โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

ดัชนี รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

76 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สันบ็อบ ดิลลันฟร็องซัว โมรียักพ.ศ. 2549พ.ศ. 2550กาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซกึนเทอร์ กรัสส์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียมิคาอิล โชโลคอฟยะซุนะริ คะวะบะตะรพินทรนาถ ฐากุรรัดยาร์ด คิปลิงรางวัลโนเบลรูดอล์ฟ คริสตอฟ ออยเคินวรรณกรรมวิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์วิลเลียม ฟอล์คเนอร์วิลเลียม โกลดิงวิสวาวา ซิมบอร์สกาวินสตัน เชอร์ชิลวี เอส ไนพอลสหราชอาณาจักรสารานุกรมบริตานิกาสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนสต็อกโฮล์มอลิซ มุนโรออร์ฮัน ปามุกอัลเฟรด โนเบลอาลแบร์ กามูว์อานาตอล ฟร็องส์อิมเร เคอร์เตสซ์ฌ็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโยฌ็อง-ปอล ซาทร์จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์จอห์น กอลส์เวอร์ธีจอห์น แมกซ์เวล คูตซีทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ดอริส เลสซิงดับลินดาริโอ โฟคาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรปคนุท ฮัมซุนตแชสวัฟ มีวอชซอล เบลโลว์ซามูเอล เบ็คเค็ทท์ซูว์ลี พรูว์ดอมประเทศญี่ปุ่นประเทศสวีเดนประเทศไอร์แลนด์...ปาทริก มอดียาโนปาโบล เนรูดานะญีบ มะห์ฟูซนาดีน กอร์ดิเมอร์แกร์ฮาร์ท เฮาพ์ทมันน์แฮร์มันน์ เฮสเซอแฮร์ทา มึลเลอร์แฮโรลด์ พินเทอร์แคนรึก แชงกีเยวิตช์โม่เหยียนโจซูเอ คาร์ดุชชีโฆเซ เอเชกาไร อี เอย์ซากีร์เรไอร์แลนด์เหนือเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์เฟรเดริก มิสทราลเพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอเกา ซิงเจี้ยนเอลฟรีเดอ เยลิเนคเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์เทโอดอร์ มอมม์เซินเฒ่าผจญทะเลเค็นซะบุโร โอเอะเซลมา ลอเกร์เลิฟ10 ธันวาคม14 สิงหาคม6 มีนาคม ขยายดัชนี (26 มากกว่า) »

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน

ียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน (Bjørnstjerne Martinus Bjørnson) (8 ธันวาคม พ.ศ. 2375 - 26 เมษายน พ.ศ. 2453) ชาวนอรเวย์ เป็นทั้งกวี นักเขียนบทละคร นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ บรรณาธิการ ผู้กำกับการแสดงละคร และบุคคลที่มีชื่อเสียงโดดเด่นที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้นของนอร์เวย์ โดยเป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งในสี่ของผู้ยิ่งใหญ่แห่งวรรณกรรมนอร์เวย์ยุคนั้น อีกสามคนคือ เฮนริก อิบเซน (Henrik Ibsen) อเล็กซานเดอร์ คีลแลนด์ (Alexander Kielland) และโยนัส ไล (Jonas Lie) บทกวีของเขาชื่อ Ja, vi elsker dette landet (ใช่แล้ว เรารักแผ่นดินนี้) ยังถูกนำไปแต่งเป็นเพลงชาติของนอร์เวย์ด้ว.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและบียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

บ็อบ ดิลลัน

็อบ ดิลลัน (Bob Dylan) หรือชื่อจริง โรเบิร์ต อัลเลน ซิมเมอร์แมน (Robert Allen Zimmerman; เกิด 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง ศิลปิน จิตรกร นักประพันธ์ และกวีชาวอเมริกัน ที่มีผลงานในวงการดนตรีมาตลอดกว่า 5 ทศวรรษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงทศวรรษ 1960 จนได้รับฉายาให้เป็น "ราชาแห่งโฟล์ก" ด้วยภาพลักษณ์ของดิลลันในการแต่งเพลงที่เน้นเนื้อหาทางสังคมและการต่อต้านสงคราม มีเพลงตัวอย่างเช่น "Blowin' in the Wind" และ "The Times They Are a-Changin'" ที่ได้กลายมาเป็นหนึ่งในเพลงสัญลักษณ์ของการเคลื่อนไหวทางสิทธิมนุษยชนและการต่อต้านสงครามในสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้เขายังได้ออกซิงเกิล "Like a Rolling Stone" ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและบ็อบ ดิลลัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว โมรียัก

ฟร็องซัว ชาร์ล โมรียัก (François Charles Mauriac; 11 ตุลาคม ค.ศ. 1885 – 1 กันยายน ค.ศ. 1970) เป็นนักเขียน, นักวิจารณ์, กวีและนักหนังสือพิมพ์ชาวฝรั่งเศส เป็นบุตรคนเล็กในจำนวน 5 คนของครอบครัวชนชั้นกลางในบอร์โด บิดาของโมรียักเสียชีวิตตั้งแต่โมรียักอายุ 18 เดือน โมรียักเรียนจบด้านวรรณกรรมจากมหาวิทยาลัยบอร์โดและย้ายมาอยู่ที่ปารีสเพื่อเรียนต่อที่โรงเรียนแห่งชาติชาทร์ (École Nationale des Chartes) ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและฟร็องซัว โมรียัก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

กาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ

กาบริเอล โฮเซ เด ลา กองกอร์เดีย การ์ซิอา มาร์เกซ (Gabriel José de la Concordia García Márquez) หรือที่รู้จักกันในนาม กาบริเอล การ์ซิอา มาร์เกซ (6 มีนาคม ค.ศ. 1927 - 17 เมษายน ค.ศ. 2014) เป็นนักประพันธ์เรื่องสั้น นักเขียนบท และนักหนังสือพิมพ์ชาวโคลอมเบีย เกิดที่เมืองอารากาตากา เป็นบุตรชายของลุยซา ซานเตียกา มาร์เกซ อิกัวรัน กับกาบริเอล เอลิฮิโอ การ์ซิอา บิดาของเขาเป็นเภสัชกร เมื่อโตขึ้นเขาเริ่มเป็นนักข่าวและได้เขียนงานที่ไม่ใช่นิยายหลายเรื่องซึ่งเป็นเรื่องที่สะเทือนใจและเรื่องสั้น ผลงานที่โดดเด่นของเขาคือ หนึ่งร้อยปีแห่งความโดดเดี่ยว (Cien años de soledad, 1967), ฤดูใบไม้ร่วงของผู้นำแก่ (El otoño del patriarca, 1975) และ รักเมื่อคราวห่าลง (El amor en los tiempos del cólera, 1985) ซึ่งล้วนแต่เป็นที่รู้จัก เขาได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนที่สำคัญที่สุดของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาได้รับรางวัลวรรณกรรมนานาชาตินอยชตัดท์ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและกาเบรียล การ์เซีย มาร์เกซ · ดูเพิ่มเติม »

กึนเทอร์ กรัสส์

กึนเทอร์ วิลเฮลม์ กรัสส์ (Günter Wilhelm Grass) (16 ตุลาคม พ.ศ. 2470 – 13 เมษายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียนและนักเขียนบทละครชาวเยอรมันคนสำคัญ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1999 กรัสส์เกิดที่นครรัฐอิสระดานซิก (ปัจจุบันคือ กดัญสก์ ประเทศโปแลนด์) ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและกึนเทอร์ กรัสส์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย

The seal of the University of California 1868 ที่ตั้งของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ทั้ง 10 แห่งในรัฐแคลิฟอร์เนีย มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย (University of California) เป็นระบบของกลุ่มมหาวิทยาลัย 10 แห่งในรัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งมีนักศึกษาทั้งหมด 191,000 คน และศิษย์เก่าในปัจจุบันมากกว่า 1,340,000 คน โดยมหาวิทยาลัยที่ตั้งแห่งแรกคือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2411 และล่าสุดคือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เมอร์เซด ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย · ดูเพิ่มเติม »

มิคาอิล โชโลคอฟ

มิคาอิล อเล็กซานโดรวิช โชโลคอฟ (Михаи́л Алекса́ндрович Шо́лохов Mikhail Aleksandrovich Sholokhov) (24 พฤษภาคม ค.ศ. 1905 - 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1984) มิคาอิล อเล็กซานโดรวิช โชโลคอฟเป็นนักเขียนนวนิยายคนสำคัญชาวรัสเซียผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1965.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและมิคาอิล โชโลคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ยะซุนะริ คะวะบะตะ

ซุนะริ คะวะบะตะ ในปี ค.ศ. 1938 ยะซุนะริ คะวะบะตะ (14 มิถุนายน ค.ศ. 1899 - 16 เมษายน ค.ศ. 1972) เป็นนักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้นชาวญี่ปุ่น เขาเป็นชาวญี่ปุ่นคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและยะซุนะริ คะวะบะตะ · ดูเพิ่มเติม »

รพินทรนาถ ฐากุร

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและรพินทรนาถ ฐากุร · ดูเพิ่มเติม »

รัดยาร์ด คิปลิง

ซฟ รัดยาร์ด คิปลิง (Joseph Rudyard Kipling; 30 ธันวาคม ค.ศ. 1865 - 18 มกราคม ค.ศ. 1936) เป็นกวีและนักเขียนชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองมุมไบ (หรือเมืองบอมเบย์ ในบริติชอินเดีย) เป็นที่รู้จักจากผลงานอันมีชื่อเสียงคือ เมาคลีลูกหมาป่า (The Jungle Book; 1894) และนวนิยายเรื่อง Kim (1901) เขาเขียนบทกวีมากมาย รวมถึงเรื่อง Mandalay (1890) และ Gunga Din (1890) รวมทั้งเขียนเรื่องสั้นอีกหลายเรื่อง งานเขียนเกี่ยวกับเด็กของเขาถือได้ว่าเป็นวรรณกรรมคลาสสิกสำหรับเด็ก คิปลิงถือเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศอังกฤษในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทั้งงานเขียนร้อยแก้วและร้อยกรอง ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและรัดยาร์ด คิปลิง · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบล

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและรางวัลโนเบล · ดูเพิ่มเติม »

รูดอล์ฟ คริสตอฟ ออยเคิน

รูดอล์ฟ คริสตอฟ ออยเคิน (Rudolf Christoph Eucken) (5 มกราคม ค.ศ. 1846 - 15 กันยายน ค.ศ. 1926) รูดอล์ฟ คริสตอฟ ออยเคินเป็นนักปรัชญาคนสำคัญชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1908.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและรูดอล์ฟ คริสตอฟ ออยเคิน · ดูเพิ่มเติม »

วรรณกรรม

วรรณกรรมนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์

วิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์ (William Butler Yeats) หรือ ดับเบิลยู.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม ฟอล์คเนอร์

วิลเลียม ฟอล์คเนอร์ (William Faulkner) (25 กันยายน ค.ศ. 1897 - 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1962) วิลเลียม ฟอล์คเนอร์เป็นนักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้นคนสำคัญชาวอเมริกัน ฟอล์คเนอร์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวิลเลียม ฟอล์คเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม โกลดิง

ซอร์ วิลเลียม โกลดิง (William Golding; 19 กันยายน ค.ศ. 1911 - 19 มิถุนายน ค.ศ. 1993) เป็นกวีและนักเขียนชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวิลเลียม โกลดิง · ดูเพิ่มเติม »

วิสวาวา ซิมบอร์สกา

วิสวาวา ซิมบอร์สกา (Wisława Szymborska) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1923 — 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012) วิสวาวา ซิมบอร์สกาเป็นกวี, นักเขียนบทความ และ นักแปลคนสำคัญชาวโปแลนด์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1996 ลักษณะการเขียนของซิมบอร์สกาใช้วิธีการเขียนที่ผสานการแฝงนัย, ปฏิทรรศน์, การโต้แย้ง (contradiction) และการกล่าวน้อยกว่าความจริง (understatement) ในการขยายความของปรัชญาในข้อเขียน งานกวีนิพนธ์ที่กะทัดรัดแต่มักจะแฝงปริศนาของของอัตถิภาวนิยมอันสำคัญ ที่พาดพิงไปถึงหัวข้อเช่นจริยธรรม และสะท้อนให้เห็นถึงความขัดแย้งของผู้คนทั้งบุคคลแต่ละคนและกลุ่มบุคคลที่เป็นสมาชิกของสังคม ลักษณะการเขียนของซิมบอร์สกาเป็นการเขียนที่กะทัดรัดที่เต็มไปด้วยการใคร่ครวญและปฏิภาณ.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวิสวาวา ซิมบอร์สกา · ดูเพิ่มเติม »

วินสตัน เชอร์ชิล

ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวินสตัน เชอร์ชิล · ดูเพิ่มเติม »

วี เอส ไนพอล

ซอร์ วี เอส ไนพอล (V.) (17 สิงหาคม ค.ศ. 1932 -) วี เอส ไนพอลเป็นนักเขียนนวนิยายและบทความคนสำคัญของบริติชผู้มีเชื้อสายอินเดีย-ตรินิแดด ผู้ที่เกิดที่ตรินิแดดและโตเบโก ไนพอลถือว่าเป็นนักเขียนคนสำคัญผู้มีความสามารถในการเขียนร้อยแก้วในภาษาอังกฤษใหม่ ไนพอลได้รับทางวรรณกรรมต่างๆ หลายรางวัลที่รวมทั้งรางวัลจอห์น ลูเอลเลน รีส (John Llewellyn Rhys Prize) ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและวี เอส ไนพอล · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สารานุกรมบริตานิกา

รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและสารานุกรมบริตานิกา · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (ชื่อย่อ: Ukrainian SSR) หรือ ยูเครน (Українська Радянська Соціалістична Республіка, Українська РСР; Украинская Советская Социалистическая Республика, Украинская ССР) หรือ โซเวียตยูเครน เป็นรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่มีประชาธิปไตย (ข้อ 68 รัฐธรรมนูญแห่งยูเครนปี 1978) และเป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งขึ้นในปี 1922 (สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1919) และล่มสลายในปี 1991 แม้สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจะเป็นสมาชิกก่อตั้งองค์การสหประชาชาติที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ในทางปฏิบัติแล้ว ไม่มีสิทธิ์มีเสียงอะไรในกิจการต่างประเทศ ซึ่งถูกควบคุมอย่างเข้มงวดโดยทางการมอสโก ในการล่มสลายของสหภาพโซเวียตและเปเรสตรอยกา สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนถูกแปลงเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ยูเครน แม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของยูเครนได้รับการอนุมัติเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1996.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

สต็อกโฮล์ม

ต็อกโฮล์ม (Stockholm) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศสวีเดน ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลทิศตะวันออกของประเทศสวีเดน มีประชากรในเขตเทศบาลสต็อกโฮล์ม 909,000 คน ถ้านับเขตที่อยู่อาศัยโดยรอบทั้งหมดจะมีประชากรประมาณ 2.2 ล้านคน สต็อกโฮล์มเป็นที่ตั้งของรัฐบาลสวีเดน และที่ประทับของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของสวีเดน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและสต็อกโฮล์ม · ดูเพิ่มเติม »

อลิซ มุนโร

อลิซ แอนน์ มุนโร (Alice Ann Munro; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1931 — ปัจจุบัน) เป็นนักประพันธ์ชาวแคนาดาผู้มีผลงานเขียนในภาษาอังกฤษ งานของมุนโรได้รับการอธิบายว่ามีการปฏิวัติโครงสร้างของเรื่องสั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะเฉพาะในการเดินหน้าและย้อนกลับของห้วงเวลา เรื่องต่าง ๆ ที่ตราตรึงของเธอมีมากเกินกว่าที่ได้ประกาศ หรือเปิดเผยได้เสียยิ่งกว่าขบวนแห่ เรื่องแต่งของมุนโรโดยส่วนใหญ่มักจะมีฉากในบ้านเกิดของเธอ ซึ่งก็คือฮูรอนคันทรีในเซาธ์เวสเทิร์นออนแทรีโอ เรื่องราวต่าง ๆ ของเธอแสดงให้เห็นถึงความซับซ้อนของมนุษย์ในรูปแบบร้อยแก้วที่ไม่ซับซ้อน การเขียนของมุนโรได้รับการจัดให้อยู่ในฐานะ "หนึ่งในนักเขียนเรื่องแต่งร่วมสมัยที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของพวกเรา" ประดุจดั่งซินเทีย โอซิก ได้เขียนเพิ่ม และเสมือนเป็น "เชคอฟของพวกเรา" ทั้งนี้ เธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและอลิซ มุนโร · ดูเพิ่มเติม »

ออร์ฮัน ปามุก

ฟอริต ออร์ฮัน ปามุก (Ferit Orhan Pamuk) เป็นนักเขียนแนวโพสต์โมเดิร์นชาวตุรกีคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ปามุกเกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1952 ณ นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี จบการศึกษาทางด้านวารสารศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอิสตันบูล เขาแต่งงานในปีค.ศ. 1982 แต่ก็หย่าในปีค.ศ. 2001 เขาเริ่มสร้างงานเขียนในปีค.ศ. 1974 โดยผลงานชิ้นแรกมีชื่อว่า Karanlık ve Işık (ความมืดและแสงสว่าง) และมีผลงานชิ้นอื่น ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 2006 ปามุกได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม โดยเป็นนักเขียนคนแรกจากประเทศตุรกี และเป็นนักเขียนคนที่สองจากประเทศมุสลิมที่ได้รับรางวัลนี้.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและออร์ฮัน ปามุก · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด โนเบล

อัลเฟร็ด เบิร์นฮาร์ท โนเบล (21 ตุลาคม พ.ศ. 2376, สตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2439, ซานเรโม ประเทศอิตาลี) นักเคมีชาวสวีเดน วิศวกร นักประดิษฐ์ ผู้ผลิตอาวุธและผู้คิดค้นดินระเบิดไดนาไมท์ เขาเป็นเจ้าของบริษัทโบโฟรส์ (Bofors) ซึ่งเป็นผู้ผลิตอาวุธรายใหญ่ โดยเขาได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของโรงงานจากเดิมที่เป็นโรงงานเหล็กและเหล็กกล้า มาเป็นโรงผลิตปืนใหญ่ และอาวุธต่างๆ ในพินัยกรรมของเขา เขาได้ยกทรัพย์สมบัติจำนวนมหาศาลได้จากการผลิตอาวุธให้แก่สถาบันรางวัลโนเบล เพื่อมอบรางวัลแก่บุคคลที่สร้างคุณประโยชน์แก่มนุษยชาติ เรียกว่า รางวัลโนเบล และในโอกาสที่มีการสังเคราะห์ธาตุชนิดใหม่ขึ้น นักวิทยาศาสตร์ได้ตั้งชื่อธาตุนั้นตามชื่อของเขา เพื่อเป็นการให้เกียรติ ว่า โนเบเลียม (Nobelium).

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและอัลเฟรด โนเบล · ดูเพิ่มเติม »

อาลแบร์ กามูว์

อัลแบร์ กามู อัลแบร์ กามู (Albert Camus; 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 – 4 มกราคม ค.ศ. 1960) เป็นนักเขียนและนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส ได้รับรางวัลโนเบลจากนวนิยายเรื่องคนนอกในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและอาลแบร์ กามูว์ · ดูเพิ่มเติม »

อานาตอล ฟร็องส์

อานาตอล ฟร็องส์ (Anatole France,; ชื่อเมื่อเกิด: ฟร็องซัว-อานาตอล ตีโบ - François-Anatole Thibaultw:fr:Anatole France; 16 เมษายน ค.ศ. 1844 - 12 ตุลาคม ค.ศ. 1924) อานาตอล ฟร็องส์เป็นนักเขียนนวนิยาย กวี และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญชาวฝรั่งเศส ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1921.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและอานาตอล ฟร็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

อิมเร เคอร์เตสซ์

อิมเร เคอร์เตสซ์ (Kertész Imre; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1929 - 31 มีนาคม ค.ศ. 2016) อิมเร เคอร์เตสซ์เป็นนักเขียนคนสำคัญชาวฮังการีเชื้อสายยิวผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 2002.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและอิมเร เคอร์เตสซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโย

็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโย หรือเรียกสั้นว่า ฌี.แอม..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและฌ็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโย · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ปอล ซาทร์

็อง-ปอล ซาทร์ ฌ็อง-ปอล ซาทร์ (Jean-Paul Sartre, 21 มิถุนายน พ.ศ. 2448 กรุงปารีส, ประเทศฝรั่งเศส - 15 เมษายน พ.ศ. 2523 ที่กรุงปารีส) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักบทละคร, นักปรัชญา และผู้มีบทบาทสำคัญในแนวคิดอัตถิภาวนิยมหรือทฤษฎีที่ว่าทุกคนนั้นอิสระและรับผิดชอบในการกระทำของตน (Existentialism) เป็นนักปรัชญาผู้ประกาศเสรีภาพของมนุษย์ในแง่ปัจเจกชน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) แต่ไม่ยอมรับรางวัลดังกล่าว.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและฌ็อง-ปอล ซาทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์

อร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ (George Bernard Shaw; 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1856 - 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1950) เป็นนักเขียนบทละครชาวไอริช เกิดที่เมืองดับลิน ย้ายมาอยู่กรุงลอนดอนเมื่ออายุได้ 20 ปี และพำนักอยู่ในประเทศอังกฤษจนตลอดชีวิต เขาเริ่มต้นชีวิตการทำงานด้วยการประพันธ์เพลงและเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม ต่อมาจึงหันมาเขียนบทละคร และมีความชำนาญในการประพันธ์บทละครแนวชีวิต ชอว์มีผลงานบทละครมากกว่า 60 เรื่อง ส่วนใหญ่มีเนื้อหาที่สะท้อนถึงปัญหาสังคม เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและจอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น กอลส์เวอร์ธี

อห์น กอลส์เวอร์ธี (John Galsworthy; 14 สิงหาคม ค.ศ. 1867 – 31 มกราคม ค.ศ. 1933) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษ เกิดที่เขตคิงส์ตันอะพอนเทมส์ เป็นบุตรของจอห์นและบลังเช (นามสกุลเดิม บาร์ทลีต) ไบเล่ย์ ครอบครัวของกอลส์เวอร์ธีมีฐานะ กอลส์เวอร์ธีเข้าเรียนที่โรงเรียนแฮร์โรว์และวิทยาลัยนิวเพื่อเป็นทนายความ แต่ต่อมากอลส์เวอร์ธีเลือกที่จะเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ เพื่อดูแลธุรกิจขนส่งของครอบครัว ระหว่างเดินทาง กอลส์เวอร์ธีได้เป็นเพื่อนกับนักเขียน โจเซฟ คอนราด ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและจอห์น กอลส์เวอร์ธี · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น แมกซ์เวล คูตซี

อห์น แมกซ์เวล คูตซี (J.) (9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1940 - ปัจจุบัน) จอห์น แมกซ์เวล คูตซีเป็นนักเขียนและนักการศึกษาคนสำคัญชาวออสเตรเลียจากแอฟริกาใต้ คูตซีเป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนบทความ, นักวิพากษ์วรรณกรรม และนักภาษาศาสตร์ และได้รับรางวัลแมนบุคเคอร์ในปี ค.ศ. 1983 และ ค.ศ. 1999 และ รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 2003.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและจอห์น แมกซ์เวล คูตซี · ดูเพิ่มเติม »

ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์

ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ ทูมัส เยิสตา ทรานสเตรอเมอร์ (Tomas Gösta Tranströmer, 15 เมษายน ค.ศ. 1931 — 26 มีนาคม ค.ศ. 2015) เป็นนักเขียน กวี และนักแปลชาวสวีเดน ซึ่งผลงานกวีของเขาถูกแปลมากกว่า 60 ภาษาทั่วโลก ทรานสเตรอเมอร์ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนคนสำคัญที่สุดในสแกนดิเนเวียตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง บทวิจารณ์ได้ยกย่องบทกวีของทรานสเตรอเมอร์จากความเข้าใจง่าย แม้แต่ในการแปล บทกวีของเขาสามารถถ่ายทอดฤดูหนาวอันยาวนานของประเทศสวีเดน ทำนองแห่งฤดูกาลและบรรยากาศความงามของธรรมชาติได้อย่างชัดเจน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอริส เลสซิง

อริส เมย์ เลสซิง (Doris Lessing, CH, OBE) (22 ตุลาคม ค.ศ. 1919 – 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013) ดอริส เลสซิงเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวอังกฤษผู้เกิดในเปอร์เชียผู้เขียนนวนิยายเช่น The Grass is Singing และ The Golden Notebook.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและดอริส เลสซิง · ดูเพิ่มเติม »

ดับลิน

ับลิน (Dublin; ไอริช: Baile Átha Cliath) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ชื่อดับลินนั้นมาจากคำว่า Dubh Linn ซึ่งในภาษาไอริชมีความหมายว่า "สระน้ำสีดำ" (Black Pool) ดับลินมีพื้นที่ประมาณ 114.99 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 495,781 คนในเขตตัวเมือง.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและดับลิน · ดูเพิ่มเติม »

ดาริโอ โฟ

ริโอ โฟ (Dario Fo) (24 มีนาคม ค.ศ. 1926 – 13 ตุลาคม ค.ศ. 2016) เป็นนักเขียนเชิงเสียดสี, นักเขียนบทละคร, ผู้กำกับละครเวที, นักแสดงและคีตกวีคนสำคัญชาวอิตาลี ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1997 งานเขียนของโฟแฝงด้วยแนวชวนขันของ ศิลปะชวนขันอาชีพ (commedia dell'arte) ของอิตาลีโบราณ ซึ่งเป็นลักษณะการเขียนบทละครเวทีที่เป็นที่นิยมกันในบรรดาชนชั้นที่เรียกว่า “proletarian class” ของสังคม ดาริโอ โฟผู้เป็นบิดาของนักเขียนจาโคโป โฟ เป็นผู้จัดการโรงละครร่วมกับภรรยาผู้เป็นดารานำ ฟรังคา เรเม ดาริโอ โฟ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและดาริโอ โฟ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป

ร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป (Karl Adolph Gjellerup; 2 มิถุนายน ค.ศ. 1857 - 13 ตุลาคม ค.ศ. 1919) เป็นกวีและนักเขียนนวนิยายชาวเดนมาร์ก ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ปี ค.ศ. 1917 ร่วมกับเฮนริก พอนทอปพีดัน (Henrik Pontoppidan) นับเป็นพวกความคิดสมัยใหม่ เขาใช้นามปากกาว่า Epigonos ผลงานของเขาที่คนไทยรู้จักกันดี ก็คือเรื่อง "Der Pilger Kamanita" หรือ The Pilgrim Kamanita ซึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาไทยโดยเสฐียรโกเศศและนาคะประทีปในชื่อ "กามนิต" นั่นเอง นอกจากผลงานเรื่องนี้ เขายังได้ประพันธ์งานอีกหลายชิ้นที่ส่อว่าเขาได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์ และปรัชญาและวัฒนธรรมอินเดี.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและคาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป · ดูเพิ่มเติม »

คนุท ฮัมซุน

นุท ฮัมซุน (Knut Hamsun; 4 สิงหาคม ค.ศ. 1859 – 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นนักเขียนชาวนอร์เวย์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและคนุท ฮัมซุน · ดูเพิ่มเติม »

ตแชสวัฟ มีวอช

ตแชสวัฟ มีวอช (Czesław Miłosz,; 30 มิถุนายน ค.ศ. 1911 – 14 สิงหาคม ค.ศ. 2004) เป็นนักเขียนและกวีชาวโปแลน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและตแชสวัฟ มีวอช · ดูเพิ่มเติม »

ซอล เบลโลว์

ซอล เบลโลว์ หรือ โซโลมอน เบลโลว์ (Saul Bellow หรือ Solomon Bellows) (10 มิถุนายน ค.ศ. 1915 - 5 เมษายน ค.ศ. 2005) ซอล เบลโลว์เป็นนักเขียนคนสำคัญชาวอเมริกันที่เกิดในแคนาดา เบลโลว์ได้รับทางวรรณกรรมหลายรางวัลที่รวมทั้งรางวัลพูลิตเซอร์ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและซอล เบลโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูเอล เบ็คเค็ทท์

ซามูเอล เบ็คเค็ทท์ (Samuel Beckett) (13 เมษายน ค.ศ. 1906 - 22 ธันวาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนเรื่องสั้น, นักเขียนบทละคร, นักเขียนบทความ และ กวีคนสำคัญชาวไอริช งานของเบ็คเค็ทท์ที่แสดงภาพพจน์อันมืดมนของวัฒนธรรมของมนุษย์ทั้งอย่างเป็นทางการและในทางปรัชญาค่อยกลายมาที่มีลักษณะเป็นงานจุลนิยม (minimalism) มากขึ้นต่อมา ขณะที่เป็นลูกศิษย์ ผู้ช่วย และเพื่อนของเจมส์ จอยซ์ เบ็คเค็ทท์ถือว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนแบบสมัยใหม่นิยมคนสุดท้ายผู้เป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักเขียนหลายคนต่อมา และบางครั้งก็ถือว่าเป็นนักเขียนคนแรกของสมัยใหม่นิยมสมัยหลัง (Postmodernism) นอกจากก็ยังถือกันว่าเบ็คเค็ทท์เป็นนักเขียนคนสำคัญคนหนึ่งของลักษณะการเขียนที่มาร์ติน เอสส์ลิน (Martin Esslin) เรียกว่า "ละครแปลกวิสัย" (Theatre of the Absurd) ซึ่งทำให้เบ็คเค็ทท์กลายเป็นนักเขียนผู้มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เบ็คเค็ทท์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและซามูเอล เบ็คเค็ทท์ · ดูเพิ่มเติม »

ซูว์ลี พรูว์ดอม

ซูว์ลี พรูว์ดอม (Sully Prudhomme) เป็นนามปากกาของ เรอเน-ฟร็องซัว อาร์ม็อง พรูว์ดอม (René-François-Armand Prudhomme) กวีและนักเขียนชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 16 มีนาคม เป็นบุตรของเจ้าของร้านค้าชาวฝรั่งเศส จบการศึกษาด้านวิศวกรรม แต่สนใจด้านงานเขียนจนเข้ารับการศึกษาใหม่ด้านวรรณคดี และหันมาเอาดีด้านวรรณกรรมนับแต่บัดนั้น ได้รับเกียรติให้เป็นสมาชิกของบัณฑิตยสถานฝรั่งเศสเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและซูว์ลี พรูว์ดอม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอร์แลนด์

อร์แลนด์ (Ireland, หรือ; Éire เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Republic of Ireland; Poblacht na hÉireann) นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและประเทศไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาทริก มอดียาโน

็อง ปาทริก มอดียาโน (Jean Patrick Modiano; 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 —) เป็นนักประพันธ์ชาวฝรั่งเศสและได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมประจำปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและปาทริก มอดียาโน · ดูเพิ่มเติม »

ปาโบล เนรูดา

ปาโบล เนรูดา (Pablo Neruda; 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1904 – 23 กันยายน ค.ศ. 1973) เป็นกวีและนักการทูตชาวชิลี เป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี ค.ศ. 1971 ปาโบล เนรูดา มีชื่อเกิดว่า "เนฟตาลี ริการ์โด เรเยส บาโซอัลโต" เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและปาโบล เนรูดา · ดูเพิ่มเติม »

นะญีบ มะห์ฟูซ

นะญีบ มะห์ฟูซ หรือ นะกีบ มะห์ฟูซ (نجيب محفوظ; 11 ธันวาคม ค.ศ. 1911 - 30 สิงหาคม ค.ศ. 2006) เป็นนักเขียนชาวอียิปต์ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและนะญีบ มะห์ฟูซ · ดูเพิ่มเติม »

นาดีน กอร์ดิเมอร์

นาดีน กอร์ดิเมอร์ (Nadine Gordimer) (20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1923 – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 2014) นาดีน กอร์ดิเมอร์เป็นนักเขียน, นักเขียนบทละคร และ นักเคลื่อนไหวทางการเมืองคนสำคัญชาวแอฟริกาใต้ กอร์ดิเมอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1991 งานเขียนของกอร์ดิเมอร์เป็นงานเขียนที่เกี่ยวกับจริยธรรมและปัญหาเรื่องผิวโดยเฉพาะการกีดกันเรื่องผิวในแอฟริกาใต้ นาดีน กอร์ดิเมอร์เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในขบวนการต่อต้านการถือผิว และเข้าเป็นสมาชิกของพรรคสมัชชาแห่งชาติแอฟริกาในยุคที่เป็นพรรคนอกกฎหมาย เมื่อไม่นานมานี้ก็ได้เข้ามามีบทบาทในกำจัดเอชไอวี.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและนาดีน กอร์ดิเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แกร์ฮาร์ท เฮาพ์ทมันน์

แกร์ฮาร์ท โยฮัน โรแบร์ท เฮาพ์ทมันน์ แกร์ฮาร์ท โยฮัน โรแบร์ท เฮาพ์ทมันน์ (Gerhart Johann Robert Hauptmann) เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1862 ณ เมืองโอเบอร์ซาลสบรุนน์ (Obersalzbrunn) ทางตอนใต้ของแคว้นชเลเซียน (ภาษาอังกฤษเรียกว่า แคว้นซิเลเซีย ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์) เขาเป็นบุตรคนสุดท้องของเจ้าของโรงแรมที่ทันสมัยชื่อ Zur Preussischen Krone เขาเติบโตมาในครอบครัวชนชั้นกลางที่ได้รับการศึกษา เขาเป็นเด็กที่ช่างคิดช่างฝัน ไม่ชอบคิดอะไรตามกฎเกณฑ์ และชอบวาดรูป.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแกร์ฮาร์ท เฮาพ์ทมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เฮสเซอ

แฮร์มันน์ เฮสเซอ right แฮร์มันน์ เฮสเซอ (Hermann Hesse) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1877 — 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นกวี นักเขียน และจิตรกรชาวเยอรมัน-สวิส เกิดที่เมืองคาลฟ์ในประเทศเยอรมนี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1945 ผลงานที่มีชื่อเสียงคือ สิทธารถะ และ เกมลูกแก้ว เฮสเซอเริ่มสร้างสรรค์งานประพันธ์ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองเมื่อมีอายุได้ 21 ปี จนเมื่อมีอายุได้ 26 ปี จึงเริ่มเป็นที่รู้จักแพร่หลาย นอกจากความสามารถทางด้านการประพันธ์แล้ว เฮสเซอยังมีความสามารถทางจิตรกรรมสีน้ำอีกด้วย เฮสเซอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแฮร์มันน์ เฮสเซอ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์ทา มึลเลอร์

แฮร์ทา มึลเลอร์ (Herta Müller) (17 สิงหาคม ค.ศ. 1953 - ปัจจุบัน) แฮร์ทา มึลเลอร์เป็นนักเขียน กวี และนักเขียนบทความคนสำคัญชาวเยอรมันที่เกิดในประเทศโรมาเนีย แฮร์ทา มึลเลอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 2009 งานเขียนที่มีชื่อเสียงของมึลเลอร์เป็นงานเขียนที่เกี่ยวกับสภาวะอันทารุณของชีวิตในสาธารณรัฐประชาชนโรมาเนีย (Communist Romania) ภายใต้การปกครองอันกดขี่ของรัฐบาลของนิโคไล เชาเชสกู, เกี่ยวกับประวัติศาสตร์เยอรมนีในภูมิภาคบานัท (Banat) ในยุโรปกลาง และ การทำร้ายชาวเยอรมันเชื้อสายโรมาเนียโดยกองทหารโซเวียตที่ยึดครองโรมาเนียของสตาลิน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแฮร์ทา มึลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮโรลด์ พินเทอร์

แฮโรลด์ พินเทอร์ (Harold Pinter) (10 ตุลาคม ค.ศ. 1930 - 24 ธันวาคม ค.ศ. 2008) แฮโรลด์ พินเทอร์เป็นนักเขียน กวี นักเขียนบทละคร นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้กำกับ นักแสดง ผู้มีบทบาททางการเมืองคนสำคัญชาวอังกฤษของคริสต์ศตวรรษที่ 20 พินเทอร์เป็นนักเขียนบทละครผู้มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งของสมัยใหม่ ที่เป็นผลทำให้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแฮโรลด์ พินเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แคนรึก แชงกีเยวิตช์

แคนรึก อาดัม อาแล็กซันแดร์ ปียุส แชงกีเยวิตช์ (Henryk Adam Aleksander Pius Sienkiewicz) หรือที่รู้จักในชื่อ "ลิตฟอส" (Litwos) (5 พฤษภาคม ค.ศ. 1846 - 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1916) เป็นนักหนังสือพิมพ์ชาวโปแลนด์ และนักประพันธ์นวนิยายซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและแคนรึก แชงกีเยวิตช์ · ดูเพิ่มเติม »

โม่เหยียน

ม่เหยียน เป็นนามปากกาของ ก่วน โหมเย่ นักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้นชาวจีน ที่ได้รับการยกย่องว่าเปรียบเหมือน ฟรานซ์ คาฟคา หรือ โจเซฟ เฮลเลอร์ ชาวจีน โม่เหยียนเกิดในครอบครัวชาวนาจากมณฑลซานตง ผลงานเขียนของเขาในปี 1987 เกี่ยวกับชาวนาจีนในซานตงช่วงสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์เรื่อง Red Sorghum กำกับโดยจาง อี้โหมว นำแสดงโดยกง ลี่ และเจียง เหวิน ได้รับคำชื่นชมในระดับนานาชาติ ได้รับรางวัลไก่ทองคำของจีน และรางวัลหมีทองคำของเยอรมนี เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2012 โม่เหยียน ได้รับการประกาศชื่อเป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม นับเป็นคนจีนคนแรกที่ได้รับรางวัลนี้.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและโม่เหยียน · ดูเพิ่มเติม »

โจซูเอ คาร์ดุชชี

ซูเอ คาร์ดุชชี (โจซูเอ คาร์ดุชชี) (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2378 – 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450) เป็นกวีชาวอิตาลีซึ่งบ่อยครั้งเป็นที่ยกย่องว่าเป็นหนึ่งในกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอิตาลี เขายังเป็นครูอีกด้วย คาร์ดุชชีถูกยกย่องให้เป็นกวีแห่งชาติอย่างไม่เป็นทางการของประเทศอิตาลีสมัยใหม่ ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและโจซูเอ คาร์ดุชชี · ดูเพิ่มเติม »

โฆเซ เอเชกาไร อี เอย์ซากีร์เร

ซ เอเชกาไร อี เอย์ซากีร์เร (José Echegaray y Eizaguirre; 19 เมษายน ค.ศ. 1832 - 14 กันยายน ค.ศ. 1916) เป็นวิศวกรโยธา นักคณิตศาสตร์ และนักการเมืองชาวสเปน เขายังเป็นนักเขียนบทละครผู้มีชื่อเสียงของสเปนในช่วงยี่สิบห้าปีสุดท้ายของคริสต์ศตวรรษที่ 19 เอเชกาไรได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและโฆเซ เอเชกาไร อี เอย์ซากีร์เร · ดูเพิ่มเติม »

ไอร์แลนด์เหนือ

อร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland; Tuaisceart Éireann ทวฌเชอรท์ เอรัน) คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและไอร์แลนด์เหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์

อร์ทรันด์ อาร์เทอร์ วิลเลียม รัสเซลล์ (Bertrand Arthur William Russell; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2415 - 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513) เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักตรรกวิทยา ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นนักปรัชญาการศึกษาหัวรุนแรงที่มีบทบาทสำคัญยิ่งคนหนึ่งของอังกฤษ เป็นผู้ที่ได้สร้างผลงานด้านการศึกษาในแนวปฏิรูปไว้มากมายหลายแขนง ซึ่งเป็นที่ยอมรับและมีอิทธิพลต่อการศึกษาในปัจจุบันอย่างมาก บรรดานักปรัชญารู้จักเขาในฐานะของผู้ให้กำเนิดทฤษฎีความรู้ (Epistemology หรือ Theory of Knowledge) นักคณิตศาสตร์รู้จักรัสเซลในฐานะบิดาแห่งตรรกวิทยา ผู้เขียนตำราคลาสสิกทางคณิตศาสตร์ คือหนังสือชื่อ Principia Mathematica นักฟิสิกส์รู้จักเขาในฐานะของผู้แต่งตำรา ABC of Relativity สำหรับคนทั่วไปรู้จักรัสเซลล์ในฐานะของนักจิตวิทยา นักการศึกษา นักการเมือง และนักเขียนผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก มิสทราล

ฟรเดริก มิสทราล (Frédéric Mistral; Frederic Mistral; 8 กันยายน ค.ศ. 1830 - 25 มีนาคม ค.ศ. 1914) เป็นนักเขียนและนักทำพจนานุกรมชาวฝรั่งเศส บุตรของชาวนาผู้มีอันจะกินคนหนึ่งในภูมิภาคพรอว็องส์ เขาเป็นผู้ฟื้นฟูภาษาอ็อกซิตันและวรรณกรรมในภาษาอ็อกซิตันขึ้นใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเฟรเดริก มิสทราล · ดูเพิ่มเติม »

เพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอ

ล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอ (Paul Johann Ludwig von Heyse; 15 มีนาคม ค.ศ. 1830 - 2 เมษายน ค.ศ. 1914) เพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1910 ฟอน ไฮเซอเป็นบุตรของคาร์ล วิลเฮล์ม ลุดวิจ ไฮเซอนักนิรุกติศาสตร์ผู้มีชื่อเสียง และยูลี ซาลลิง ยูลีเป็นบุตรีผู้มาจากตระกูลลชาวยิวที่มีหน้ามีตาและมีความเกี่ยวดองกับช่างอัญมณีประจำราชสำนักเฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น ฟอน ไฮเซอได้รับการศึกษาในเบอร์ลินแต่บอนน์ ในสาขาวิชาภาษาคลาสสิก หลังจากนั้นฟอน ไฮเซอก็แปลงานกวีนิพนธ์ของกวีอิตาลีหลายคน และเขียนเรื่องสั้น และ นวนิยายที่ได้รับการตีพิมพ์หลายเรื่อง แต่เรื่องที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเรื่อง “Kinder der Welt” (ยุวชนของโลก, ค.ศ. 1873) ในเบอร์ลินฟอน ไฮเซอเป็นสมาชิกของสมาคมกวี “Tunnel über der Spree” (อุโมงค์ข้ามแม่น้ำสปรี) และในมิวนิคก็เป็นสมาชิกของสมาคมกวี “Krokodil” (จระเข้) พร้อมกับเอ็มมานูเอล ไกเบิล ฟอน ไฮเซอเขียนหนังสือ, กวีนิพนธ์ และ บทละครราว 60 เรื่อง ผลงานจำนวนมากทำให้ฟอน ไฮเซอกลายเป็นผู้นำในบรรดานักวิชาการหรือปัญญาชนเยอรมัน ฟอน ไฮเซอได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1910 ในฐานะผู้ เวียร์เซนผู้ตัดสินคนหนึ่งของคณะกรรมการโนเบลกล่าวว่า “เยอรมนีไม่มีอัจฉริยะทางด้านวรรณกรรมมาตั้งแต่เกอเท”.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเพาล์ โยฮันน์ ลุดวิจ ฟอน ไฮเซอ · ดูเพิ่มเติม »

เกา ซิงเจี้ยน

กา ซิงเจี้ยน (高行健; Gao Xingjian; 4 มกราคม ค.ศ. 1940 —) เป็นนักประพันธ์, นักเขียนบทละคร และนักวิจารณ์ผู้อพยพชาวจีน ผู้ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมใน..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเกา ซิงเจี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

เอลฟรีเดอ เยลิเนค

อลฟรีเดอ เยลิเนค เอลฟรีเดอ เยลิเนค (Elfriede Jelinek) (20 ตุลาคม พ.ศ. 2489 -) นักเขียนชาวออสเตรีย ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี พ.ศ. 2547 เอลฟรีเดอ เยลิเนค เกิดเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2489 ในประเทศออสเตรีย บิดามีเชื่อสายเชค-ยิว มารดาเป็นชาวเวียนนา ในวัยเยาว์เธอได้รับการศึกษาด้านดนตรีหลายอย่าง เช่นเปียโน ออร์แกน และรีคอร์เดอร์ และได้ศึกษาต่อด้านการเรียบเรียงเสียงประสานในสถานบัน Vienna Conservatory หลังจบการศึกษาจาก Albertsgymnasium ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเอลฟรีเดอ เยลิเนค · ดูเพิ่มเติม »

เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์

ออร์เนสต์ มิลเลอร์ เฮมิงเวย์ (Ernest Miller Hemingway; พ.ศ. 2442-2504) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกันผู้ใช้ลีลาภาษาที่สั้นกระชับ เกิดที่ โอค ปาร์ก รัฐอิลลินอยส์ เริ่มทำงานเป็นผู้สื่อข่าวกับหนังสือพิมพ์ เดอะแคนซัสซิตีสตาร์ เข้าเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำรถพยาบาลทหารจนได้รับบาดเจ็บเมื่อปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทโอดอร์ มอมม์เซิน

ริสเตียน มัททิอัส เทโอดอร์ มอมม์เซิน (Christian Matthias Theodor Mommsen) (30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2360 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446) ชาวเยอรมัน เป็นนักวิชาการคลาสสิก, นักประวัติศาสตร์, นักกฎหมาย, นักข่าว, นักการเมือง, นักโบราณคดี ถือกันว่าเป็นคลาสสิกซิสต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผลงานที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์โรมันยังคงมีความสำคัญในระดับพื้นฐานในการวิจัยจนแม้ในปัจจุบัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเทโอดอร์ มอมม์เซิน · ดูเพิ่มเติม »

เฒ่าผจญทะเล

ผจญทะเล (The Old Man and the Sea) เป็นผลงานวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม โดยเขียนที่ประเทศคิวบาในปี..1951 และได้รับการจัดพิมพ์ครั้งแรกในปี..1952 ซึ่งเป็นหนึ่งในผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเฮมิงเวย์ เนื้อหาว่าด้วยเรื่องของชายชราคนหนึ่งผู้ออกหาปลาในประเทศคิว.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเฒ่าผจญทะเล · ดูเพิ่มเติม »

เค็นซะบุโร โอเอะ

็นซะบุโร โอเอะ (31 มกราคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) ญี่ปุ่นเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวญี่ปุ่นที่ได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากวรรณกรรมฝรั่งเศสและอเมริกัน และทฤษฎีวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเชิงการเมือง, สังคม และปรัชญาที่รวมทั้งปัญหาอาวุธนิวเคลียร์, ความไม่อยู่ในกรอบในแผนของสังคม (social non-conformism) และ อัตถิภาวนิยม (existentialism) โอเอะได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1994 เพราะเป็นผู้สร้างงานเขียนที่เป็น “โลกที่เกิดจากจินตนาการ ที่ชีวิตและความลึกลับรวมกันเป็นภาพพจน์อันแสดงถึงภาวะของความกระอักกระอ่วนของสถานภาพของความกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของสังคมปัจจุบัน”"an imagined world, where life and myth condense to form a disconcerting picture of the human predicament today." Yomiuri Shimbun. May 18, 2008.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเค็นซะบุโร โอเอะ · ดูเพิ่มเติม »

เซลมา ลอเกร์เลิฟ

ซลมา ลอเกร์เลิฟ เซลมา ออตติลีอานา โลวิซา ลอเกร์เลิฟ (ค.ศ. 1858 - 1940) เป็นนักเขียนหญิงคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบลทางด้านวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1909 เซลมาเกิดทางตอนใต้ของประเทศสวีเดน เธอเป็นครูสอนพิเศษให้แก่คนในละแวกบ้านเล็ก ๆ ของบิดาผู้เป็นทหารปลดเกษียณ เธอสอนหนังสืออยู่สิบปีกระทั่งมีเจ้านายอุปถัมภ์ให้ทำงานเขียนหนังสือได้เต็มตัว นวนิยายเรื่องแรกของเธอคือ Gösta Berlings Saga (The story of Gösta Berling, 1891) มาโด่งดังมีชื่อเมื่อถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษในปี ค.ศ. 1893 จริง ๆ แล้วเซลมาเป็นนักเขียนเรื่องสำหรับเด็ก เธอเขียนถึงชีวิตชนบทและดินแดนทางเหนือของสวีเดนได้อย่างโรแมนติกและมีจินตนาการกว้างไกล ดังจะเห็นได้จากผลงานที่สร้างชื่อให้แก่เธอได้มากที่สุด นั่นคือ The Wonderful Adventures of Nils (1906-07) ซึ่งได้รับแรงดลใจบางส่วนมาจากนิทานชีวิตสัตว์ของคิปลิง เรื่องของเด็กชายวัยรุ่นผู้ซุกซนจนต้องกลายเป็นคนตัวเล็ก ขี่ห่านท่องไปในดินแดนต่าง ๆ และได้เรียนรู้ถึงความไม่เห็นแก่ตัว ความเคารพต่อธรรมชาติ ตลอดจนภูมิศาสตร์และข้อกำหนดของสังคมต่าง ๆ The story of a story เรื่องนี้เป็นอัตชีวประวัติของเธอเอง ตอนที่เธอเริ่มเขียนนวนิยายเรื่องแรก เซลมาส่งต้นฉบับสองสามบทแรกไปร่วมประกวดกับนิตยสารแห่งหนึ่งที่จัดขึ้น เธอได้รับรางวัลชนะเลิศ และได้ทำสัญญาว่า เมื่อเขียนหนังสือจบทั้งเล่มก็จะได้รับตีพิมพ์ โดยระหว่างนั้นได้รับเงินจุนเจือจากบารอนเนส โซฟี อัดแลร์สปาร์เร ผู้เป็นสหาย เซลมาเสียชีวิตในช่วงเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง โดยก่อนหน้านั้นเธอได้ช่วยเหลือปัญญาชนและศิลปินชาวเยอรมันหลายคนให้รอดพ้นจากการถูกนาซีสังหาร เซลมาไม่ได้สมรสและไม่มีบุตรสืบสกุล.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและเซลมา ลอเกร์เลิฟ · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 สิงหาคม

วันที่ 14 สิงหาคม เป็นวันที่ 226 ของปี (วันที่ 227 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 139 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและ14 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมและ6 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Nobel Prize in Literatureรายชื่อผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรายนามผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »