สารบัญ
39 ความสัมพันธ์: บินหลา สันกาลาคีรีฟ้า พูลวรลักษณ์กุหลาบ สายประดิษฐ์กนกพงศ์ สงสมพันธุ์ร้อยแก้วศักดิชัย บำรุงพงศ์ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์ส. ธรรมยศสมชาย อาสนจินดาสุชาติ สวัสดิ์ศรีสุภา ศิริมานนท์สุภาว์ เทวกุลสุริยัน ศักดิ์ไธสงสุวรรณี สุคนธาสุจิตต์ วงษ์เทศสด กูรมะโรหิตหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมหลวงต้อย ชุมสายอนุสรณ์ ติปยานนท์จันตรี ศิริบุญรอดจำลอง ฝั่งชลจิตรธาร ยุทธชัยบดินทร์ธารา ศรีอนุรักษ์ณรงค์ จันทร์เรืองคมทวน คันธนูคำพูน บุญทวีประภัสสร เสวิกุลประมวล ดาระดาษประยอม ซองทองประเสริฐ พิจารณ์โสภณนวนิยายนันทนา วีระชนนิวัต พุทธประสาทนิทานนิคม รายยวาแดนอรัญ แสงทองเสกสรรค์ ประเสริฐกุลเอื้อ อัญชลีเดือนวาด พิมวนา
- คำศัพท์และเทคนิคทางวรรณกรรม
บินหลา สันกาลาคีรี
นหลา สันกาลาคีรี เป็นนามปากกาของ วุฒิชาติ ชุ่มสนิท เป็นนักประพันธ์ไทยได้รับรางวัลซีไรต.
ดู เรื่องสั้นและบินหลา สันกาลาคีรี
ฟ้า พูลวรลักษณ์
ฟ้า พูลวรลักษณ์ "เด็กชายฟ้า พูลวรลักษณ์":IMAGE.
ดู เรื่องสั้นและฟ้า พูลวรลักษณ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันดีในนามปากกาว่า ศรีบูรพา (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 — 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย เจ้าของวาทะ "ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์สอนให้ฉันรักประชาชน".
ดู เรื่องสั้นและกุหลาบ สายประดิษฐ์
กนกพงศ์ สงสมพันธุ์
กนกพงศ์ สงสมพันธุ์ (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509 ที่อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง — 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นนักเขียนรางวัลซีไรต์ ปี..
ดู เรื่องสั้นและกนกพงศ์ สงสมพันธุ์
ร้อยแก้ว
ร้อยแก้ว เป็นภาษารูปแบบหนึ่งซึ่งใช้โครงสร้างไวยากรณ์ปกติและการไหลของถ้อยคำอย่างเป็นธรรมชาติ แทนที่จะใช้โครงสร้างเป็นจังหวะดังในกวีนิพนธ์ แม้จะมีการถกเถียงเชิงวิจารณ์ต่อการสร้างร้อยแก้ว แต่ด้วยความเรียบง่ายและโครงสร้างที่นิยามอย่างหลวม ทำให้ร้อยแก้วถูกนำมาใช้ในบทสนทนาเป็นส่วนใหญ่ วจนิพนธ์ข้อเท็จจริง ตลอดจนการเขียนเฉพาะเรื่องและบันเทิงคดี ร้อยแก้วเป็นรูปแบบภาษาที่ใช้กันสามัญ เช่น ในวรรณกรรม หนังสือพิมพ์ นิตยสาร สารานุกรม การแพร่สัญญาณทางสื่อต่างๆ หนังสือทางประวัติศาสตร์และปรัชญา กฎหมาย และการสื่อสารอีกหลายรูปแบบ หมวดหมู่:วรรณกรรม.
ศักดิชัย บำรุงพงศ์
ักดิชัย บำรุงพงศ์ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 — 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) นักการทูต นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ เจ้าของนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..
ดู เรื่องสั้นและศักดิชัย บำรุงพงศ์
ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์
ร.
ดู เรื่องสั้นและศุภชัย สิงห์ยะบุศย์
ส. ธรรมยศ
. ธรรมยศ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2495) ครู นักเขียน นักปรัชญาและนักเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ นามจริง แสน ธรรมยศ เกิดที่ตำบลปงพระเนตช้าง ลำปาง ในตระกูล ณ ลำปาง มีพี่สาวชื่อจันทร์สม เริ่มต้นการศึกษาที่โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย เมืองลำปาง ต่อมาย้ายมาอยู่ที่เทพศิรินทร์ และสอบชิงทุนไปเรียนปรัชญาที่ประเทศเวียดนาม แต่ถูกปฏิเสธเพราะมีการกำหนดตัวผู้สอบได้แล้ว พระสารสานส์พลขันธ์ และอาจารย์ฝรั่งคนหนึ่งสละเงินส่วนตัวส่งไปเรียนหนึ่งปี จากนั้นต้องใช้เงินส่วนตัวและญาติ ๆ ช่วยอุดหนุนกันไป เนื่องจากเป็นคนเก่งภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส จึงเป็นล่ามตั้งแต่อายุ 14 ปี ไปเมืองญวนก็ไปสอนภาษาอังกฤษให้นักเรียนที่นั่นด้วย เมื่อเรียนจบทำงานเป็นบรรณาธิการผู้ช่วยหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส La Lute (การต่อสู้) นอกจากนั้นยังเป็นผู้แทนหนังสือพิมพ์ ประชาธิปไตย จากประเทศไทย กลับมาเมืองไทยเมื่อปี พ.ศ.
สมชาย อาสนจินดา
มชาย อาสนจินดา หรือ.
ดู เรื่องสั้นและสมชาย อาสนจินดา
สุชาติ สวัสดิ์ศรี
ติ สวัสดิ์ศรี นักเขียนเจ้าของนามปากกา สิงห์สนามหลวง ผู้ก่อตั้ง รางวัลช่อการะเกด เกิดวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2488 ที่ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ่อเป็นหมอเสนารักษ์ แม่เป็นชาวนา จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) สาขาประวัติศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ.
ดู เรื่องสั้นและสุชาติ สวัสดิ์ศรี
สุภา ศิริมานนท์
ริมานนท์ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 15 มีนาคม พ.ศ. 2529) นามปากกา จิตติน ธรรมชาติ เป็นนักคิด นักประพันธ์ นักหนังสือพิมพ์และนักวารสารศาสตร์คนสำคัญของประเทศไทย และผู้สื่อข่าวสงครามคนแรกของประเทศไทย (ในสงครามจีนญี่ปุ่น) เคยเป็นบรรณาธิการ “นิกรวันอาทิตย์” และ “อักษรสาส์น” เข้าร่วมขบวนการเสรีไทย รับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ เป็นเลขานุการฝ่ายหนังสือพิมพ์ประจำสถานทูตไทย ณ ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป คือ สหภาพโซเวียต สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และฝรั่งเศส เป็นผู้บริหารและฝ่ายวิชาการของบริษัทอาคเนย์ประกันภัย และเป็นอาจารย์พิเศษที่ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
ดู เรื่องสั้นและสุภา ศิริมานนท์
สุภาว์ เทวกุล
ว์ เทวกุล เป็นนามปากกาของ สุภาว์ เทวกุล ณ อยุธยา (7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471 - 5 กันยายน พ.ศ. 2536) นักเขียนนวนิยาย และเรื่องสั้น เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย และดำรงตำแหน่งเลขาธิการสมาคมติดต่อกันมาหลายปี และได้รับเลือกเป็นนายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย คนที่ 6 ต่อจากครูแก้ว อัจฉริยะกุล ระหว่างปี..
สุริยัน ศักดิ์ไธสง
ริยัน ศักดิ์ไธสง นักเขียนที่มีผลงาน เส้นทางมาเฟีย ที่ถูกดัดแปลงเป็นภาพยนตร์เรื่อง 2499 อันธพาลครองเมือง หรือรู้จักในนาม เปี๊ยก วิสุทธิ์กษัตริย์ ในภาพยนตร์ 2499 อันธพาลครองเมือง.
ดู เรื่องสั้นและสุริยัน ศักดิ์ไธสง
สุวรรณี สุคนธา
วรรณี สุคนธา เป็นนามปากกาของ สุวรรณี สุคนธ์เที่ยง (1 มีนาคม พ.ศ. 2475 – 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) นักเขียนชาวไทย สุวรรณีเป็นบุตรของนายย้อยและนางแตงอ่อน มีพี่ชายหนึ่งคน สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนผดุงนารี-กวีพิทยา ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก แล้วมาต่อที่วิทยาลัยเพาะช่างสองปี และคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยสำเร็จการศึกษาและได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต แขนงจิตรกรรม เมื่อ พ.ศ.
ดู เรื่องสั้นและสุวรรณี สุคนธา
สุจิตต์ วงษ์เทศ
ตต์ วงษ์เทศ (20 เมษายน พ.ศ. 2488 - ปัจจุบัน) นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ประจำปี พ.ศ. 2536 ปัจจุบันเป็นนักเขียนประจำในเครือมติชน เขียนเป็นประจำในคอลัมน์ "สยามประเทศไทย" ในหนังสือพิมพ์มติชน และผู้บรรยาย องค์ปาฐกถาพิเศษด้านศิลปะวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์) ประจำปี พ.ศ.
ดู เรื่องสั้นและสุจิตต์ วงษ์เทศ
สด กูรมะโรหิต
กูรมะโรหิต (27 เมษายน พ.ศ. 2451 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521) เป็นนักเขียนนวนิยายไทยที่มีชื่อเสียง มีผลงานเขียนหลากหลาย ทั้งสารคดี เรื่องสั้น นวนิยาย นวนิยายแปล บทละครเวที และบทภาพยนตร์ นอกจากนี้ยังเป็นเกษตรกร ที่พยายามนำแนวคิดเกี่ยวกับกิจการสหกรณ์ไว้เป็นจำนวนมาก สด กูรมะโรหิต เกิดที่ตำบลท่าเรือจ้าง จังหวัดจันทบุรี เป็นบุตรของอำมาตย์โท พระจรูญภารการ (เติม กูรมะโรหิต) กับนางเหนย กูรมะโรหิต (2417-2512:95 ปี) มีน้องสาวคือ คุณหญิงนิธิวดี อ้นตระการ (2454- 2557 อายุ 103 ปี) บิดาเป็นข้าราชการมหาดไทย ตำแหน่งหลวงยกกระบัตรเมือง ยกกระบัตรมณฑล ปลัดมณฑล และผู้ว่าราชการจังหวัด ในวัยเด็กต้องย้ายตามบิดาไปตามจังหวัดต่างๆ และเข้าเรียนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ตั้งแต่ชั้นประถม 1 ถึงมัธยม 8 เป็นเพื่อนร่วมรุ่นกับ โชติ แพร่พันธุ์ (ยาขอบ) กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา) และหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ โดยมีผลการเรียนดีเด่น เข้าสอบชิงทุนเล่าเรียนหลวงสองครั้งในปี..
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..
ดู เรื่องสั้นและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมหลวงต้อย ชุมสาย
หม่อมหลวงต้อย ชุมสาย (28 มกราคม พ.ศ. 2449 - พ.ศ. 2504) นักหนังสือพิมพ์ นักเขียนในคณะสุภาพบุรุษ ศิลปินช่างภาพ เป็นผู้บุกเบิกวงการถ่ายภาพนู้ดของไทย เมื่อราวทศวรรษ 2480 เคยเป็นอาจารย์ ผู้แนะนำรงค์ วงษ์สวรรค์เข้าสู่แวดวงนักหนังสือพิมพ์ หม่อมหลวงต้อย เป็นบุตรของ พระยาสีหศักดิ์สนิทวงศ์ (หม่อมราชวงศ์ถัด ชุมสาย บุตรหม่อมเจ้าประวิช ชุมสาย กับหม่อมเจ้าหญิงสารภี สนิทวงศ์) กับคุณหญิงสีหศักดิ์สนิทวงศ์ (ติ๊ โภคาสมบัติ ธิดาขุนโภคาสมบัติ (เอม) กับนางโภคาสมบัติ (เอม)) เกิดที่บ้านหลังวัดสังขเวชวิศยราม บางลำพู พี่น้องจำนวน 7 คน ได้แก.
ดู เรื่องสั้นและหม่อมหลวงต้อย ชุมสาย
อนุสรณ์ ติปยานนท์
อนุสรณ์ ติปยานนท์ เป็นนักเขียน นักแปล โดยเขามีผลงานรวมเรื่องสั้นเข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรท์ถึง 2 สมัย ได้แก่ รวมเรื่องสั้น เคหวัตถุ (พ.ศ.
ดู เรื่องสั้นและอนุสรณ์ ติปยานนท์
จันตรี ศิริบุญรอด
ันตรี ศิริบุญรอด จันตรี ศิริบุญรอด (31 มีนาคม พ.ศ. 2460 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักเขียนที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งนิยายวิทยาศาสตร์ไท.
ดู เรื่องสั้นและจันตรี ศิริบุญรอด
จำลอง ฝั่งชลจิตร
ำลอง ฝั่งชลจิตรหรือเจ้าของฉายา ลอง เรื่องสั้น เกิดเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2497 เป็นชาวนครศรีธรรมราช เรียนจบชั้น ม..5 ที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช จากนั้นเข้าศึกษาต่อคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อนจะลาออกไปเป็นครู เป็นพนักงานโรงแรม ทำหนังสือ และเป็นนักเขียนอิสระ จำลอง ฝั่งชลจิตร เริ่มงานเขียนหนังสือครั้งแรกเมื่อปี..
ดู เรื่องสั้นและจำลอง ฝั่งชลจิตร
ธาร ยุทธชัยบดินทร์
ร ยุทธชัยบดินทร์ นักเขียนเชื้อสายไทย-จีน เกิดเมื่อ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 ที่ โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร มีผลงานวรรณกรรมพิมพ์เผยแพร่ในนิตยสารต่าง ๆ ทั้งบทความและเรื่องสั้น รวมถึงหนังสือเล่มซึ่งได้รับรางวัลระดับประเทศหลายครั้ง.
ดู เรื่องสั้นและธาร ยุทธชัยบดินทร์
ธารา ศรีอนุรักษ์
รา ศรีอนุรักษ์ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 - ปัจจุบัน) นักเขียนเรื่องสั้นชาวนครศรีธรรมราช เจ้าของนามปากกา ธาร ธรรมโฆษณ.
ดู เรื่องสั้นและธารา ศรีอนุรักษ์
ณรงค์ จันทร์เรือง
ณรงค์ จันทร์เรือง เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 เป็นนักเขียนชาวไทย ประเภทเรื่องขนหัวลุก ใช้นามปากกาว่า "ใบหนาด".
ดู เรื่องสั้นและณรงค์ จันทร์เรือง
คมทวน คันธนู
มทวน คันธนู เป็นนามปากกาของ ประสาทพร ภูสุศิลป์ธร เกิดเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2493 ที่ธนบุรี นักประพันธ์ชาวไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์ ควทวนสำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนดรุณวัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนวัดชิโนรส ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และปริญญาตรีจาก คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาได้นำงานนิตยสาร และหนังสือพิมพ์หลายแห่ง อาทิ ปุถุชน ประชาธิปไตย มติชน ปัจจุบันเป็นนักเขียนอิสระ คมทวนเริ่มแต่งคำประพันธ์ขณะเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ลงในหนังสือของชมรมภาษาไทย เมื่อศึกษาอยู่ในมหาลัยธรรมศาสตร์ เขียนกลอนเปล่า, บทความและบมละครลงหนังสือวรรศิลป์ของมหาวิทยาลัย งานประพันธ์มีหลายประเภท เรื่องสั้น เช่น กบฏ:วรรณกรรมซาดิสม์ (พ.ศ.
คำพูน บุญทวี
ำพูน บุญทวี (26 มิถุนายน 2471 - 4 เมษายน 2546) นักเขียนสารคดี เรื่องสั้น และนวนิยายเกี่ยวกับชีวิตของชาวไทอีสานและชีวิตคนในคุก ได้รับรางวัลซีไรต์เป็นคนแรกของไทยเมื่อ พ.ศ.
ประภัสสร เสวิกุล
ประภัสสร เสวิกุล ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ พุทธศักราช 2554 (22 เมษายน พ.ศ. 2491 — 18 กันยายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียนที่ได้รับความนิยมจากนักอ่านและเป็นที่ยอมรับในวงวรรณกรรมร่วมสมัยของไทยในช่วงเวลากว่า 40 ปี ท่านได้สร้างสรรค์ผลงานอันมีคุณค่าทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น บทกวี สารคดี จำนวนมาก ผลงานจำนวนไม่น้อยได้รับรางวัลในระดับชาติหลายเรื่อง ได้มีผู้นำไปสร้างสรรค์เป็นศิลปะแขนงอื่น คือ ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ อีกจำนวนหนึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศ วรรณกรรมของนายประภัสสร เสวิกุล มิใช่เพียงให้ความบันเทิงใจแก่ผู้อ่าน แต่ให้ภาพสมจริงของสังคมและชีวิตมนุษย์ ผลงานที่สร้างขึ้นอย่างประณีต ผสมผสานข้อมูลกับจินตนาการอย่างเหมาะสม นำเสนอด้วยฝีมือการประพันธ์ และภาษาที่เลือกสรรแล้ว พร้อมทั้งให้ข้อคิดคติธรรมแก่ผู้อ่าน ได้แสดงให้เป็นที่ประจักษ์ว่าท่านเป็นนักเขียนที่มีอุดมคติและมีสำนึกความรับผิดชอบต่อนักอ่านและสังคม งานประพันธ์ทุกเรื่องของท่านจะฉายภาพให้ผู้อ่านได้เห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ คุณธรรมและค่านิยมประการต่าง ๆ ได้แก่ ความเป็นผู้นำ มิตรภาพ การพึ่งตนเอง ความขยันหมั่นเพียร ความกล้า สู้ชีวิต ความอดออม ความเมตตา ความกตัญญู ความซื่อสัตย์ ความสามัคคี การเคารพเชื่อฟังผู้อาวุโส การหมั่นแสวงหาความรู้ ตลอดจนการเห็นคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ เพราะท่านเชื่อมั่นว่าด้านดีของมนุษย์และคุณลักษณะที่ดีของคนไทย จะเป็นพลังสำคัญที่จะธำรงรักษาสังคมและมนุษยชาติไว้ นอกจากการสร้างสรรค์ผลงานวรรณกรรมไว้เป็นสิ่งจรรโลงใจแก่ผู้อ่านแล้ว นายประภัสสร เสวิกุล ยังมีบทบาทสำคัญในการเชิดชูเกียรติและศักดิ์ศรีของนักเขียนรุ่นอาวุโส ส่งเสริมให้เกิดความสัมพันธ์ทางวรรณกรรมระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่วงการนักเขียนและวงวรรณกรรมร่วมสมัยของไทย รวมทั้งถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้านการประพันธ์เพื่อสร้างนักเขียนรุ่นเยาว์ให้ก้าวไปสู่การเป็นนักเขียนอาชี.
ดู เรื่องสั้นและประภัสสร เสวิกุล
ประมวล ดาระดาษ
ประมวล ดาระดาษ เกิด 2 กันยายน 2502 ที่ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เป็นนักเขียนเรื่องสั้น และบทกวี.
ดู เรื่องสั้นและประมวล ดาระดาษ
ประยอม ซองทอง
ประยอม ซองทอง (1 มกราคม พ.ศ. 2477 -) เป็นนักเขียนชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการเขียนกลอน มีผลงานรวมเล่มตีพิมพ์เป็นจำนวนมาก และยังมีผลงานเขียนบทความรณรงค์การใช้ภาษา และบทความเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..
ประเสริฐ พิจารณ์โสภณ
ประเสริฐ พิจารณ์โสภณ (เกิด 12 สิงหาคม พ.ศ. 2474 -) เป็นนักเขียนเรื่องสั้นที่มีชื่อเสียง ใช้นามปากกาว่า "ชาย บางกอก" ตั้งให้โดยประหยัด ศ.
ดู เรื่องสั้นและประเสริฐ พิจารณ์โสภณ
นวนิยาย
นวนิยาย เป็นรูปแบบหนึ่งของวรรณกรรมลายลักษณ์ แต่งในรูปของร้อยแก้ว มีลักษณะแตกต่างจากเรื่องแต่งงงแบบเดิม ที่เรียกว่า นิยาย หรือนิทาน ที่เรียกว่า "นวนิยาย" ก็เพราะถือเป็นนิยายแบบใหม่ (novel) ตามแบบตะวันตก นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาพูดโดยทั่วไปนิยมเรียกว่า "นิยาย" ซึ่งกะทัดรัดกว่า โดยคำว่า "นิยาย" เป็นคำมาจากภาษาเขมรที่ออกเสียงว่า "นิเยย" (និយាយ) หมายถึง "พูด" นวนิยายนั้น เป็นเรื่องราวที่มีลักษณะสมจริงมากกว่านิทานหรือนิยายแบบเดิม บางครั้งอาศัยฉากหรือเหตุการณ์จริง หรืออิงความเป็นจริง มีบทสนทนา และบรรยายเหตุการณ์อย่างปุถุชนทั่วไป.
นันทนา วีระชน
นันทนา วีระชน เป็นนักเขียนชาวไทยผู้เขียนงานนวนิยาย ซึ่งนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์หลายเรื่อง อาทิ "ไม่สิ้นไร้ไฟสวาท", "ปีกมาร", "สะใภ้ปฏิวัติ", "เพลิงพ่าย", "แรงเงา", "คุณหญิงบ่าวตั้ง", "อีเปรี้ยวตลาดแตก", "ไฟเสน่หา", "ไปไม่ถึงดวงดาว", "ลูกหลง", "ลูกเขยซ่า พ่อตาแสบ", "พ่อจอมยวน แม่จอมยุ่ง", "เมียแต่ง", "บ้านนี้ผีไม่ปอบ", "ดงดอกเหมย", "รักนี้หัวใจเราจอง" ฯลฯ รวมไปถึงงานเขียนบทละครโทรทัศน์อีกมากมาย ทั้งที่มาจากนวนิยายของตัวเองและของนักเขียนท่านอื่น มาช่วงหลังงานเขียนนวนิยายของเริ่มซาลง แต่ก็ยังไม่ทิ้งงานเขียนเนื่องจากเป็นงานที่เธอรัก แม้จะมีออกมาปีละ 2-3 เรื่อง ถ้าเทียบกับเมื่อก่อนที่มีปีละ 9-10 เรื่อง.
นิวัต พุทธประสาท
นิวัต พุทธประสาท (30 เมษายน พ.ศ. 2515 -) นักเขียนชาวกรุงเทพ มีผลงานรวมเรื่องสั้นและนวนิยายหลายเล่ม ได้รับรางวัลช่อการะเกดยอดนิยมจากผลงานเรื่องสั้น “ความเหลวใหล” นิวัตเป็นผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ thaiwriter.net เว็บไซต์วรรณกรรมเว็บแรกของไท.
ดู เรื่องสั้นและนิวัต พุทธประสาท
นิทาน
นิทาน (นิทาน, Fable) ในภาษาไทย มีใช้อย่างน้อย ๒ ความหมาย คือ.
นิคม รายยวา
นิคม รายยวา เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2487 ที่ตำบลหาดเสี้ยว อ.ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ศึกษาชั้นมัธยมจากโรงเรียนเชลียง และระดับปริญญาตรีทางเศรษฐศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เริ่มต้นการทำงานกับ บริษัทธุรกิจเดี่ยวกับน้ำมันปิโตรเลียมในกรุงเทพฯ ระยะหนึ่ง แล้วเปลี่ยนไปทำงานอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทางภาคใต้ ระยะหลังสนใจเกษตรแบบคนต่างเมือง ลงมือทำสวนโกโก้ โดยเซาะป่าเป็นร่อง ใช้แนวไม้เป็นร่มไพร โกโก้เสียหายหมดทั้ง 50,000 ต้น ปัจจุบันหันมาเรียนรู้จากเกษตรกรในท้องถิ่นดั้งเดิม เพื่อทำสวนยางพารา คุณ นิคม รายยวา เริ่มเขียนเรื่องสั้นตั้งแต่ปี พ.ศ.
แดนอรัญ แสงทอง
แดนอรัญ แสงทอง นักเขียนและนักแปลชาวไทยที่มีชื่อเสียงในระดับโลก เจ้าของฉายา "ขบถวรรรณกรรม" แดนอรัญมีชื่อจริงว่า เสน่ห์ สังข์สุข เกิดเมื่อปี..
ดู เรื่องสั้นและแดนอรัญ แสงทอง
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล
กสรรค์ ประเสริฐกุล (พ.ศ. 2492 ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา) เป็นอดีตผู้นำนักศึกษาในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 นักเขียนรางวัลศรีบูรพา เคยเข้าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา โดยมีชื่อจัดตั้งว่า "สหายไท" ในช่วง พ.ศ.
ดู เรื่องสั้นและเสกสรรค์ ประเสริฐกุล
เอื้อ อัญชลี
อื้อ อัญชลี เป็นนามปากกาของ อัญชลี เอื้อกิจประเสริฐ (พ.ศ. 2517-) เป็นนักเขียนที่เป็นที่รู้จักจากคอลัมน์ สามก๊ก ฉบับคนกันเอง ในนิตยสาร มติชนสุดสัปดาห์ ผลงานการประพันธ์ของเธอเรื่อง เงาฝันของผีเสื้อ ได้รับการคัดเลือกเข้ารอบสุดท้ายรางวัลซีไรต์ปี 2552.
เดือนวาด พิมวนา
ือนวาด พิมวนา หรือชื่อจริง พิมใจ จูกลิ่น (22 มีนาคม 2512 -) เป็นนักเขียนสตรีที่มีชื่อเสียง มีผลงานมากมาย เช่น ผู้บรรลุ, หนังสือเล่มสอง ปัจจุบันเธอปักหลักเขียนหนังสืออยู่ที่บ้านเกิดและมีเรื่องสั้นขนาดยาว ตีพิมพ์ในมติชน.
ดู เรื่องสั้นและเดือนวาด พิมวนา
ดูเพิ่มเติม
คำศัพท์และเทคนิคทางวรรณกรรม
- นวนิยาย
- เรื่องสั้น
- เรื่องสั้นอย่างสั้น