เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ฟรานซ์ คาฟคา

ดัชนี ฟรานซ์ คาฟคา

ลายเซ็นของฟรานซ์ คาฟคา ฟรานซ์ คาฟคา (Franz Kafka) (3 กรกฎาคม ค.ศ. 1883 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1924) ฟรานซ์ คาฟคาเป็นนักเขียนชาวยิวคนสำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาฟคาถือกำเนิดมาในครอบครัวที่พูดภาษาเยอรมัน ผู้มีฐานะปานกลางในกรุงปรากใน ราชอาณาจักรโบฮีเมีย ที่ขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันสาธารณรัฐเช็ก) ผลงานเขียนอันเป็นเอกลักษณ์ของคาฟคาที่ส่วนใหญ่เป็นงานที่เขียนค้างไว้ และส่วนใหญ่ตีพิมพ์หลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วถือว่าเป็นงานที่มีอิทธิต่องานวรรณกรรมตะวันตกมากที่สุดContijoch, Francesc Miralles (2000) "Franz Kafka".

สารบัญ

  1. 71 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษชาลส์ บูเคาว์สกีชาลส์ ดิกคินส์ชาวยิวชาวเยอรมันฟรีดริช นีทเชอฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกีพ.ศ. 2426พ.ศ. 2467พระเจ้ากลายการนอนไม่หลับการเบียดเบียนกาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซกึนเทอร์ กรัสส์ภาษาฝรั่งเศสภาษายิดดิชภาษาฮีบรูภาษาเยอรมันมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมิลาน คุนเดอรายูทูบรางวัลออสการ์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมลัทธิมากซ์วลาดีมีร์ นาโบคอฟวัณโรคศาสนายูดาห์สงครามโลกครั้งที่สองออร์สัน เวลส์อัตถิภาวนิยมอาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์อาลแบร์ กามูว์อนาธิปไตยฮะรุกิ มุระกะมิจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีธรรมชาติบำบัดทะเลบอลติกคนุท ฮัมซุนค่ายกักกันค่ายกักกันเอาชวิทซ์ค่ายมรณะฆอร์เฆ ลุยส์ บอร์เฆสซัลมัน รัชดีซามูเอล เบ็คเค็ทท์ประเทศออสเตรียประเทศเชโกสโลวาเกียประเทศเช็กเกียประเทศเม็กซิโกปราก... ขยายดัชนี (21 มากกว่า) »

  2. นักเขียนประเภทสัจนิยมมหัศจรรย์
  3. ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยชาลส์

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ชาลส์ บูเคาว์สกี

ลส์ บูเคาว์สกี (Charles Bukowski หรือ Henry Charles Bukowski) (16 สิงหาคม ค.ศ. 1920 - (9 มีนาคม ค.ศ. 1994) ชาลส์ บูเคาว์สกีเป็นนักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้น กวี และนักเขียนคอลัมน์ชาวอเมริกันเชื้อสายเยอรมัน งานเขียนของบูเคาว์สกีเป็นงานที่ได้รับอิทธิพลทางภูมิศาสตร์และบรรยากาศโดยตรงจากลอสแอนเจลิสที่เป็นเมืองที่พำนัก และเน้นการเขียนเกี่ยวกับชีวิตของคนอเมริกันธรรมดาที่มีฐานะยากจน, การเขียน, แอลกอฮอล์, ความสัมพันธ์กับสตรี และความน่าเบื่อหน่ายของการทำงาน บูเคาว์สกีผลิตงานเขียนเป็นจำนวนมากที่รวมทั้งกวีนิพนธ์เป็นจำนวนพัน เรื่องสั้นอีกเป็นร้อยเรื่อง นวนิยายหกเรื่อง และมีงานที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งสิ้นกว่า 60 เล่ม ในปี ค.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและชาลส์ บูเคาว์สกี

ชาลส์ ดิกคินส์

ลส์ จอห์น ฮัฟแฟม ดิกคินส์ (Charles John Huffam Dickens; 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1812 – 9 มิถุนายน ค.ศ. 1870) นักประพันธ์ชาวอังกฤษ และมีนามปากกาว่า “โบซ” (Boz) เกิดที่เมืองแลนด์พอร์ท แฮมเชียร์ อังกฤษใต้ สหราชอาณาจักร เป็นบุตรเสมียนฝ่ายเงินเดือนกองทัพเรือ ในปี..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและชาลส์ ดิกคินส์

ชาวยิว

ว (ภาษาฮิบรู: יהודים) หรือที่เรียกว่า ชาวยิว (Jewish people) เป็นชนชาติและกลุ่มศาสนพันธุ์หนึ่ง ซึ่งมีเชื้อสายมาจากวงศ์วานอิสราเอลหรือชนเผ่าฮีบรูในแผ่นดินตะวันออกใกล้ยุคโบราณ ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูได้ระบุว่า ชาวยิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงเลือกสรรที่จะอุปถัมป์ค้ำชูไว้เหนือชาติอื่นๆ ด้วยความเชื่อว่ายิวเป็นชนชาติที่พระเจ้าทรงค้ำชูและมีศาสนายูดาห์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนี้เอง ทำให้แม้ชาวยิวจะกระจัดกระจายไปในหลายดินแดน แต่ก็ยังคงความเป็นกลุ่มก้อนและมีการสืบทอดความเป็นยิวจากรุ่นสู่รุ่นอย่างไม่มีเสื่อมถอย ปัจจุบันบุคคลเชื้อสายยิวทั่วทั้งโลกมีอยู่ราว 14.4 ถึง 17.5 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอลและสหรัฐอเมริก.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและชาวยิว

ชาวเยอรมัน

วเยอรมัน (die Deutschen) ชื่อ กลุ่มคนเผ่าพันธุ์ โปรโต-เจอรมานิก ซึ่งมีถิ่นกำเนิดบริเวณจัตแลนด์และบริเวณอเลมันเนียซึ่งก็คือประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน ซึ่งสมัยก่อนชนชาติพวกนี้ถูกเรียกว่าชาวติวตันและชาวก๊อธปัจจุบันมีประชากรโดยรวม160ล้านคน ชาวเยอรมันจัดว่าเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกันกับพวกชาวสแกนดิเนเวีย ชาวอังกฤษและชาวดัตช์ซึ่งจัดว่าเป็นพวกตระกูลเจอร์มานิก.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและชาวเยอรมัน

ฟรีดริช นีทเชอ

ฟรีดริช วิลเฮล์ม นีทเชอ (Friedrich Wilhelm Nietzsche) (15 ตุลาคม ค.ศ. 1844 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1900) เป็นนักนิรุกติศาสตร์และนักปรัชญาชาวเยอรมัน นิยมเขียนการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับเรื่องศาสนา คุณธรรม วัฒนธรรมร่วมสมัย ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ เป็นภาษาเยอรมันในแบบเฉพาะตัว เพื่อแสดงถึงคติพจน์ต่าง ๆ งานเขียนของนิชเชอที่โด่งดังคือ"Beyond Good And Evil" และ"คือพจนาซาราทุสตรา".

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและฟรีดริช นีทเชอ

ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี

ฟีโอดอร์ มิคาอิลโลวิช ดอสโตเยฟสกี (ภาษารัสเซีย Фёдор Миха́йлович Достое́вский) (11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1821 - 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1881) เป็นนักเขียนที่ถือกันว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนรัสเซียที่ยิ่งใหญ่ที่สุด งานของเขายังมีอิทธิพลอย่างลึกซึ้งต่อมาถึงนวนิยายในคริสต์ศตวรรษที่ 20 งานของเขามักจะมีตัวละครที่อาศัยอยู่อย่างแร้นแค้น มีความคิดที่แตกต่างและสุดโต่ง และมักจะแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจอย่างน่าประหลาดของจิตวิทยามนุษย์ และการวิเคราะห์อย่างฉลาดหลักแหลม ของสภาพการเมือง สังคม และจิตวิญญาณ ของประเทศรัสเซียในช่วงเวลาของเขา นวนิยายของเขาที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ พี่น้องคารามาซอฟ และ อาชญากรรมกับการลงทัณฑ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี

พ.ศ. 2426

ทธศักราช 2426 ตรงกั.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและพ.ศ. 2426

พ.ศ. 2467

ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและพ.ศ. 2467

พระเจ้า

ระเจ้า อาจหมายถึง; ศาสน.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและพระเจ้า

กลาย

กลาย (เยอรมัน: die Verwandlung) เป็นนวนิยายเยอรมันประพันธ์โดย ฟรานซ์ คาฟคา (เยอรมัน: Franz Kafka)ในปี ค.ศ. 1912 และ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปีค.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและกลาย

การนอนไม่หลับ

การนอนไม่หลับ (insomnia) เป็นความผิดปกติของการนอนหลับซึ่งไม่สามารถนอนหลับหรือนอนหลับได้ไม่นานเท่าที่ต้องการPunnoose Ann, Golub Robert, E Alison.(2012)"Insomnia", "JAMA".

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและการนอนไม่หลับ

การเบียดเบียน

ริสต์ศาสนิกชนสตรีถูกสังหารขณะที่จักรพรรดิเนโรชายพระเนตรมาดู การเบียดเบียน หรือ การบีฑา หรือ การประหัตประหาร (Persecution) เป็นการจงใจไล่ทำร้ายหรือไล่สังหารบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มชนอย่างเป็นระบบ ชนิดของ “การเบียดเบียน” ก็ได้แก่การเบียดเบียนศาสนา การเบียดเบียนชาติพันธุ์ และการเบียดเบียนทางการเมือง บางลักษณะที่กล่าวก็ซ้ำซ้อนกัน การเบียดเบียนศาสนาที่เป็นที่รู้จักกันดีก็ได้แก่การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนในจักรวรรดิโรมัน ที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 1 ในสมัยของจักรพรรดิเนโรมาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 4 โดยเฉพาะในรัชสมัยของจักรพรรดิไดโอคลีเชียน การเบียดเบียนในจักรวรรดิโรมันมาลดน้อยลงเมื่อจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 ทรงประกาศให้ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประจำชาติจักรวรรดิโรมัน แต่การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนก็มิได้หยุดยั้งลงและยังคงดำเนินต่อมาด้วยเหตุผลที่ต่าง ๆ ไปจากในช่วงศาสนาคริสต์ยุคแรก เช่นการเบียดเบียนที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสระหว่างโรมันคาทอลิกและอูเกอโนต์ซึ่งเป็นโปรแตสแตนต์ชาวฝรั่งเศส การเบียดเบียนบางครั้งก็อาจจะมาจากความเชื่องมงาย (superstition) เช่น การเบียดเบียนผู้มีภาวะผิวเผือก (Persecution of albinism) ทางตะวันออกของแอฟริกาเพราะความเชื่อที่ว่าคนเผือกเป็นผู้มีอำนาจเวทมนตร์พิเศษ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและการเบียดเบียน

กาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ

กาบริเอล โฮเซ เด ลา กองกอร์เดีย การ์ซิอา มาร์เกซ (Gabriel José de la Concordia García Márquez) หรือที่รู้จักกันในนาม กาบริเอล การ์ซิอา มาร์เกซ (6 มีนาคม ค.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและกาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ

กึนเทอร์ กรัสส์

กึนเทอร์ วิลเฮลม์ กรัสส์ (Günter Wilhelm Grass) (16 ตุลาคม พ.ศ. 2470 – 13 เมษายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียนและนักเขียนบทละครชาวเยอรมันคนสำคัญ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและกึนเทอร์ กรัสส์

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและภาษาฝรั่งเศส

ภาษายิดดิช

ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและภาษายิดดิช

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและภาษาฮีบรู

ภาษาเยอรมัน

ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและภาษาเยอรมัน

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มิลาน คุนเดอรา

มิลาน คุนเดอรา มิลาน คุนเดอรา (อังกฤษ Milan Kundera) เป็นนักเขียนชาวเช็ก เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1929 ปัจจุบันอาศัยอยู่ในประเทศฝรั่งเศส และกลายเป็นประชากรฝรั่งเศสโดยถูกกฎหมายตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและมิลาน คุนเดอรา

ยูทูบ

ูทูบ ตามสำเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำเนียงบริเตน (YouTube) เป็นเว็บไซต์เผยแพร่วิดีโอโดยมีสำนักงานอยู่ที่แซนบรูโน แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เว็ปไซต์ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาจากอดีตพนักงาน 3 คนในบริษัทเพย์แพล อันประกอบด้วยแชด เฮอร์ลีย์ สตีฟ เชน และยาวีด คาริม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 ในเดือนพฤศจิกายน 2549 ยูทูบถูกกูเกิลซื้อไปในราคา 1.65 พันล้านเหรียญสหรัฐ ยูทูบเป็นหนึ่งในบริษัทย่อยของกูเกิล เว็บไซต์ยังสามารถให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลด ดู หรือแบ่งปันวิดีโอได้.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและยูทูบ

รางวัลออสการ์

รางวัลออสการ์ อะแคเดมีอะวอร์ด ("รางวัลสถาบัน") หรืิอ ออสการ์ เป็นรางวัลทางภาพยนตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก จัดโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ (หรือ) เริ่มจัดครั้งแรกในปี..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและรางวัลออสการ์

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

ลัทธิมากซ์

ลัทธิมากซ์ (Marxism) หรือมักใช้ทับศัพท์ว่า มาร์กซิสต์ เป็นวิธีการวิเคราะห์สังคมและเศรษฐกิจซึ่งวิพากษ์ทุนนิยมผ่านกระบวนทัศน์การขูดรีด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นและความขัดแย้งทางสังคมโดยใช้การตีความพัฒนาการประวัติศาสตร์แบบวัสดุนิยม และทัศนะวิภาษวิธีการแปลงสังคม (social transformation) ถือกำเนิดจากนักปรัชญาชาวเยอรมันสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 คาร์ล มากซ์และฟรีดริช เองเงิลส์ ลัทธิมากซ์ใช้วิธีวิทยาที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ เพื่อวิเคราะห์และวิพากษ์การพัฒนาของทุนนิยมและบทบาทของการต่อสู้ระหว่างชนชั้นในการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจทั้งระบบ ตามทฤษฎีลัทธิมากซ์ ความขัดแย้งระหว่างชนชั้นเกิดในสังคมทุนนิยมอันเนือ่งจากความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ทางวัตถุของชนกรรมาชีพที่ถูกกดขี่ ชนกรรมาชีพคือผู้ใช้แรงงานเอาค่าจ้างที่ชนชั้นกระฎุมพีว่าจ้างเพื่อผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งชนชั้นกระฎุมพีนี้เป็นชนชั้นปกครองที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและเอาความมั่งคั่งมาจากการจัดสรรผลิตภัณฑ์ส่วนเกิน (กำไร) ที่ชนกรรมาชีพผลิตขึ้น การต่อสู้ระหว่างชนชั้นนี้ซึ่งมักแสดงออกมาเป็นการกบฏของกำลังการผลิตของสังคม (productive force) ต่อความสัมพันธ์การผลิต (relation of production) ของสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติระยะสั้นเมื่อชนชั้นกระฎุมพีประสบความลำบากในการจัดการความแปลกแยกของแรงงาน (alienation of labor) ที่ทวีความรุนแรงขึ้นของชนกรรมาชีพ แม้ว่ามีความสำนึกเรื่องชนชั้น (class consciousness) ระดับมากน้อย วิกฤตนี้ลงเอยด้วยการปฏิวัติของชนกรรมาชีพและการสถาปนาสังคมนิยมในที่สุด ซึ่งเป็นระบบทางสังคมและเศรษฐกิจที่ยึดสังคมเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต กระจายให้แต่ละคนตามการมีส่วนร่วมและการผลิตที่จัดระเบียบโดยตรงสำหรับการใช้ เมื่อกำลังการผลิตก้าวหน้าขึ้น มากซ์ตั้งสมมติฐานว่าสังคมนิยมสุดท้ายจะแปลงเป็นสังคมคอมมิวนิสต์ หมายถึง สังคมไร้ชนชั้น ไร้รัฐ และมีมนุษยธรรมที่ยึดกรรมสิทธิ์ร่วมและหลักการพื้นเดิม "จากแต่ละคนตามความสามารถ ให้แต่ละคนตามความต้องการ" (From each according to his ability, to each according to his needs) ลัทธิมากซ์พัฒนาเป็นหลายแขนงและสำนักคิด แม้ปัจจุบันไม่มีทฤษฎีลัทธิมากซ์หนึ่งเดียว สำนักลัทธิมากซ์ต่าง ๆ เน้นแง่มุมบางอย่างของลัทธิมากซ์คลาสสิกต่างกัน และปฏิเสธหรือดัดแปลงแง่มุมบางอย่าง หลายสำนักคิดมุ่งรวมมโนทัศน์ลัทธิมากซ์กับมโนทัศน์ที่มิใช่มากซ์ ซึ่งมักนำไปสู่บทสรุปที่ขัดแย้งกัน ทว่า สมัยหลังมีขบวนการสู่การรับรองวัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์และวัสดุนิยมวิภาษวิธียังเป็นแง่มุมหลักของสำนักคิดลัทธิมากซ์ทุกสำนัก ซึ่งทำให้มีความเห็นตรงกันระหว่างสำนักต่าง ๆ มากขึ้น.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและลัทธิมากซ์

วลาดีมีร์ นาโบคอฟ

วลาดีมีร์ นาโบคอฟ (Владимир Владимирович Набоков, Vladimir Vladimirovich Nabokov) (22 เมษายน ค.ศ. 1899 – 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1977) วลาดีมีร์ นาโบคอฟเป็นนักประพันธ์ชาวรัสเซีย เป็นนักเขียนนวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวรัสเซีย “โลลิตา” (ค.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและวลาดีมีร์ นาโบคอฟ

วัณโรค

วัณโรค (Tuberculosis) หรือ MTB หรือ TB (ย่อจาก tubercle bacillus) เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วยในหลายกรณี ที่เกิดจากไมโคแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ ตามปกติคือ Mycobacterium tuberculosis วัณโรคโดยปกติก่อให้เกิดอาการป่วยที่ปอด แต่ยังสามารถส่งผลกระทบต่อส่วนอื่นของร่างกายได้ วัณโรคแพร่ผ่านอากาศเมื่อผู้ที่มีการติดเชื้อ MTB มีฤทธิ์ไอ จาม หรือส่งผ่านน้ำลายผ่านอากาศ การติดเชื้อในมนุษย์ส่วนมากส่งผลให้เกิดไร้อาการโรค การติดเชื้อแฝง และราวหนึ่งในสิบของการติดเชื้อแฝงท้ายที่สุดพัฒนาไปเป็นโรคมีฤทธิ์ ซึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา ทำให้ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตมากกว่า 50% อาการตรงต้นแบบมีไอเรื้อรังร่วมกับเสมหะมีเลือดปน ไข้ เหงื่อออกกลางคืน และน้ำหนักลด การติดเชื้อในอวัยวะอื่นก่อให้เกิดอาการอีกมากมาย การวินิจฉัยต้องอาศัยรังสีวิทยา (โดยมากคือ การเอ็กซ์เรย์อก) การทดสอบโรคบนผิวหนัง การตรวจเลือด เช่นเดียวกับการตรวจโดยทางกล้องจุลทรรศน์และการเพาะเชื้อจุลชีววิทยาต่อของเหลวในร่างกาย การรักษานั้นยากและต้องอาศัยการปฏิชีวนะยาวหลายคอร์ส คาดกันว่าหนึ่งในสามของประชากรโลกติดเชื้อ M.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและวัณโรค

ศาสนายูดาห์

นายูดาห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 281 หรือศาสนายิว (Judaism; יהדות) คือวิถีชีวิต ปรัชญา และศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ตามความเชื่อของชาวยิวLewis (1984), pp.10, 20 มีต้นกำเนิดในคัมภีร์ฮีบรู (หรือคัมภีร์ทานัค) รวมถึงคัมภีร์ชั้นหลัง เช่น คัมภีร์ทาลมุด ศาสนิกชนยูดาห์ถือว่าวิถีนี้ เป็นพันธสัญญาระหว่างพระยาห์เวห์กับวงศ์วานอิสราเอล ศาสนายูดาห์แบบรับบีถือว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติที่เรียกว่าคัมภีร์โทราห์แก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ศาสนายูดาห์มีพระเจ้าสูงสุด คือ พระยาห์เวห์ โดยชาวยิวมีความเชื่อว่าพระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ให้กำเนิดศาสนายูดาห์เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และยังมีบุคคลสำคัญ เช่น อับราฮัม อิสอัค ยาโคบ ยูดาห์ ผู้เผยพระวจนะท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก ฯลฯ เป็นต้น ศาสนายูดาห์มีความเป็นมายาวนานกว่าสี่พันปี (นับจากสมัยอับราฮัม) จึงถือเป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน ในคัมภีร์ทานัคที่เขียนขึ้นในยุคหลัง เช่น หนังสือเอสเธอร์ เรียกชาวฮีบรูหรือวงศ์วานอิสราเอลว่าชาวยิว คัมภีร์ของศาสนายูดาห์ยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อกลุ่มศาสนาอับราฮัมยุคหลังด้วย คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาบาไฮ รวมทั้งมีอิทธิพลต่อจริยธรรมและระบบซีวิลลอว์ตะวันตกทั้งทางตรงและทางอ้อม ชาวยิวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนา ซึ่งหมายรวมทั้งที่เป็นชาวยิวโดยกำเนิดและและคนที่เข้ารีตยิว ในปี..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและศาสนายูดาห์

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและสงครามโลกครั้งที่สอง

ออร์สัน เวลส์

อร์จ ออร์สัน เวลส์ (George Orson Welles) (6 พฤษภาคม, ค.ศ. 1915 - 10 ตุลาคม, ค.ศ. 1985) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน เคยได้รับรางวัลอเคเดมีอวอร์ด,นักเขียนบท,ผู้กำกับละคร,โปรดิวซ์เซอร์ภาพยนตร์ และนักแสดงหนัง,ละครและวิท.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและออร์สัน เวลส์

อัตถิภาวนิยม

อัตถิภาวนิยม (existentialism) คือ แนวคิดทางปรัชญาที่พิจารณาว่าปัจเจก ตัวตน ประสบการณ์ของปัจเจกแต่ละคน และความพิเศษอันเป็นหนึ่งเดียวของสิ่งที่กล่าวมา เป็นสิ่งที่สำคัญและเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจกับธรรมชาติของการมีอยู่ของมนุษย์ ปรัชญาแนวนี้โดยทั่วไปจะแสดงให้เห็นถึงความเชื่อในอิสรภาพ และยอมรับในผลสืบเนื่องจากการกระทำของปัจเจก และยังเชื่อว่าปัจเจกจะต้องรับผิดชอบกับทางเลือกที่ได้เลือกไว้ด้วย นักคิดแนวอัตถิภาวนิยมนั้นให้ความสำคัญกับอัตวิสัย (subjectivity) และมองว่ามนุษย์นั้นเป็นสิ่งที่ดำเนินชีวิตอยู่ในโลกที่ไม่ได้มีอะไรพิเศษ และมักเต็มไปด้วยความไม่ชัดเจน.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและอัตถิภาวนิยม

อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์

อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์ (Arthur Schopenhauer) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมันที่เป็นที่รู้จักกันดีในความแจ่มแจ้งทางปรัชญาและทุทรรศนนิยมของความไม่มีพระเจ้า เมื่ออายุ 25 ปีโชเพนเฮาเออร์พิมพ์ปริญญานิพนธ์ “มูลบัญญัติสี่ประการของเหตุผล” (Über die vierfache Wurzel des Satzes vom zureichenden Grunde) ที่เป็นปรัชญาที่พิจารณาคำถามที่ว่าเหตุผลเพียงอย่างเดียวจะสามารถให้คำตอบเกี่ยวกับโลกได้หรือไม่ งานชิ้นที่มีอิทธิพลที่สุดของโชเพนเฮาเออร์ “Die Welt als Wille und Vorstellung” (The World as Will and Representation) เน้นบทบาทของแรงบันดาลใจ (motivation) ของมนุษย์ที่โชเพนเฮาเออร์เรียกว่า “เจตจำนง” (Will) การวิจัยของโชเพนเฮาเออร์นำไปสู่การสรุปว่าความต้องการทางอารมณ์, ทางร่างกาย และทางเพศ เป็นสิ่งที่ไม่อาจจะตอบสนองได้อย่างเต็มที่ ฉะนั้นโชเพนเฮาเออร์จึงนิยมวิถีชีวิตที่ลดความต้องการของมนุษย์ ที่คล้ายคลึงกับปรัชญาของศาสนาพุทธและเวทานต.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและอาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์

อาลแบร์ กามูว์

อัลแบร์ กามู อัลแบร์ กามู (Albert Camus; 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 – 4 มกราคม ค.ศ. 1960) เป็นนักเขียนและนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส ได้รับรางวัลโนเบลจากนวนิยายเรื่องคนนอกในปี..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและอาลแบร์ กามูว์

อนาธิปไตย

อนาธิปไตย (anarchism) โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นปรัชญาการเมืองซึ่งถือว่ารัฐนั้นเป็นสิ่งไม่พึงปรารถนา ไม่จำเป็นและให้โทษ หรืออีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการคัดค้านผู้มีอำนาจและองค์การมีลำดับชั้นบังคับบัญชาในการชี้นำความสัมพันธ์ของมนุษย์ ผู้เสนออนาธิปไตย หรือรู้จักกันว่า "ผู้นิยมลัทธิอนาธิปไตย" (anarchist) สนับสนุนสังคมที่ปราศจากรัฐโดยตั้งอยู่บนการรวมกลุ่มอย่างสมัครใจที่ไม่มีลำดับชั้น เสรีภาพของปัจเจกชนและการต่อต้านรัฐ คือหลักการที่ชัดเจนของลัทธิอนาธิปไตย สำหรับในเรื่องอื่น ๆ นั้นอาจมีความเห็นที่แตกต่างกันบ้างในหมู่ผู้ที่นิยมแนวคิดนี้ เช่น การใช้ความรุนแรงในการเปลี่ยนแปลงสังคม ชนิดของระบอบเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีและลำดับชั้น การตีความหมายของแนวคิดเกี่ยวกับความสมภาค (egalitarian) และระดับของการจัดองค์กร คำว่า "อนาธิปไตย" ในความหมายที่นักอนาธิปไตยใช้นั้น มิได้หมายถึงภาวะยุ่งเหยิงหรืออโนมี แต่เป็นรูปแบบของความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่เสมอภาค ที่ถูกจัดตั้งขึ้นและรักษาอย่างจงใจ หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและอนาธิปไตย

ฮะรุกิ มุระกะมิ

รุกิ มุระกะมิ เป็นนักเขียนและนักแปลร่วมสมัยชาวญี่ปุ่น ที่มีชื่อเสียงในระดับโลก ผลงานของเขาถูกนำไปแปลแล้วกว่า 30 ภาษ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและฮะรุกิ มุระกะมิ

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ธรรมชาติบำบัด

รรมชาติบำบัด (Naturopathy หรือ naturopathic medicine หรือ natural medicine) คือการดูแลสุขภาพด้วยวิธีทางธรรมชาติ ในหลายแบบไม่ว่า ดีท็อกซ์ อโรมาเธอราปี โยคะ สมุนไพร สปา การนวด การฝังเข็ม ชี่กง สมาธิ หรือการทานอาหารตามแนวทางธรรมชาติ ธรรมชาติบำบัดเป็นวิธีต่างๆ ของการแพทย์ทางเลือก (Alternative medicine) ที่เน้นการบำบัดรักษาโดยวิธีที่เป็นธรรมชาติและโดยความเชื่อที่ว่าร่างกายมีความสามารถในการบำบัดรักษาตนเอง ปรัชญาของธรรมชาติบำบัดนิยมใช้การรักษาโดยวิธี Holistic health และการลดการใช้ศัลยกรรมและยาในการรักษา ธรรมชาติบำบัดใช้วิธีการรักษาหลายวิธีที่เป็นที่ยอมรับในระดับต่างๆ ในวงการแพทย์ที่รวมทั้งการกินอาหาร (diet), การดำรงชีวิต และ การฝังเข็มที่อาจจะช่วยลดความเจ็บปวดได้ในบางกรณี.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและธรรมชาติบำบัด

ทะเลบอลติก

ทะเลบอลติก (Baltic Sea) ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปเหนือ ห้อมล้อมด้วยคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย แผ่นดินใหญ่ของภูมิภาคยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปตะวันออก ภูมิภาคยุโรปกลาง และหมู่เกาะของประเทศเดนมาร์ก ทะเลนี้เชื่อมเข้าสู่ช่องแคบแคตทีแกต (Kattegat) ผ่านทางช่องแคบเออเรซุนด์ (Öresund) ช่องแคบเกรตเบลต์ (Great Belt) และช่องแคบลิตเทิลเบลต์ (Little Belt) ซึ่งหากผ่านช่องแคบแคทีแกตต่อไปก็จะพบช่องแคบสแกเกอร์แรก (Skagerrak) ที่จะเข้าสู่ทะเลเหนือและมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลบอลติกยังเชื่อมต่อกับทะเลขาวด้วยคลองไวต์ซี (White Sea) และเชื่อมต่อกับทะเลเหนือโดยผ่านทางคลองคีล (Kiel).

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและทะเลบอลติก

คนุท ฮัมซุน

นุท ฮัมซุน (Knut Hamsun; 4 สิงหาคม ค.ศ. 1859 – 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นนักเขียนชาวนอร์เวย์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและคนุท ฮัมซุน

ค่ายกักกัน

กักกัน (Concentration Camp) คือสถานที่ที่รัฐใช้คุมขังนักโทษหรือกักกันบุคคลเฉพาะกลุ่มด้วยเหตุผลทางการเมือง นักโทษทางการเมือง ชนกลุ่มน้อย บุคคลที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลหรือพลเมืองเชื้อชาติใดเชื้อชาติหนึ่ง นักโทษเหล่านี้จะถูกจับโดยไม่มีการสอบสวนตามกระบวนยุติธรรม และไม่มีกำหนดเวลาปล่อยตัว ทั้งยังถูกจำกัดสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยชนด้วย ในแง่ประวัติศาสตร์ ค่ายกักกันที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ ค่ายกักกันของพรรคนาซีในเยอรมันและค่ายกักกันแรงงานในสหภาพโซเวียต ค่ายกักกันมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเกิดสงครามบัวร์ในแอฟริกาใต้ โดยทั่วไปค่ายกักกันจะประกอบด้วยโรงทหารกระท่อมหรือกระโจมที่พักและบริเวณรอบ ๆ ค่ายจะมีป้อมยามและลวดหนามล้อมรอบ ผู้คุมค่ายและยามรักษาการณ์มีอำนาจเหนือชีวิตนักโทษและจะปกครองอย่างเข้มงวด ค่ายกักกันที่สำคัญ ๆ ได้แก.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและค่ายกักกัน

ค่ายกักกันเอาชวิทซ์

ทางเข้าค่ายกักกันเอาชวิทซ์ ค่ายกักกันเอาชวิทซ์ หรือ ค่ายกักกันเอาชวิทซ์-เบียร์เคเนา (Auschwitz concentration camp หรือ Auschwitz-Birkenau) เป็นค่ายกักกันและค่ายมรณะที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาค่ายกักกันของนาซีของนาซีเยอรมนีที่ทำการระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ชื่อของค่ายกักกันมาจากชื่อของเมือง "ออชเฟียนชิม" (Oświęcim) หลังจากการบุกครองโปแลนด์ ในเดือนกันยายน..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและค่ายกักกันเอาชวิทซ์

ค่ายมรณะ

มรณะ (Extermination camp หรือ Death camp) สร้างโดยนาซีเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อเป็นสถานที่สำหรับสังหารผู้คนเป็นจำนวนล้าน (โดยเฉพาะชาวยิว) อย่างมีระบบ การพันธุฆาตชาวยิวเป็น “วิธีแก้ปัญหาสุดท้ายของปัญหาชาวยิว” (Die Endlösung der Judenfrage) ของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ความพยายามของนาซีในการกำจัดชาวยิวทั้งหมดมาเรียกรวมกันว่า “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์” หรือ “The Holocaust”.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและค่ายมรณะ

ฆอร์เฆ ลุยส์ บอร์เฆส

ฆอร์เฆ ฟรันซิสโก อิซิโดโร ลุยส์ บอร์เฆส (Jorge Francisco Isidoro Luis Borges; 24 สิงหาคม 1899 – 14 มิถุนายน 1986), หรือที่รู้จักกันในนาม ฆอร์เฆ ลุยส์ บอร์เฆส เป็นนักเขียนเรื่องสั้น กวี และนักแปลชาวอาร์เจนตินา เกิดที่กรุงบัวโนสไอเรส ผลงานที่โดดเด่นของเขาคือ Ficciones (1944) และ Aleph (1949) เป็นการรวบรวมเรื่องสั้นที่เชื่อมต่อด้วยแก่นเรื่องทั่วไป เช่น ความฝัน เขาวงกต ห้องสมุด กระจก นักเขียนบันเทิงคดี ปรัชญา และศาสนา ผลงานของเขามีส่วนเกี่ยวข้องกับวรรณกรรมปรัชญาและบางส่วนก็มีจินตนาการและพลังวิเศษ ซึ่งนำไปสู่การเขียนบันเทิงคดีแนวสัจนิยมมหัศจรรย์ หมวดหมู่:กวีชาวอาร์เจนตินา หมวดหมู่:บุคคลจากบัวโนสไอเรส.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและฆอร์เฆ ลุยส์ บอร์เฆส

ซัลมัน รัชดี

ซัลแมน รัชดี เซอร์ อาเหม็ด ซัลแมน รัชดี (Ahmed Salman Rushdie) (19 มิถุนายน พ.ศ. 2490 -) นักเขียนลูกครึ่งอินเดีย-อังกฤษ เกิดที่เมืองบอมเบย์ ผู้เคยได้รับรางวัลแมนบุคเคอร์ จากผลงานเขียนชิ้นที่สอง เมื่อ..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและซัลมัน รัชดี

ซามูเอล เบ็คเค็ทท์

ซามูเอล เบ็คเค็ทท์ (Samuel Beckett) (13 เมษายน ค.ศ. 1906 - 22 ธันวาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนเรื่องสั้น, นักเขียนบทละคร, นักเขียนบทความ และ กวีคนสำคัญชาวไอริช งานของเบ็คเค็ทท์ที่แสดงภาพพจน์อันมืดมนของวัฒนธรรมของมนุษย์ทั้งอย่างเป็นทางการและในทางปรัชญาค่อยกลายมาที่มีลักษณะเป็นงานจุลนิยม (minimalism) มากขึ้นต่อมา ขณะที่เป็นลูกศิษย์ ผู้ช่วย และเพื่อนของเจมส์ จอยซ์ เบ็คเค็ทท์ถือว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนแบบสมัยใหม่นิยมคนสุดท้ายผู้เป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักเขียนหลายคนต่อมา และบางครั้งก็ถือว่าเป็นนักเขียนคนแรกของสมัยใหม่นิยมสมัยหลัง (Postmodernism) นอกจากก็ยังถือกันว่าเบ็คเค็ทท์เป็นนักเขียนคนสำคัญคนหนึ่งของลักษณะการเขียนที่มาร์ติน เอสส์ลิน (Martin Esslin) เรียกว่า "ละครแปลกวิสัย" (Theatre of the Absurd) ซึ่งทำให้เบ็คเค็ทท์กลายเป็นนักเขียนผู้มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เบ็คเค็ทท์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและซามูเอล เบ็คเค็ทท์

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและประเทศออสเตรีย

ประเทศเชโกสโลวาเกีย

right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและประเทศเชโกสโลวาเกีย

ประเทศเช็กเกีย

็กเกีย (Czechia; Česko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic; Česká republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ในภูมิภาคยุโรปกลาง พรมแดนทางตอนเหนือจรดประเทศโปแลนด์ ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือจรดเยอรมนี ทางใต้จรดออสเตรีย และทางตะวันออกจรดสโลวาเกีย เช็กเกียประกอบด้วยภูมิภาคที่เก่าแก่สองส่วน คือ โบฮีเมียและมอเรเวีย และส่วนหนึ่งของภูมิภาคที่สาม เรียกว่า ไซลีเซีย ประเทศนี้ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและประเทศเช็กเกีย

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและประเทศเม็กซิโก

ปราก

รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและปราก

นวยุคนิยม

ก้าอี้วาสซิลี (Wassily) ผลงานของมาร์แซล บรอยเยอร์ นวยุคนิยม, นวนิยม, ทันสมัยนิยม หรือ สมัยใหม่นิยม (modernism) อธิบายชุดของขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม ซึ่งมีรากฐานมาจากการเปลี่ยนแปลงในสังคมตะวันตก ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำดังกล่าวครอบคลุมชุดต่อเนื่องของขบวนการปฏิรูปในศิลปะ, สถาปัตยกรรม, ดนตรี, วรรณกรรม, และศิลปะประยุกต์ซึ่งอุบัติขึ้นในระหว่างช่วงนี้.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและนวยุคนิยม

นวนิยาย

นวนิยาย เป็นรูปแบบหนึ่งของวรรณกรรมลายลักษณ์ แต่งในรูปของร้อยแก้ว มีลักษณะแตกต่างจากเรื่องแต่งงงแบบเดิม ที่เรียกว่า นิยาย หรือนิทาน ที่เรียกว่า "นวนิยาย" ก็เพราะถือเป็นนิยายแบบใหม่ (novel) ตามแบบตะวันตก นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาพูดโดยทั่วไปนิยมเรียกว่า "นิยาย" ซึ่งกะทัดรัดกว่า โดยคำว่า "นิยาย" เป็นคำมาจากภาษาเขมรที่ออกเสียงว่า "นิเยย" (និយាយ) หมายถึง "พูด" นวนิยายนั้น เป็นเรื่องราวที่มีลักษณะสมจริงมากกว่านิทานหรือนิยายแบบเดิม บางครั้งอาศัยฉากหรือเหตุการณ์จริง หรืออิงความเป็นจริง มีบทสนทนา และบรรยายเหตุการณ์อย่างปุถุชนทั่วไป.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและนวนิยาย

นักเขียน

นักเขียน คือผู้ที่สร้างงานเขียน อย่างไรก็ตามคำนี้มักใช้เฉพาะกับผู้ที่เขียนงานสร้างสรรค์หรือเป็นอาชีพ หรือผู้ที่ได้สร้างงานเขียนในลักษณะอื่น ๆ นักเขียนที่มีความชำนาญจะแสดงความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อที่จะนำเสนอแนวคิดและภาพพจน์ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนบันเทิงคดีหรือสารคดี นักเขียนอาจสร้างผลงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บทกวี ร้อยกรอง ร้อยแก้ว เรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร สารคดี นักเขียนที่ทำงานเฉพาะมักได้รับการเรียกแตกต่างกัน เช่น กวี นักเขียนเรื่องสั้น นักเขียนนวนิยาย นักเขียนบทละคร นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนสารคดี นักเขียนอื่น ๆ เป็นต้น.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและนักเขียน

แฟรงก์ คาปรา

แฟรงก์ คาปรา (Frank capra) (18 พฤษภาคม, ค.ศ. 1897 - 3 กันยายน, ค.ศ. 1991) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์อิตาเลียน-อเมริกันที่เคยได้รับรางวัสออสการ์ และมีบทบาทสำคัญในการวงการหนังของฮอลลีวู๊ดในยุค 1930 และ 1940 ของอเมริกา อย่างเช่นเรื่อง It's a Wonderful Life และ Mr.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและแฟรงก์ คาปรา

แฮโรลด์ พินเทอร์

แฮโรลด์ พินเทอร์ (Harold Pinter) (10 ตุลาคม ค.ศ. 1930 - 24 ธันวาคม ค.ศ. 2008) แฮโรลด์ พินเทอร์เป็นนักเขียน กวี นักเขียนบทละคร นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้กำกับ นักแสดง ผู้มีบทบาททางการเมืองคนสำคัญชาวอังกฤษของคริสต์ศตวรรษที่ 20 พินเทอร์เป็นนักเขียนบทละครผู้มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งของสมัยใหม่ ที่เป็นผลทำให้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและแฮโรลด์ พินเทอร์

โบฮีเมีย

ีเมีย (Čechy; Bohemia; Czechy) เป็นดินแดนในประวัติศาสตร์ของยุโรปกลาง กินเนื้อที่สองในสามทางตะวันตกของดินแดนเช็ก ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเช็กเกีย ในความหมายที่กว้างกว่านั้น ในบางครั้งยังใช้เรียกเขตแดนเช็กทั้งหมด รวมถึงมอเรเวียและเช็กไซลิเซีย โดยเฉพาะในบริบททางประวัติศาสตร์ เช่น ราชอาณาจักรโบฮีเมี.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและโบฮีเมีย

โกเลม

200px ในคติชาวบ้านยิว โกเลม (golem) เป็นสัตว์รูปอย่างมนุษย์ซึ่งประกอบขึ้นจากวัตถุไม่มีชีวิตแล้วเสกเป่าให้มีชีวิต (พยนต์) ทั้งนี้ ครั้งหนึ่ง คำ "โกเลม" ที่ใช้ในเพลงสวดสดุดีและลายลักษณ์อักษรสมัยมัชฌิมยุค เคยหมายถึง วัตถุใดอันหารูปพรรณสัณฐานมิได้ โกเลมจะเชื่อฟังคำสั่งของเจ้านาย ตามความเชื่อ ถ้าเราอยากจะให้โกเลมมีชีวิต เราจะต้องหาคนที่สร้างโกเลมเป็น แล้วเขียนคำว่า emeth ที่แปลว่า ศักดิ์สิทธิ์ ลงไปในปากของมัน page 296.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและโกเลม

โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ

โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ (Johann Wolfgang von Goethe, 28 สิงหาคม พ.ศ. 2292 — 22 มีนาคม พ.ศ. 2375) เป็นผู้รู้รอบด้านชาวเยอรมัน เขาเป็นทั้งนักเขียนนิยาย นักเขียนบทละคร นักสิทธิมนุษยชน นักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา รวมถึงดำรงตำแหน่งสมาชิกคณะบริหารของไวมาร์ในประเทศเยอรมนีอยู่ 10 ปี เกอเทอเป็นเหมือนสัญลักษณ์ของวรรณคดีเยอรมัน คลาสสิกใหม่ของยุโรปและโรมัน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เกอเทอและงานของเขาได้ส่งผลไปทั่วยุโรปและได้สร้างแรงบันดาลใจกับงานต่อ ๆ มาทางด้าน ดนตรี การละคร และกวี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและโยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ

โรคซึมเศร้า

รคซึมเศร้า (major depressive disorder ตัวย่อ MDD) เป็นความผิดปกติทางจิตซึ่งทำให้ผู้ป่วยเกิดอารมณ์ซึมเศร้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์ในแทบทุกสถานการณ์ มักเกิดร่วมกับการขาดความภูมิใจแห่งตน การเสียความสนใจในกิจกรรมที่ปกติทำให้เพลิดเพลินใจ อาการไร้เรี่ยวแรง และอาการปวดซึ่งไม่มีสาเหตุชัดเจน ผู้ป่วยอาจมีอาการหลงผิดหรือมีอาการประสาทหลอน ผู้ป่วยบางรายมีช่วงเวลาที่มีอารมณ์ซึมเศร้าห่างกันเป็นปี ๆ ส่วนบางรายอาจมีอาการตลอดเวลา โรคซึมเศร้าสามารถส่งผลกระทบในแง่ลบให้แก่ผู้ป่วยในหลาย ๆ เรื่อง เช่น ชีวิตส่วนตัว ชีวิตในที่ทำงานหรือโรงเรียน ตลอดจนการหลับ อุปนิสัยการกิน และสุขภาพโดยทั่วไป ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าผู้ใหญ่ประมาณ 2–7% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย และประมาณ 60% ของผู้ฆ่าตัวตายกลุ่มนี้มีโรคซึมเศร้าร่วมกับความผิดปกติทางอารมณ์ชนิดอื่น คำว่า ความซึมเศร้า สามารถใช้ได้หลายทาง คือ มักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มอาการนี้ แต่อาจหมายถึงความผิดปกติทางจิตอื่นหรือหมายถึงเพียงภาวะซึมเศร้าก็ได้ โรคซึมเศร้าเป็นภาวะทำให้พิการ (disabling) ซึ่งมีผลเสียต่อครอบครัว งานหรือชีวิตโรงเรียน นิสัยการหลับและกิน และสุขภาพโดยรวมของบุคคล ในสหรัฐอเมริกา ราว 3.4% ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าฆ่าตัวตาย และมากถึง 60% ของผู้ที่ฆ่าตัวตายนั้นมีภาวะซึมเศร้าหรือความผิดปกติทางอารมณ์อย่างอื่น ในประเทศไทย โรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติทางจิตที่พบมากที่สุด (3.7% ที่เข้าถึงบริการ) เป็นโรคที่สร้างภาระโรค (DALY) สูงสุด 10 อันดับแรกโดยเป็นอันดับ 1 ในหญิง และอันดับ 4 ในชาย การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าอาศัยประสบการณ์ที่รายงานของบุคคลและการทดสอบสภาพจิต ไม่มีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคซึมเศร้า ทว่า แพทย์อาจส่งตรวจเพื่อแยกภาวะทางกายซึ่งสามารถก่อให้เกิดอาการคล้ายกันออก ควรแยกโรคซึมเศร้าจากความเศร้าซึ่งเป็นธรรมดาของชีวิตและไม่รุนแรงเท่า มีการตั้งชื่อ อธิบาย และจัดกลุ่มอาการซึมเศร้าว่าเป็นความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) ในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตปี 2523 ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน คณะทำงานบริการป้องกันสหรัฐ (USPSTF) แนะนำให้คัดกรองโรคซึมเศร้าในบุคคลอายุมากกว่า 12 ปี แต่บทปฏิทัศน์คอเครนก่อนหน้านี้ไม่พบหลักฐานเพียงพอสำหรับการคัดกรองโรค โดยทั่วไป โรคซึมเศร้ารักษาได้ด้วยจิตบำบัดและยาแก้ซึมเศร้า ดูเหมือนยาจะมีประสิทธิภาพ แต่ฤทธิ์อาจสำคัญเฉพาะในผู้ที่ซึมเศร้ารุนแรงมาก ๆ เท่านั้น ไม่ชัดเจนว่ายาส่งผลต่อความเสี่ยงการฆ่าตัวตายหรือไม่ ชนิดของจิตบำบัดที่ใช้มีการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavioral therapy) และการบำบัดระหว่างบุคคล หากมาตรการอื่นไม่เป็นผล อาจทดลองให้การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า (ECT) อาจจำเป็นต้องให้ผู้ป่วยที่มีควมเสี่ยงทำร้ายตนเองเข้าโรงพยาบาลแม้บางทีอาจขัดต่อความประสงค์ของบุคคล ความเข้าใจถึงธรรมชาติและสาเหตุของความซึมเศร้าได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ แม้ว่าจะยังไม่สมบูรณ์และยังมีประเด็นมากมายที่ยังต้องวิจัย เหตุที่เสนอรวมทั้งเป็นปัญหาทางจิต ทางจิต-สังคม ทางกรรมพันธุ์ ทางวิวัฒนาการ และปัจจัยอื่น ๆ ทางชีวภาพ การใช้สารเสพติดเป็นเวลานานอาจเป็นเหตุหรือทำอาการเศร้าซึมให้แย่ลง การบำบัดทางจิตอาศัยทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับบุคลิกภาพ การสื่อสารระหว่างบุคคล และการเรียนรู้ ทฤษฎีทางชีววิทยามักจะพุ่งความสนใจไปที่สารสื่อประสาทแบบโมโนอะมีน คือ เซโรโทนิน นอร์เอพิเนฟริน และโดพามีน ซึ่งมีอยู่ตามธรรมชาติในสมองและช่วยการสื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและโรคซึมเศร้า

โรคไมเกรน

รคไมเกรนหรือโรคปวดหัวข้างเดียว (migraine) เป็นความผิดปกติทางประสาทเรื้อรังอย่างหนึ่ง ลักษณะเด่นคือปวดศีรษะปานกลางถึงรุนแรงเป็นซ้ำ มักสัมพันธ์กับอาการทางระบบประสาทอิสระจำนวนหนึ่ง ตรงแบบ อาการปวดศีรษะมีผลต่อศีรษะครึ่งซีก มีสภาพปวดตามจังหวะ (หัวใจเต้น) และกินเวลาตั้งแต่ 2 ถึง 72 ชั่วโมง อาการที่สัมพันธ์อาจมีคลื่นไส้ อาเจียน และไวต่อแสง เสียงหรือกลิ่น โดยทั่วไปความเจ็บปวดรุนแรงขึ้นจากกิจกรรมทางกาย ผู้ป่วยไมเกรนถึงหนึ่งในสามมีสัญญาณบอกเหตุ (aura) คือ การรบกวนภาพ การรับความรู้สึก ภาษาหรือการสั่งการร่างกายซึ่งบ่งบอกว่าจะเกิดปวดศีรษะในไม่ช้า บางครั้งสัญญาณบอกเหตุเกิดได้โดยมีการปวดศีรษะตามมาน้อยหรือไม่ปวดเลย เชื่อว่า ไมเกรนมีสาเหตุจากปัจจัยสิ่งแวดล้อมและพันธุกรรมผสมกัน ผู้ป่วยประมาณสองในสามเป็นในครอบครัว การเปลี่ยนระดับฮอร์โมนผสมกัน เพราะไมเกรนมีผลต่อเด็กชายมากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อยก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ แต่ในผู้ใหญ่ หญิงเป็นมากกว่าชายประมาณสองถึงสามเท่า ความเสี่ยงของไมเกรนปกติลดลงระหว่างการตั้งครรภ์ ยังไม่ทราบกลไกที่แน่ชัดของไมเกรน แต่เชื่อว่าเป็นความผิดปกติของประสาทควบคุมหลอดเลือด ทฤษฎีหลักสัมพันธ์กับการเร้าได้ (excitability) ที่เพิ่มขึ้นของเปลือกสมองและการควบคุมผิดปกติของเซลล์ประสาทรับความเจ็บปวดในนิวเคลียสของประสาทไทรเจมินัลในก้านสมอง เริ่มต้น การรักษาแนะนำ คือ ยาระงับปวดธรรมดา เช่น ไอบูโปรเฟนและพาราเซตามอล (หรืออะเซตามิโนเฟน) สำหรับปวดศีรษะ ยาแก้อาเจียนสำหรับคลื่นไส้ และการเลี่ยงตัวกระตุ้น อาจใช้สารเฉพาะเช่น ทริพแทนหรือเออร์โกทามีนในผู้ที่ยาระงับปวดธรรมดาใช้ไม่ได้ผล 15% ของประชากรทั่วโลกเคยเป็นไมเกรนครั้งหนึ่งในชีวิต.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและโรคไมเกรน

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและเบอร์ลิน

เฟเดรีโก เฟลลีนี

เฟเดรีโก เฟลลีนี (Federico Fellini) (20 มกราคม ค.ศ. 1920 – 31 ตุลาคม ค.ศ. 1993) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอิตาลี เป็นที่รู้จักในผลงานในการใช้ภาพแบบแฟนตาซีและบาโรค ผลงานของเขามีอิทธิพลต่อนักสร้างภาพยนตร์ในศตวรรษที่ 20 หมวดหมู่:ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอิตาลี หมวดหมู่:บุคคลจากโรม.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและเฟเดรีโก เฟลลีนี

เกสตาโพ

รื่องแบบเกสตาโพ เกสตาโพ (Gestapo) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ทบวงตำรวจลับของรัฐ (Geheime Staatspolizei) เป็นตำรวจลับอย่างเป็นทางการของนาซีเยอรมนี เริ่มตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน..

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและเกสตาโพ

เรื่องสั้น

รื่องสั้น คือ บันเทิงเรียงความร้อยแก้วรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะคล้ายนวนิยาย แต่สั้นกว่า โดยมีเหตุการณ์ในเรื่องและตัวละครน้อย มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือจบแบบทิ้งให้คิด เป็นต้น การดำเนินเรื่องจะมุ่งเข้าสู่ประเด็นหลักอย่างรวดเร็ว ต้นกำเนิดของเรื่องสั้นมาจากประเพณีการเล่านิทาน ซึ่งมักจะปูโครงเรื่องอย่างคร่าวๆ แล้วเข้าสู่จุดสำคัญของเรื่องอย่างรวดเร็ว ลักษณะเด่นของเรื่องสั้นคือ มักมีเหตุการณ์หลักเพียงเหตุการณ์เดียว โครงเรื่องเป็นคู่ ฉากคู่ จำนวนตัวละครมีมากหรือน้อยก็ได้ และมีระยะเวลาตั้งแต่ต้นจนจบเรื่องไม่นานนัก สามารถให้อารมณ์ได้เช่นเดียวกับนวน.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและเรื่องสั้น

เวียนนา

วียนนา (Vienna) หรือ วีน (Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย เวียนนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในออสเตรีย เป็นศูนย์กลางทั้งเศรษฐกิจและการปกครอง มีประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีแม่น้ำดานูบไหลผ่าน เวียนนายังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานในสหประชาชาติหลายแห่ง เช่น United Nations Industrial Development Organization (UNIDO) และองค์กรระดับนานาชาติหลายแห่ง เช่น โอเปก (OPEC).

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและเวียนนา

เจ. ดี. แซลินเจอร์

. ดี.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและเจ. ดี. แซลินเจอร์

เจเรมี ไอเอินส์

รมี จอห์น ไอเอินส์ (Jeremy John Irons; เกิด 19 กันยายน ค.ศ. 1948) เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ หลังจากที่ได้รับการฝึกฝนที่โรงละครบริสตอลโอลด์วิค ไอเอินส์เริ่มแสดงละครเวทีครั้งแรกในปี 1969 รับบทเป็น จอห์น เดอะ แบ็พติส ใน Godspell หลังจากนั้นเขาก็ร่วมแสดงกับคณะเวสต์เอ็นด์และสแตรตเฟิร์ดอะพอนเอวอน จนมีชื่อเสียงโด่งดังใน Richard II ของบริษัทรอยัลเชคสเปีย เขาแสดงละครบรอดเวย์เรื่องแรกใน The Real Thin ของทอม สต็อพพาร์ด ซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลดราม่าลีกอวอร์ดและรางวัลโทนี สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม ในปี 1981 ไอเอินส์ชื่อเสียงโด่งดังจากละครชุดเรื่อง ไบรด์สเฮดรีวิซิตทิด เขาได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเอมมี หลังจากนั้นเขาแสดงนำในภาพยนตร์เรื่อง The French Lieutenant’s Woman ร่วมกับ เมอริล สตรีพ เขายังได้รับรางวัลวาไรตีคลับอะวอดส์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแบฟตา จากนั้นในปี 1990 เขารับบทบาทเป็น ซานตา วอน ยูโร ผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นฆาตกร ใน Reversal of Fortune สำหรับบทนี้ไอเอินส์ได้รับรางวัลหลายสถาบันรวมถึงรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและเจเรมี ไอเอินส์

เซอเรน เคียร์เคอกอร์

เซอเรน เคียร์เคอกอร์ เซอเรน โอบึย เคียร์เคอกอร์ (Søren Aabye Kierkegaard: 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1813 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1855) เป็นนักปรัชญาชาวเดนมาร์กในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถือกันโดยทั่วไปว่าเขาเป็นนักปรัชญาอัตถิภาวนิยมคนแรก แม้ว่างานวิจัยในชั้นหลัง ๆ จะแสดงว่าการเชื่อมโยงดังกล่าวอาจกระทำได้ยากกว่าที่เคยคิดกันก็ตาม ในด้านความคิดทางปรัชญานั้น เคียร์เคอกอร์ถือเป็นสะพานเชื่อมระหว่างปรัชญาแบบเฮเกิลกับปรัชญาที่จะคลี่คลายไปเป็นอัตถิภาวนิยมในภายหลัง เขาปฏิเสธอย่างแข็งขันทั้งปรัชญาแบบเฮเกิลที่กำลังเฟื่องฟูในสมัยนั้นและสิ่งที่เขาเรียกว่ารูปแบบอันว่างเปล่าของคริสตจักรเดนมาร์ก งานของเขาส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับปัญหาทางศาสนา เช่น ธรรมชาติของศรัทธา ความเป็นสถาบันของคริสต์ศาสนจักร และเรื่องจริยธรรมและเทววิทยาคริสเตียน เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ บางคนจึงจัดให้งานของเคียร์เคอกอร์อยู่ในประเภทของอัตถิภาวนิยมคริสเตียน งานของเคียร์เคอกอร์อาจยากแก่การตีความ เนื่องจากงานที่เขาเขียนในระยะแรกนั้นเขียนโดยใช้นามแฝงต่าง ๆ กัน และบ่อยครั้งที่งานที่เขาเขียนโดยใช้นามแฝงชื่อหนึ่งจะได้รับความเห็นหรือข้อวิจารณ์จากงานเขียนที่เขาใช้นามแฝงอีกชื่อหนึ่ง หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวเดนมาร์ก หมวดหมู่:บุคคลจากโคเปนเฮเกน.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและเซอเรน เคียร์เคอกอร์

11 มิถุนายน

วันที่ 11 มิถุนายน เป็นวันที่ 162 ของปี (วันที่ 163 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 203 วันในปีนั้น.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและ11 มิถุนายน

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและ3 กรกฎาคม

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ดู ฟรานซ์ คาฟคาและ3 มิถุนายน

ดูเพิ่มเติม

นักเขียนประเภทสัจนิยมมหัศจรรย์

ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยชาลส์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Franz Kafka

นวยุคนิยมนวนิยายนักเขียนแฟรงก์ คาปราแฮโรลด์ พินเทอร์โบฮีเมียโกเลมโยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอโรคซึมเศร้าโรคไมเกรนเบอร์ลินเฟเดรีโก เฟลลีนีเกสตาโพเรื่องสั้นเวียนนาเจ. ดี. แซลินเจอร์เจเรมี ไอเอินส์เซอเรน เคียร์เคอกอร์11 มิถุนายน3 กรกฎาคม3 มิถุนายน