โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

ดัชนี รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

81 ความสัมพันธ์: บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์พ.ศ. 2542พ.ศ. 2552พ.ศ. 2556พ.ศ. 2560พ.ศ. 2572พ.ศ. 2585กรุงเทพมหานครกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)กรีฑาสถานแห่งชาติมหานคร (ตึกระฟ้า)ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครระบบขนส่งมวลชนเร็วราชกรีฑาสโมสรรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ามหานครรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าสายสีทองรถไฟฟ้าสายสีเทารถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลสยามพารากอนสยามสแควร์วันสยามดิสคัฟเวอรีสยามเซ็นเตอร์สวนลุมพินีสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลสถานีช่องนนทรีสถานีกรุงธนบุรีสถานียศเสสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชันสถานีรถไฟธนบุรีสถานีวุฒากาศ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สถานีวงเวียนใหญ่สถานีศาลาแดงสถานีสยามสถานีสะพานตากสินสถานีสุรศักดิ์สถานีสีลมสถานีสนามกีฬาแห่งชาติสถานีตลิ่งชันอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยจอดแล้วจรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถนนบำรุงเมือง...ถนนพระรามที่ 1ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ถนนหลานหลวงคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซีคอนบางแคแม่น้ำเจ้าพระยาแยกราชประสงค์โรงพยาบาลหัวเฉียวโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์โวลต์โครงการรถไฟฟ้าลาวาลินไฟฟ้ากระแสตรงเมตรเอ็มบีเคเซ็นเตอร์เขตบางกอกน้อยเขตบางรักเขตพระนครเขตภาษีเจริญเขตสาทรเขตจอมทองเขตธนบุรีเขตคลองสานเขตตลิ่งชันเขตปทุมวันเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายเซ็นทรัลเวิลด์12 มกราคม14 กุมภาพันธ์15 พฤษภาคม31 มีนาคม5 ธันวาคม ขยายดัชนี (31 มากกว่า) »

บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์

ริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) (BTS GROUP HOLDINGS PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:BTS ชื่อเดิม: บริษัท ธนายง จำกัด) เป็นบริษัประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจสื่อโฆษณา ธุรกิจให้บริการ และธุรกิจระบบขนส่งมวลชน แต่เดิมประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ก่อนเข้ารับสัมปทานระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครจากกรุงเทพมหานคร เพื่อดำเนินการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนสายแรกของประเทศไทย แต่จากสภาพเศรษฐกิจในขณะนั้น ทำให้บริษัทต้องแยกธุรกิจออกมาเป็นบริษัทลูกและเปิดเป็นบริษัทมหาชนเพื่อหาแหล่งเงินทุน ส่วนบริษัทได้ยื่นขอล้มละลายต่อศาลล้มละลายกลางเพื่อเข้าแผนดำเนินการฟื้นฟูกิจการ หลังจากการฟื้นฟูกิจการเสร็จสิ้นไปได้ด้วยดี บริษัทได้ดำเนินการเข้าถือหุ้นสามัญร้อยละ 94.60 ของบีทีเอสซี เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและบีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2572

ทธศักราช 2572 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2029 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและพ.ศ. 2572 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2585

ทธศักราช 2585 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2042 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและพ.ศ. 2585 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

กรีฑาสถานแห่งชาติ

กรีฑาสถานแห่งชาติ (The National Stadium of Thailand) เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยส่งคืนสถานที่บางส่วนแก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และใช้อาคารสถานที่ในส่วนที่ยังเช่าอยู่ เพื่อเป็นที่ทำการของกรมฯ ตลอดจนสมาคมหรือองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา และนันทนาการต่างๆ กรีฑาสถานแห่งชาติ ตั้งอยู่ภายในที่ทำการของกรมพลศึกษา เลขที่ 154 ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและกรีฑาสถานแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

มหานคร (ตึกระฟ้า)

มหานคร เป็นตึกระฟ้าในรูปแบบอาคารประเภทใช้ประโยชน์ผสมผสาน ตั้งอยู่ติดกับสถานีช่องนนทรีของรถไฟฟ้าบีทีเอส บริเวณสีลมและสาทรซึ่งเป็นย่านธุรกิจที่สำคัญของกรุงเทพมหานคร ออกแบบให้เสมือนโอบล้อมด้วยริบบิ้น 3 มิติหรือ พิกเซล เป็นอาคารกระจกทั้งหลัง สร้างสรรค์โดยบริษัทสถาปนิกในกลุ่มบริษัท บูโร โอเล่อ เชียเรน กรุ๊ป อาคารมหานครเคยเป็นหนึ่งในตึกที่สูงที่สุดในประเทศไทย ด้วยความสูง 314.2 เมตร จำนวน 77 ชั้นประกอบไปด้วยส่วนโรงแรม ร้านค้าปลีก และส่วนห้องชุดพักอาศัยโดยกลุ่มริทซ์-คาร์ลตัน จำนวน 209 หน่วย โดยราคาของห้องชุดดังกล่าว ราคาเฉลี่ย 3.5 แสนบาท/ตร.ม. เริ่มต้นที่ 32 ล้านบาทไปจนถึง 300 ล้านบาท ซึ่งถือว่าเป็น 1 ในอาคารชุดพักอาศัยที่มีราคาสูงที่สุดแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ชั้น 74-77 จะเปิดให้คนภายนอกเข้าชม เป็นจุดชมทิวทัศน์ 360 องศา ปัจจุบันสถิติดังกล่าวถูกทำลายลงเมื่อวันที่ 8 เมษายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและมหานคร (ตึกระฟ้า) · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (Bangkok Mass Transit, BMT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร (กทม., BMA) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด (KT) โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบรถไฟฟ้ามหานคร ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) โดยระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและระบบขนส่งมวลชนเร็ว · ดูเพิ่มเติม »

ราชกรีฑาสโมสร

ราชกรีฑาสโมสร ราชกรีฑาสโมสร (The Royal Bangkok Sports Club) เป็นสโมสรกีฬาในประเทศไทย หรือที่เรียกกันว่า สนามฝรั่ง ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2444 ประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับสมาชิก เพื่อการเล่นกีฬาประเภทต่างๆ เช่น สนามกอล์ฟ สระว่ายน้ำ สนามเทนนิส ห้องฟิตเนส นอกจากนี้ ยังมีการจัดแข่งม้าในวันอาทิตย์เว้นอาทิตย์ สลับกับราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ 12,500 คน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและราชกรีฑาสโมสร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก เป็นโครงการรถไฟชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยตามแผนแม่บท พื้นที่โครงการจะมีระยะทาง 127.5 กิโลเมตรคำนวณระยะทางจาก ช่วงนครปฐม-ตลิ่งชัน 43 กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้ามหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีทอง

รงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง สายสีทอง (สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนบุรี-สำนักงานเขตคลองสาน-ประชาธิปก) เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนรองบนพื้นที่ฝั่งธนบุรี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางบนถนนเจริญนคร และเป็นการเชื่อมต่อเข้ากับศูนย์การค้าไอคอนสยาม ดำเนินการโดย กรุงเทพมหานคร และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ดำเนินการในรูปแบบรถไฟฟ้าล้อยาง และมีแนวเส้นทางเริ่มต้นจากสถานีต้นทางของโครงการใกล้กับสถานีกรุงธนบุรี ของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม วิ่งไปตามแนวถนนเจริญนคร ผ่านศูนย์การค้าไอคอนสยาม สำนักงานเขตคลองสาน สิ้นสุดในระยะแรกที่บริเวณแยกสมเด็จเจ้าพระยา-ประชาธิปก รวมระยะทาง 5.7 กิโลเมตร คาดว่าจะมีผู้โดยสาร 50,000 เที่ยวต่อวันเมื่อเปิดทำการ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2561) โครงการอยู่ในระหว่างการก่อสร้างในเส้นทางระยะที่ 1 กรุงธนบุรี - เจริญนคร กำหนดแล้วเสร็จ 19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้าสายสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสายสีเทา

รถไฟฟ้าสายสีเทา (วัชรพล-พระโขนง-สะพานพระราม 9-ท่าพระ) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าตามแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้าสายสีเทา · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2542 ในเส้นทาง รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท สถานีหมอชิต-สถานีอ่อนนุช และ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ-สถานีสะพานตากสิน โดยในปัจจุบันมีรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการแล้วทั้งสิ้น 5 สาย 77 สถานี ครอบคลุมระยะทางกว่า 112 กิโลเมตร*.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

สยามพารากอน

้านหน้าสยามพารากอน สยามพารากอนเวลากลางคืน ด้านข้างสยามพารากอนเวลากลางคืน ศูนย์การค้าสยามพารากอน (Siam Paragon) เป็น ศูนย์การค้า ขนาดใหญ่ในกลุ่มพลังสยาม มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศไทย รองจากศูนย์การค้า เซ็นทรัลเวิลด์ และ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต บริหารงานโดย บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด ร่วมกับ บริษัท เดอะมอลล์กรุ๊ป จำกัด ในนาม บริษัท สยามพารากอน ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด และ บริษัท สยามพารากอน รีเทล จำกัด ตั้งอยู่บน ถนนพระรามที่ 1 ในพื้นที่แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เน้นความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าที่มีกำลังซื้อสูง กลุ่มนักท่องเที่ยว กลุ่มลูกค้าต่างชาติ และกลุ่มลูกค้าระดับกลางถึงบนในศูนย์การค้าเดียว อีกทั้งยังเป็นศูนย์การค้าคู่แข่งกับ เซ็นทรัลเวิลด์ โดยตรง สยามพารากอนมีลูกค้าชาวไทยประมาณ 60% และชาวต่างชาติ 40% เป็นสถานที่ที่มีผู้แชร์ภาพผ่านอินสตาแกรมมากที่สุดในโลกในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสยามพารากอน · ดูเพิ่มเติม »

สยามสแควร์วัน

ูนย์การค้าสยามสแควร์วัน (Siam Square One) เป็นศูนย์การค้าในย่านสยามสแควร์ ประเทศไทย สร้างบนพื้นที่เดิมของโรงภาพยนตร์สยาม ที่ได้รับความเสียหายจากเพลิงไหม้เมื่อครั้งการชุมนุมทางการเมือง พ.ศ. 2553 บริหารงานโดย สำนักงานจัดการทรัพย์สินแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นจุดเชื่อมต่อสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีสยาม ที่สำคัญแห่งหนึ่งบนถนนพระรามที่ 1.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสยามสแควร์วัน · ดูเพิ่มเติม »

สยามดิสคัฟเวอรี

มดิสคัฟเวอรี่เซ็นเตอร์ก่อนการปรับปรุงครั้งใหญ่ ศูนย์การค้าสยามดิสคัฟเวอรี (Siam Discovery) เป็นศูนย์การค้าแห่งหนึ่งในประเทศไทย บริการงานโดยสยามพิวรรธน์ เปิดตัวเมื่อเมษายน 2540 ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกปทุมวัน เป็นศูนย์การค้าภายใต้แนวคิด "Lifestyle shopping" ในแต่ละชั้นจะนำเสนอสินค้าประเภทเดียวหรือแนวคิดเดียว (One Floor One Concept) ซึ่งเป็นต้นแบบให้กับเอ็มโพเรียม และสยามพารากอน จากข้อมูลในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสยามดิสคัฟเวอรี · ดูเพิ่มเติม »

สยามเซ็นเตอร์

มเซ็นเตอร์ หรือ ศูนย์การค้าสยาม เป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่แบบพิเศษเฉพาะ (Specially Shopping Center) ซึ่งไม่มีร้านแบ่งตามแผนก (Department Store) ตั้งอยู่ริมถนนพระรามที่ 1 ดำเนินงานโดย บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด เปิดบริการเมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสยามเซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนลุมพินี

วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสวนลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล

ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (The Government Lottery Office) เป็นหน่วยงานหนึ่งของรัฐบาล จัดตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล · ดูเพิ่มเติม »

สถานีช่องนนทรี

นชลาสถานีช่องนนทรี สถานีช่องนนทรี เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับคร่อมคลองช่องนนทรี เหนือถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ในพื้นที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านธุรกิจถนนสาทรและสีลม เป็นจุดเชื่อมต่อกับรถโดยสารด่วนพิเศษ (Bangkok BRT) สายสาทร-ราชพฤกษ์ ที่สถานีสาทร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีช่องนนทรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีกรุงธนบุรี

นีกรุงธนบุรี (Krung Thon Buri Station รหัสสถานี S7) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสีลม ส่วนต่อขยายตากสิน-บางหว้า ช่วงที่ 1 (สะพานตากสิน-แยกตากสิน) ยกระดับเหนือถนนกรุงธนบุรี ใกล้ สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน และ ถนนเจริญนคร ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีกรุงธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานียศเส

นียศเส สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานียศเส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน

นีรถไฟชุมทางตลิ่งชันในอดีต สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ตั้งอยู่ที่ซอยฉิมพลี 12 ถนนฉิมพลี แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร อยู่ห่างจากสถานีรถไฟธนบุรีเป็นระยะทาง 5.21 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายใต้ อยู่ระหว่าง สถานีรถไฟธนบุรี/สถานีรถไฟบางบำหรุ และ สถานีรถไฟศาลาธรรมสพน์ ใช้สัญญาณแบบไฟสีสามท่า ประแจกลไฟฟ้า ชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยรีเลย์ และสัญญาณไฟสี ตัวย่อของสถานีคือ ต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟธนบุรี

ัญญาหางปลาที่สถานี ดูเพิ่มที่ สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม) สถานีรถไฟธนบุรี หรือเดิมเรียกว่า สถานีรถไฟบางกอกน้อย ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร บริเวณตลาดรถไฟ (แห่งใหม่) มีความสำคัญในฐานะเป็นสถานีต้นทางของรถไฟสายใต้ และสายตะวันตก สถานีรถไฟบางกอกน้อย เปิดเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2446 โดยมีสถานีต้นทางอยู่สถานีรถไฟบางกอกน้อย ปลายทางไปที่สถานีรถไฟเพชรบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีรถไฟธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวุฒากาศ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)

นีวุฒากาศ แผนผังสถานีวุฒากาศ สถานีวุฒากาศ (Wutthakat Station รหัสสถานี S11) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้าในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ส่วนต่อขยายแยกตากสิน-บางหว้า โดยสถานียกระดับเหนือ ถนนราชพฤกษ์ กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกราชพฤกษ์-วุฒากาศและจะเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางกับระบบ รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม ในอนาคต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีวุฒากาศ (รถไฟฟ้าบีทีเอส) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวงเวียนใหญ่

นีวงเวียนใหญ่ สามารถหมายความถึง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีวงเวียนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีศาลาแดง

นีศาลาแดง เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือถนนสีลม กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านธุรกิจถนนสีลม เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีสีลม ของรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ซึ่งในเวลาเร่งด่วนจะเป็นสถานีที่มีผู้โดยสารใช้งานเป็นอันดับ 2 รองจากสถานีสยามเลยทีเดียว เนื่องจากมีสำนักงานมากม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีศาลาแดง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสยาม

นีสยาม เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนเส้นทางระหว่างสายสุขุมวิทและสายสีลม ยกระดับเหนือ ถนนพระรามที่ 1 กรุงเทพมหานคร ใจกลางย่านการค้า สยามสแควร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสะพานตากสิน

นีสะพานตากสิน เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับระหว่างสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 2 สะพานที่ขนานกัน และคร่อมบริเวณปากคลองสาทร ช่วงริมแม่น้ำเจ้าพระยาถึงจุดตัดถนนเจริญกรุง เป็นสถานีรถไฟฟ้าแห่งเดียวในกรุงเทพมหานครที่เชื่อมต่อกับการสัญจรทางเรือในแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ท่าเรือสาทร (Central Pier) และยังเป็นที่ตั้งของศูนย์บริการนักท่องเที่ยวบีทีเอ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีสะพานตากสิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสุรศักดิ์

ั้นขายบัตรโดยสาร สถานีสุรศักดิ์ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือถนนสาทรเหนือและถนนสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีสุรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสีลม

นีสีลม (รหัส SIL) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกศาลาแดง มีทำเลอยู่ใจกลางเมืองในย่านธุรกิจถนนสีลม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีสีลม · ดูเพิ่มเติม »

สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ

ลักษณะภายนอกของสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทาง รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ยกระดับเหนือ ถนนพระรามที่ 1 กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้า สนามกีฬาแห่งชาต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีตลิ่งชัน

นีตลิ่งชัน สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและสถานีตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย การก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเริ่มขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 ในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเป็นผลงานการออกแบบของหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล อันเป็นแบบที่ชนะการประกวดการออกแบบอนุสาวรีย์แห่งนี้ การออกแบบได้นำสถาปัตยกรรมแบบไทยมาผสมผสาน ตรงกลางเป็นสมุดไทยที่สื่อถึงรัฐธรรมนูญประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า นอกจากการเป็นสัญลักษณ์เพื่อระลึกถึงประชาธิปไตยนั้น อนุสาวรีย์แห่งนี้ ยังเป็นหลักกิโลเมตรที่ศูนย์ของกรุงเทพมหานครและประเทศไทยอีกด้วย อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยได้ใช้เป็นพื้นที่สำคัญของการชุมนุมทางการเมืองหลายครั้ง อาทิ การชุมนุมของประชาชนและนักศึกษาใน เหตุการณ์ 14 ตุลา, การชุมนุมของประชาชนในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553, การชุมนุมคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ พ.ศ. 2556 เป็นต้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

จอดแล้วจร

จอดแล้วจร เป็นชื่ออาคาร ตั้งอยู่บนถนนรัชดาภิเษก ตัดกับถนนลาดพร้าว เป็นอาคารจอดรถเพื่อให้ประชาชนใช้รถไฟฟ้าใต้ดิน โดยคิดค่าจอดรถเป็นชั่วโมง เหมาะแก่ผู้เดินทางโดยรถไฟฟ้าใต้ดิน หมวดหมู่:อาคาร หมวดหมู่:รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและจอดแล้วจร · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบำรุงเมือง

นนบำรุงเมือง ช่วงผ่านเสาชิงช้า ถนนบำรุงเมือง (Thanon Bamrung Mueang) ตั้งต้นจากถนนอัษฎางค์ที่แยกสะพานช้างโรงสี ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนเฟื่องนครและถนนตะนาว และเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวัดราชบพิธกับแขวงศาลเจ้าพ่อเสือและแขวงเสาชิงช้าไปจนถึงเสาชิงช้า จากนั้นตัดกับถนนอุณากรรณเข้าสู่ท้องที่แขวงสำราญราษฎร์ ตัดกับถนนมหาไชย (แยกสำราญราษฎร์) ข้ามคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ตัดกับถนนบริพัตร (แยกเมรุปูน) ตัดกับถนนวรจักรและถนนจักรพรรดิพงษ์ (แยกแม้นศรี) เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงคลองมหานาคกับแขวงวัดเทพศิรินทร์ ผ่านสามแยกที่ตัดกับถนนยุคล 2 (แยกยุคล 2) และสามแยกที่ตัดกับถนนพลับพลาไชย (แยกอนามัย) ไปจนถึงถนนกรุงเกษม (แยกกษัตริย์ศึก) โดยมีถนนที่ต่อเนื่องไปคือถนนพระรามที่ 1 ถนนบำรุงเมืองเป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างตามแบบตะวันตก หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนเจริญกรุงซึ่งเป็นถนนสมัยใหม่ และเป็นที่นิยมใช้สัญจรไปมาของชาวไทยและชาวยุโรป ใน พ.ศ. 2406 รัฐบาลจึงปรับปรุงถนนเสาชิงช้าซึ่งเริ่มต้นจากสะพานช้างโรงสี และเป็นถนนเก่าแก่มีมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยทำเป็นถนนสมัยใหม่มีท่อระบายน้ำและไม่ปล่อยให้หญ้าขึ้นรกรุงรังเหมือนก่อน มีความยาว 29 เส้นเศษ จากนั้นได้พระราชทานนามว่า ถนนบำรุงเมือง ซึ่งเป็นนามที่มีความหมายเกี่ยวกับความเจริญก้าวหน้าของบ้านเมือง เพราะเมื่อแรกที่สร้างถนนบำรุงเมืองนั้นยังแคบอยู่และไม่ตรง และเมื่อสร้างเสร็จแล้วเจ้าของที่ดินริมถนนได้สร้างตึกแถว ห้องแถว และร้านค้า 2 ชั้น ถนนบำรุงเมืองเป็นถนนสายสำคัญที่มีคนสัญจรไปมามาก ซึ่งอาคารร้านค้าต่าง ๆ เหล่านี้ต่างก็ได้รับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมของอาคารในสิงคโปร์ คือ จีน-โปรตุเกส มีทางเดินด้านหน้าที่มีหลังคาคลุมถึงกันโดยตลอด คือ อาเขด ลักษณะพิเศษอีกประการหนึ่งของถนนบำรุงเมือง คือ ถนนช่วงตั้งแต่สี่กั๊กเสาชิงช้าจนถึงแยกเสาชิงช้า รวมถึงฝั่งถึงแยกสำราญราษฎร์ เป็นช่วงที่ไม่มีบาทวิถีอย่างถนนอื่น ๆ ทั่วไป เนื่องจากเจ้าของอาคารต่าง ๆ ที่อยู่ริมถนนรู้สึกว่าอาคารร้านค้าของตนนั้นคับแคบไปจึงได้มีการขยายพื้นที่ออกไปยังหน้าถนนและทำให้สามารถเดินทะลุถึงกันได้ตลอด ถนนบำรุงเมืองในช่วงนี้จึงไม่มีบาทวิถีเพราะไปอยู่ในตัวอาคาร แต่ภายหลังเจ้าของอาคารแต่ละหลังก็ได้ซ่อมแซมกลายเป็นปิดกั้นหมด ไม่สามารถเดินทะลุได้อย่างแต่ก่อน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและถนนบำรุงเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 1

นนพระรามที่ 1 ช่วงสยามสแควร์ ถนนพระรามที่ 1 (Thanon Rama I) เริ่มต้นจากถนนกรุงเกษม (สี่แยกกษัตริย์ศึก) ซึ่งต่อเนื่องมาจากถนนบำรุงเมือง บริเวณสะพานกษัตริย์ศึก (ข้ามคลองผดุงกรุงเกษม และทางรถไฟสายเหนือ) ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนรองเมือง (ทางแยกกลางสะพานกษัตริย์ศึก) ถนนพระรามที่ 6 และทางพิเศษศรีรัช (สี่แยกพงษ์พระราม) ข้ามคลองสวนหลวงและตัดกับถนนบรรทัดทอง (สี่แยกเจริญผล) ถนนพญาไท (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองอรชร (สะพานเฉลิมเผ่า 52) และตัดกับถนนอังรีดูนังต์ (สามแยกเฉลิมเผ่า) ไปสิ้นสุดที่แยกตัดถนนราชดำริ (สี่แยกราชประสงค์ ต่อเนื่องไปยังถนนเพลินจิต) อยู่ในพื้นที่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและถนนพระรามที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหลานหลวง

นนหลานหลวง (Thanon Lan Luang) ถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เป็นถนนที่มุ่งหน้าสู่ทิศตะวันออกเป็นเส้นตรง มีจุดเริ่มต้นที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ผ่านแยกผ่านฟ้าลีลาศ ผ่านถนนจักรพรรดิพงศ์ ที่แยกหลานหลวง จากนั้นตัดกับถนนพะเนียง และตัดกับถนนกรุงเกษมที่แยกสะพานขาว ข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่สะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์ จากนั้นตัดกับถนนลูกหลวงที่เชิงสะพาน ก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกยมราช จุดตัดกับถนนเพชรบุรีและถนนสวรรคโลก ที่เขตดุสิต รวมระยะทางทั้งสิ้น 1,550 เมตร เดิมมีชื่อเรียกว่า "ถนนสนามควาย" หรือ "ถนนสนามกระบือ" เนื่องจากเมื่อแรกสถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็นราชธานี พื้นที่บริเวณนี้ถือเป็นเขตนอกพระนคร ใช้เป็นที่สำหรับเลี้ยงควายหลวง เรียกกันในสมัยนั้นว่า "สนามควาย" ต่อมาจึงเรียกให้ไพเราะขึ้นว่า "สนามกระบือ" ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองผดุงกรุงเกษมขึ้นเป็นคูเมืองชั้นนอก เป็นเหตุให้มีการขยายอาณาเขตพระนครออกไป สนามกระบือจึงมีความเจริญขึ้น เกิดมีเส้นทางสัญจรระหว่างชุมชน จึงเกิดชื่อเรียกถนนเส้นนี้ขึ้นตามนั้น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ในราว..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและถนนหลานหลวง · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ซีคอนบางแค

ซีคอนบางแค (Seacon Bangkae) (เดิมคือ ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์คบางแค) เป็น ศูนย์การค้า ที่บริหารงานโดย บริษัท ซีคอนบางแค จำกัด ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า 40 ไร่ บน ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ และภายในปี พ.ศ. 2562 จะสามารถเดินทางมายังซีคอนบางแคได้ด้วย รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน สถานีภาษีเจริญ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและซีคอนบางแค · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แยกราชประสงค์

ี่แยกราชประสงค์ (Ratchaprasong Intersection) เป็นสี่แยกใจกลางกรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนเพลินจิตและถนนราชดำริ เป็นย่านศูนย์การค้าที่สำคัญซึ่งเป็นสถานที่ประดิษฐานศาลเทพเจ้าต่างๆทั้งสิ้น 6 ศาลจนบางคนถึงกับเรียกสี่แยกนี้ว่า "แยก 6 เทพ" ซึ่งเทพทั้งหกองค์นั้นเป็นเทพเจ้าในศาสนาฮินดูทั้งสิ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งท้าวมหาพรหมเอราวัณ จากคำขวัญของเขตปทุมวันที่ว่า "บูชาท้าวมหาพรหม ชื่นชมวังสมเด็จย่า ศูนย์การค้ามากมี ลุมพินีสวนสาธารณะ ศิลปะมวยไทย สถานีรถไฟหัวลำโพง เชื่อมโยงรถไฟฟ้า สถานศึกษาเลื่องชื่อ นามระบือจุฬาลงกรณ์" ล้วนแล้วแต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับแยกราชประสงค์นี้อย่างมาก รวมไปถึงการมีจุดเชื่อมโยงรถไฟฟ้าที่สถานีสยาม เพราะสี่แยกราชประสงค์ อยู่ในบริเวณของสามสถานี ตั้งแต่สถานีราชดำริ สถานีสยาม และสถานีชิดลม นอกจากนี้ สี่แยกราชประสงค์ ยังมีสำนักงานราชการที่สำคัญ ตั้งอยู่จำนวนมาก เช่น สำนักงานตำรวจแห่งชาติ การไฟฟ้านครหลวง ราชกรีฑาสโมสร และบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ ฯลฯ.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและแยกราชประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลหัวเฉียว

รงพยาบาลหัวเฉียว (华侨; พินอิน: Huáqiáo) เป็นโรงพยาบาลเอกชนทั่วไป ก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ตั้งอยู่ที่ 665 ถนนบำรุงเมือง แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการในปี..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและโรงพยาบาลหัวเฉียว · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

รงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นโรงพยาบาลสังกัดสภากาชาดไทย ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2457 ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่ตั้งและที่ดำเนินการเรียนการสอนให้กับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์แห่งที่สองของประเทศไทย นอกจากนี้คณาจารย์สังกัดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังปฏิบัติหน้าที่เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ด้ว.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โวลต์

วลต์ (สัญลักษณ์: V) คือหน่วยอนุพันธ์ในระบบเอสไอของความต่างศักย์ไฟฟ้า ปริมาณที่กำกับด้วยหน่วยโวลต์นั้นคือผลการวัดความเข้มของแหล่งจ่ายไฟฟ้าในแง่ที่ว่าจะสร้างพลังงานได้เท่าใดที่ระดับกระแสค่าหนึ่ง ๆ โวลต์ซึ่งเป็นชื่อของหน่วยนี้ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติให้แก่ อาเลสซันโดร วอลตา (พ.ศ. 2288 - 2370) ผู้คิดค้นแบตเตอรี่เคมีชนิดแรกที่เรียกว่าเซลล์โวลตาอิก (Voltaic Pile) โวลท์ (volt หรือ V) คือ หน่วยที่ใช้เรียกเพื่อบอกขนาดของแรงดันไฟฟ้าในบ้าน เช่น 220 V หมายถึง ขนาดของแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 220 โวลท์ (ประเทศไทยใช้ไฟระบบนี้) 1 โวลต์ (V).

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและโวลต์ · ดูเพิ่มเติม »

โครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน

รงการรถไฟฟ้าลาวาลิน (Lavalin Skytrain) เป็นโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้ายกระดับในกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการศึกษามาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำเนินการโดยบริษัท ลาวาลิน (SNC-Lavalin) จากประเทศแคนาดา ซึ่งชนะการประมูลเหนือคู่แข่ง คือ บริษัทร่วมค้า เอเชีย-ยูโร คอนซอร์เตียม (AEC) เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและโครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไฟฟ้ากระแสตรง

ัญลักษณ์แทนไฟฟ้ากระแสตรง พบได้บนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายชนิดที่ผลิตหรือต้องการไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสตรง (direct) แสดงเป็นเส้นตรงสีแดง แกนตั้งคือปริมาณกระแส (i) หรือความต่างศักย์ (v) และแกนนอนคือเวลา (t)pulsating — ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดเป็นจังหวะvariable — ไฟฟ้ากระแสแปรผันalternating — ไฟฟ้ากระแสสลับ ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดต่าง ๆ(บน) ชนิดสมบูรณ์(กลางและล่าง) ชนิดเป็นจังหวะเกิดจากการเรียงกระแส ไฟฟ้ากระแสตรง (direct current, อักษรย่อ: DC) เป็นไฟฟ้ากระแสที่มีทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าไปในทิศทางเดียวกันเป็นวงจร ในอดีตไฟฟ้ากระแสตรงเคยถูกเรียกว่า กระแสกัลวานิก (galvanic current) อุปกรณ์ที่สามารถผลิตไฟฟ้ากระแสตรงได้ เช่น เซลล์แสงอาทิตย์ แบตเตอรี่ ทั้งชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้และชนิดใช้แล้วทิ้ง และเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสตรงสามารถไหลผ่านตัวนำไฟฟ้า เช่น สายไฟ สารกึ่งตัวนำ ฉนวนไฟฟ้า หรือแม้กระทั่งเคลื่อนที่ในภาวะสุญญากาศในรูปของลำอิเล็กตรอนหรือลำไอออน เราสามารถใช้ตัวเรียงกระแส เปลี่ยนไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรงได้ โดยส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ภายในตัวเรียงกระแสจะบังคับให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ในทิศทางเดียว นอกจากนี้ยังสามารถเปลี่ยนไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับได้โดยใช้อินเวอร์เตอร์หรือชุดไดนามอเตอร์ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าประเภทที่หนึ่งคือ -แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ และโอห์มมิเตอร์ เป็นเครื่องวัดทางไฟฟ้า เพื่อใช้วัดปริมาณต่างๆ ทางไฟฟ้าเครื่องวัดทางไฟฟ้าต่างๆนี้สามารถสร้างขึ้นโดยดัดแปลงมาจาก แกลแวนอมิเตอร์ (Galvanometer) ชนิดขดลวดเคลื่อนที่ ซึ่งประกอบด้วยขดลวดวางระหว่างขั้วแม่เหล็กและประเภทที่สองคือ-แกลแวนอมิเตอร์ (Galvanometer) คือ เครื่องมือวัดพื้นฐานทางไฟฟ้าที่สามารถวัดได้ทั้งกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า แต่จะวัดได้ปริมาณน้อยๆ ดังนั้นจึงนิยมนำไปดัดแปลงใช้วัดกระแสไฟฟ้าความต่างศักย์ไฟฟ้าและความต้านทาน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและไฟฟ้ากระแสตรง · ดูเพิ่มเติม »

เมตร

มตร อักษรย่อ ม. (mètre → metre meter The Metric Conversion Act of 1975 gives the Secretary of Commerce of the US the responsibility of interpreting or modifying the SI for use in the US., m) เป็นหน่วยฐานเอสไอของความยาวในหน่วยเอสไอ แต่เดิมนิยามว่าหนึ่งเมตรเท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะทางจากเส้นศูนย์สูตรของโลกไปยังขั้วโลกเหนือวัดจากเส้นรอบวงที่ผ่านเมืองปารีส แต่เนื่องจากความแม่นยำทางมาตรวิทยา ที่มีมากขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ความยาวหนึ่งเมตรจึงถูกนิยามไว้ให้เท่ากับความยาวที่แสงเดินทางได้ในสุญญากาศ ในช่วงเวลา วินาที.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเมตร · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มบีเคเซ็นเตอร์

อ็มบีเค เซ็นเตอร์ (MBK Center) หรือชื่อเดิมว่า มาบุญครองเซ็นเตอร์ เป็นศูนย์การค้าขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ดำเนินงานโดยบริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน) ภายในอาคารขนาด 8 ชั้น ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ใช้สอยประมาณ 89,000 ตารางเมตร ซึ่งส่วนหนึ่งจัดเป็นพื้นที่เช่าค้าขาย จำนวนกว่า 2,500 ร้านค้า ศูนย์อาหารบนห้างมาบุญครองบนชั้นที่6 จัดว่าเป็นศูนย์อาหารต้นแบบที่ห้างอื่นๆตลอดจนโมเดิร์นเทรดยุคใหม่ยึดถือปฏิบัติตาม กล่าวคือลูกค้าต้องซื้อคูปองชนิดราคาต่างๆกับจนท.ของห้างในซุ้ม ก่อนที่จะนำคูปองนั้นไปแลกซื้ออาหารในศูนย์อีกครั้งหนึ่ง จนมีการพัฒนาเป็นการ์ดเติมเงินในปัจจุบัน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกน้อย

ตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา".

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางรัก

ตบางรัก เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตลุมพินี ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตบางรัก · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เขตภาษีเจริญ

ตภาษีเจริญ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพโดยทั่วไปมีลักษณะกึ่งชนบทกึ่งชุมชนเมือง แต่ในพื้นที่เนื่องจากมีการขยายตัวของระบบสาธารณูปโภค (โดยเฉพาะด้านการคมนาคม) จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนเกษตรเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เขตสาทร

ตสาทร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตสาทร · ดูเพิ่มเติม »

เขตจอมทอง

ตจอมทอง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตตากสิน ซึ่งถือเป็นแหล่งจ้างงานใหม่ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก และศูนย์ราชการทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตจอมทอง · ดูเพิ่มเติม »

เขตธนบุรี

ตธนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสาน

ตคลองสาน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตคลองสาน · ดูเพิ่มเติม »

เขตตลิ่งชัน

ตตลิ่งชัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่รอบนอกทางตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเรียกว่า "ฝั่งธนบุรี" ปัจจุบันจัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ สภาพโดยทั่วไปเป็นเขตอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย แต่ปัจจุบัน พื้นที่เกษตรกรรมกำลังลดลงไปมากจากการสร้างพื้นที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและการสร้างเส้นทางคมนาคม.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

มุมมองเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายจากพระบรมบรรพต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

เซ็นทรัลเวิลด์

ซ็นทรัลเวิลด์ เดิมชื่อ เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ เป็นโครงการศูนย์การค้า โรงแรม และอาคารสำนักงาน ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกราชประสงค์ ถนนราชดำริ ตัดกับถนนพระรามที่ 1 และถนนเพลินจิต เป็นศูนย์การค้าครบวงจรที่มีพื้นที่รวมใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในประเทศไทย รองจากศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต จังหวัดนนทบุรี และมีพื้นที่ขายมากเป็นอันดับสามของโลก นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ชั้น 1 มากเป็นอันดับสามของโลก รองจากท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ และหอคอยอบราจ อัล เบท ประเทศซาอุดีอาระเบี.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและเซ็นทรัลเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

12 มกราคม

วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและ12 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและ14 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและ31 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมและ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเขียวเข้มรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สายสีลม ส่วนต่อขยายแยกตากสิน-บางหว้าสถานียศเส (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สถานีวัดประดู่สถานีศิริราช (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สถานีผ่านฟ้าลีลาศ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สถานีบางหว้าสถานีบางหว้า (รถไฟฟ้าบีทีเอส)สถานีบางแวกสถานีตลาดพลูสถานีโพธิ์นิมิตร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »