน (conglomerate) โดยมีแผนกธุรกิจหลัก 6 ส่วน ได้แก่ ระบบอัตโนมัติและระบบควบคุม, พลังงานไฟฟ้า, ระบบขนส่ง, การแพทย์, สารสนเทศและการสื่อสาร, และระบบส่องสว่าง เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ซีเมนส์ได้ปรับธุรกิจใหม่เป็นสามส่วนคือ อุตสาหกรรม, พลังงาน, และสุขภาพ โดยมีแผนกรวมทั้งหมด 15 แผนก ซีเมนส์และบริษัทในเครือจ้างงานทั่วโลกประมาณ 400,000 ตำแหน่ง, www.siemens.com, January 2008 ในเกือบ 190 ประเทศ และแจ้งรายได้ทั่วโลก 72,448 ล้านยูโร ในปีงบประมาณ 2550 บริษัทซีเมนส์อยู่ในตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ต และอยู่ในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์กตั้งแต่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2544 ซีเมนส์ก่อตั้งโดย แวร์เนอร์ ฟอน ซีเมนส์ เมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2390 (ค.ศ. 1847) โดยเริ่มจากการคิดค้นระบบโทรเลขที่ให้ผลลัพธ์เป็นตัวอักษรแทนที่จะเป็นรหัสมอร์ส เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2560 ซีเมนส์ประกาศควบรวมกิจการเฉพาะหน่วยธุรกิจระบบรางและระบบอาณัติสัญญาณ (ซีเมนส์ โมบิลิที) เข้ากับ อัลสตอม (Alstom) ของประเทศฝรั่งเศส เพื่อร่วมกันสร้างบริษัทระบบรางที่ใหญ่ที่สุดในโลก ที่มีสำนักงานย่อย โรงงาน คู่ค้าและพันธมิตรกว่า 60 ประเทศ รวมประเทศไทย โดยบริษัทใหม่จะใช้ชื่อว่า ซีเมนส์ อัลสตอม (Siemens Alstom) มีกำหนดควบรวมกิจการเสร็จภายในสิ้นปีการเงิน..

ซีเมนส์และรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · ซีเมนส์และรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ซีเมนส์ เดซิโร

รถไฟเดซิโรในเมืองกราซ ประเทศออสเตรีย ซีเมนส์ เดซิโร (Siemens Desiro) เป็นรถตระกูลหนึ่งของรถดีเซลรางและรถไฟฟ้า ซึ่งใช้ขนส่งผู้โดยสาร ซีเมนส์ เดซิโร มีรถหลายรุ่นที่ดัดแปลงออกมา เช่น เดซิโร คลาสสิก, เดซิโร เอ็มแอล, เดซิโร ยูเค และรถรุ่นในอนาคต เดซิโร ซิตี และ เดซิโร อาร์ยูเอส มักใช้ในรถไฟชานเมืองและสายระหว่างภูมิภาค การออกแบบตัวรถค่อนข้างง่าย ไม่ซับซ้อนแต่อย่างใ.

ซีเมนส์ เดซิโรและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · ซีเมนส์ เดซิโรและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)

รงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่บนเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ในการบริการขนส่งผู้โดยสารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชานเมืองเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบรางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้อนผู้โดยสารเข้าสู่โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และกรุงเทพมหานคร ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีอยู่แล้ว และยังจะสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซื่อ–รังสิต และช่วงบางซื่อ–ตลิ่งชัน รวมสถานีกลางบางซื่อ ใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวมทั้งหมด 99,840.4 ล้านบาท.

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) · รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

23 สิงหาคมและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · 23 สิงหาคมและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

5 ธันวาคมและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก · 5 ธันวาคมและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก มี 110 ความสัมพันธ์ขณะที่ รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มี 136 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 32, ดัชนี Jaccard คือ 13.01% = 32 / (110 + 136)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »