สารบัญ
54 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2551พ.ศ. 2555พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถพระที่นั่งอนันตสมาคมพระปรมาภิไธยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467กรมธนารักษ์กรุงเทพมหานครภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ดมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ราชวงศ์จักรีวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารศรีรัศมิ์ สุวะดีศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานครสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารหม่อมหลวงบัว กิติยากรหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากรอำเภออำเภอบางบัวทองอำเภอสามพรานอำเภอปงอำเภอแม่สอดจังหวัดพะเยาจังหวัดตากจังหวัดนครปฐมจังหวัดนนทบุรีทายาทโดยสันนิษฐานท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)ประเทศไทยโรงพยาบาลศิริราชโรงเรียนจิตรลดาโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสารเกษตร) ในพระราชูปถัมภ์โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) ในพระราชูปถัมภ์ฯโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ฯเหรียญรัตนาภรณ์เหรียญราชรุจิ... ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »
- ชาวไทยเชื้อสายมอญ
- พระองค์เจ้าชาย
- ราชสกุลมหิดล
- เจ้าฟ้าชาย
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและพ.ศ. 2551
พ.ศ. 2555
ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและพ.ศ. 2555
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่
ระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ เป็นพระราชพิธีที่ยึดถือปฏิบัติตามประเพณีไทยแต่โบราณ ซึ่งเป็นประเพณีรับขวัญ ให้กับพระราชโอรส พระโอรส, พระราชธิดา พระธิดา ที่ประสูติใหม.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่
พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีที่รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความอาลัยเป็นครั้งสุดท้าย ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จัดขึ้น ณ พระเมรุมาศ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ระหว่างวันที่ 25 – 29 ตุลาคม..
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ
ลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (4 มกราคม พ.ศ. 2440 — 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.
พระที่นั่งอนันตสมาคม
ระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นท้องพระโรงเดิมของพระราชวังดุสิต ชื่อของพระที่นั่งนี้ นำมาจากพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระบรมมหาราชวัง พระที่นั่งอนันตสมาคมสร้างขึ้นในปี พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและพระที่นั่งอนันตสมาคม
พระปรมาภิไธย
ระปรมาภิไธย อาจหมายถึง.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและพระปรมาภิไธย
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.
กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467
กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 เป็นกฎมนเทียรบาลไทย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว บัญญัติขึ้นใน..
กรมธนารักษ์
กรมธนารักษ์ เป็นกรมในสังกัดของกระทรวงการคลัง มีหน้าที่เกี่ยวกับการทำเหรียญกษาปณ์ เหรียญที่ระลึก การดูแลที่ราชพัสดุตามอำนาจหน้าที่ การประเมินราคาทรัพย์สิน การรับจ่ายและรักษาพระราชทรัพย์ทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร และการจัดการเงินในพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเกี่ยวกับพระราชทรัพย์ของบรมวง.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและกรมธนารักษ์
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและกรุงเทพมหานคร
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและภาษาอังกฤษ
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (Kamphaengphet Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่ตำบลนครชุม อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด (Roi Et Rajabhat University) เปิดสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ได้รับการประกาศจัดตั้งโดยนายสุขวิช รังสิตพลรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น เพื่อตอบสนองความต้องการและกระจายโอกาสทางการศึกษาของประชากรในระดับภูมิภาค โดยจัดตั้งพร้อมกับสถาบันราชภัฏอีก 4 แห่ง อันได้แก่ สถาบันราชภัฏชัยภูมิ, สถาบันราชภัฏศรีสะเกษ, สถาบันราชภัฏนครพนม (ปัจจุบัน ได้รวมเข้ากับ มหาวิทยาลัยนครพนม แล้ว) และ สถาบันราชภัฏกาฬสินธุ์ (ปัจจุบันได้ควบรวมเป็นมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์แล้ว) ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด จะได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์เป็นประจำทุกปี ณ หอประชุมมหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ โดยเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาต่างๆ รวมทั้งดำเนินงานวิจัยและให้บริการทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เพื่อตอบสนองความต้องการของจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง ตลอดจนประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นแผ่นดินใหญ่ โดยเฉพาะเขตอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Suratthani Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เปิดการเรียนการสอนในระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท และ ปริญญาเอก เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฎอันดับต้นๆ ของประเทศ เป็นหนึ่งใน 4 มหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ของภาคใต้ และมีโครงการก่อสร้างอาคารใหม่รวมถึงเปิดคณะเพิ่มขึ้น.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (ChiangMai Rajabhat University; ชื่อย่อ: มร.ชม. - CMRU) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของภาคเหนือ เป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกที่ก่อตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค และเป็นสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ราชวงศ์จักรี
ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและราชวงศ์จักรี
วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นวัดประจำรัชกาลเมื่อ พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
ศรีรัศมิ์ สุวะดี
ลตรีหญิง ท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี (9 ธันวาคม พ.ศ. 2514) หรือเดิม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและศรีรัศมิ์ สุวะดี
ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร
ลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร เป็นศาลที่สร้างขึ้นมาพร้อมกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี ตามธรรมเนียมพิธีพราหมณ์ว่า ก่อนที่จะสร้างเมืองจะต้องทำพิธียกเสาหลักเมืองในที่อันเป็นชัยภูมิสำคัญ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมืองที่จะสร้างขึ้น ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานครตั้งอยู่บริเวณมุมด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของท้องสนามหลวง ตรงข้ามพระบรมมหาราชวัง ถนนหลักเมือง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร จุดสำคัญของศาลหลักเมืองคือ เสาหลักเมือง ซึ่งได้กระทำพิธียกเสาขึ้นเมื่อวันที่ 21 เมษายน..
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
มเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
นหลวงวัดราชบพิธ (อนุสรณ์สถานเจดีย์ทอง 4 องค์) แผนผังสุสานหลวง แสดงที่ตั้งของอนุสาวรีย์ต่างๆ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก (ราชวรมหาวิหาร) ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งมิเพียงคงความวิจิตรงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมไทยแบบพระราชนิยมแห่งหนึ่งในกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระอารามนี้ยังประกอบด้วยเขตสุสานหลวงจุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ อันเป็นบริเวณเฉพาะที่นับเนื่องด้วยราชสกุลและสายสัมพันธ์แห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารเป็นสุสานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ด้วยมีพระราชประสงค์จะให้ผู้ที่มีความรักใคร่ห่วงใยอย่างใกล้ชิดคือ พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และพระราชโอรส พระราชธิดา ได้อยู่รวมกันหลังจากที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ในทั่วไปจะเป็นการสร้างอนุสาวรีย์ของพระมเหสีและเจ้าจอมมารดา เพื่อให้ลูกได้อยู่รวมกับแม่หรืออย่างน้อยในบ้านของแม่ เว้นแต่ในกรณีที่พระราชโอรสหรือพระราชธิดาสิ้นพระชนม์ก่อนพระมารดาก็สร้างอนุสาวรีย์ของพระเจ้าลูกเธอพระองค์นั้นไปก่อน.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
หม่อมหลวงบัว กิติยากร
หม่อมหลวงบัว กิติยากร นามเดิม หม่อมหลวงบัว สนิทวงศ์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 − 19 กันยายน พ.ศ. 2542) หรือชื่อในการแสดงว่า ประทุม ชิดเชื้อ เป็นธิดาของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) เป็นหม่อมในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ และเป็นที่รู้จักในฐานะพระราชมารดาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ รวมทั้งยังทรงเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและหม่อมหลวงบัว กิติยากร
หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร
หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร (ราชสกุลเดิม: เทวกุล; ประสูติ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2420 — สิ้นชีพิตักษัย: 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2482) พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล (สุจริตกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร
อำเภอ
อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและอำเภอ
อำเภอบางบัวทอง
งบัวทอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี ในอดีตมีพื้นที่กว้างใหญ่มากโดยคลุมพื้นที่อำเภอไทรน้อย อำเภอบางใหญ่ และบางส่วนของอำเภอปากเกร็ด (ปัจจุบันแยกออกไปแล้ว) มีประวัติศาสตร์มาตั้งแต่ พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและอำเภอบางบัวทอง
อำเภอสามพราน
อำเภอสามพราน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม มีแม่น้ำนครชัยศรีไหลผ่าน.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและอำเภอสามพราน
อำเภอปง
อำเภอปง (15px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพะเยาอำเภอปงเป็นอำเภอที่มีเขตพื้นที่มากที่สุดในจังหวั.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและอำเภอปง
อำเภอแม่สอด
อำเภอแม่สอด (50px; မဲဆောက်; ႄႈသၢႆ) เป็นอำเภอหนึ่งทางตอนกลางของจังหวัดตาก ได้รับการจัดตั้งเป็นอำเภอมาตั้งแต่ พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและอำเภอแม่สอด
จังหวัดพะเยา
ังหวัดพะเยา (30px พ(ร)ะญาว) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบน บริเวณที่ตั้งของตัวเมืองพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิมเป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พะยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดยกษัตริย์องค์แรกคือ พญาจอมธรรม ซึ่งเป็นราชบุตรองค์หนึ่งจากเมืองหิรัญนครเงินยางเชียงแสน และเป็นบรรพบุรุษของกษัตริย์เมืองพะยาวอีกหลายองค์ เช่น พญาเจือง วีรบุรุษแห่งเผ่าไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง และพญางำเมืองซึ่งได้กระทำสัตย์สาบานเป็นไมตรีต่อกันกับพญามังรายแห่งนครพิงค์เชียงใหม่ และพญาร่วงรามคำแหงแห่งสุโขทัย ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจ และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา ในสมัยพญาคำฟู เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ใน..
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและจังหวัดพะเยา
จังหวัดตาก
นมิตรภาพ ไทย-พม่า (แม่สอด-เมียวดี) ทอดข้ามแม่น้ำเมย จังหวัดตาก (30px) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกหรือบางแห่งจัดอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดชายแดนที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย มีประวัติศาสตร์เก่าแก่นับแต่สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย นอกจากนี้จังหวัดตากยังเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อจังหวัดอื่น ๆ ถึง 9 จังหวั.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและจังหวัดตาก
จังหวัดนครปฐม
ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและจังหวัดนครปฐม
จังหวัดนนทบุรี
ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและจังหวัดนนทบุรี
ทายาทโดยสันนิษฐาน
้าฟ้าชายแอนดรูว์ ดยุคแห่งยอร์ค “รัชทายาทโดยสันนิษฐาน” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทโดยสันนิษฐาน (Heir presumptive) คือทายาทผู้อยู่ในสายของผู้มีสิทธิในการรับราชบัลลังก์ หรือตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลแต่เป็นตำแหน่งที่สามารถมีผู้มาแทนได้โดยการกำเนิดของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” (heir apparent) หรือ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” คนใหม่ที่มีสิทธิมากกว่า ถ้าใช้สะกดด้วยตัวพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษก็จะหมายถึงผู้มีสิทธิที่จะได้รับบรรดาศักดิ์, ตำแหน่ง หรือทรัพย์สินนอกจากจะมีทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานมาแทนที่ ในทั้งสองกรณีตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับกฎหมายและ/หรือประเพณีที่จะเปลี่ยนผู้ที่มีสิทธิเป็นทายาทโดยสันนิษฐาน ในกรณีที่เกี่ยวกับรัชทายาทของราชบัลลังก์ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” อาจจะเป็นพระราชธิดาในพระมหากษัตริย์ (ถ้าพระราชโอรสมีสิทธิเหนือกว่าพระราชธิดาและพระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรส) หรือสมาชิกผู้มีอาวุโสของสายที่มีสิทธิในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรสหรือธิดาตาม เมื่อทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงถือกำเนิด ผู้นั้นก็ถือว่าเป็นผู้มีสิทธิคนแรกในราชบัลลังก์และผู้สืบเชื้อสายจากทายาทของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ก็จะมีสิทธิเหนือกว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์ (Order of succession) ที่กำหนดไว้.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและทายาทโดยสันนิษฐาน
ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)
ท้าววนิดาพิจาริณี มีนามเดิมว่า บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม บุญธร; พ.ศ. 2429— 2 มีนาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและประเทศไทย
โรงพยาบาลศิริราช
รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและโรงพยาบาลศิริราช
โรงเรียนจิตรลดา
รงเรียนจิตรลดา (อังกฤษ: Chitralada School) เป็นโรงเรียนที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้นในบริเวณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต และพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นค่าใช้จ่ายของโรงเรียน นักเรียนที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้ามาเรียน จึงไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานพระบรมราโชบายให้โรงเรียนจิตรลดาได้ดำเนินงานมาโดยตลอด ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นองค์บริหาร โรงเรียนจึงได้รับสนองพระราโชบายในการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องโดยมีท่านผู้หญิงอังกาบ บุณยัษฐิติ ผู้จัดการและผู้อำนวยการโรงเรียนจิตรลดาในขณะนั้นเป็นผู้รับสนองพระราโชบายมาบริหารและดำเนินการ โรงเรียนจิตรลดาได้รับการยอมรับว่าเป็น "the most exclusive school in Thailand".
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและโรงเรียนจิตรลดา
โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสารเกษตร) ในพระราชูปถัมภ์
รงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสารเกษตร) ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ปทุมธานี เขต 1 ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 34 หมู่ที่ 8 ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120.
โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) ในพระราชูปถัมภ์ฯ
รงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) ในพระราชูปถัมภ์ฯ(Dipangkornwittayapat (Watnoinai) School)ตั้งอยู่ที่167 หมู่ 4.ชัยพฤกษ์ แขวงตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) ในพระราชูปถัมภ์ฯ
โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ฯ
รงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ฯ
เหรียญรัตนาภรณ์
หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและเหรียญรัตนาภรณ์
เหรียญราชรุจิ
หรียญราชรุจิ เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระราชทานแก่ข้าราชการในราชสำนัก นายทหารรักษาพระองค์ และผู้มีบำเหน็จความชอบในราชสำนัก รวมถึงข้าราชการในราชสำนักแห่งพระมหากษัตริย์ต่างประเทศ เป็นต้น ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสถาปนาเหรียญราชรุจิ ประจำรัชกาลของพระองค์ ขึ้นเมื่อ พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและเหรียญราชรุจิ
เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
้าพระยาวงศานุประพัทธ์ เมื่อ พ.ศ. 2465 ภาพล้อเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 ทรงวาดจากภาพต้นฉบับด้านบน มหาอำมาตย์เอก พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (นามเดิม:หม่อมราชวงศ์สท้าน หรือ หม่อมราชวงศ์กลาง) (24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
2 ตุลาคม
วันที่ 2 ตุลาคม เป็นวันที่ 275 ของปี (วันที่ 276 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 90 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและ2 ตุลาคม
20 สิงหาคม
วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและ20 สิงหาคม
22 กรกฎาคม
วันที่ 22 กรกฎาคม เป็นวันที่ 203 ของปี (วันที่ 204 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 162 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติและ22 กรกฎาคม
ดูเพิ่มเติม
ชาวไทยเชื้อสายมอญ
- กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)
- กันยา เทียนสว่าง
- จินตหรา สุขพัฒน์
- ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
- ณฐพร เตมีรักษ์
- ตระกูลบุนนาค
- ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
- พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
- พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
- พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
- พระราชอุดมมงคล (เอหม่อง อุตฺตมรมฺโภ)
- พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)
- วิกรม กรมดิษฐ์
- ศรีรัศมิ์ สุวะดี
- สนธิ บุญยรัตกลิน
- สมชาย เข็มกลัด
- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
- สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี
- สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์
- สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี
- สาวิกา ไชยเดช
- สุจินดา คราประยูร
- ออสุต พะโค
- อานันท์ ปันยารชุน
- อีฟ ปานเจริญ
- เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)
- เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก)
- แปลก พิบูลสงคราม
พระองค์เจ้าชาย
- กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
- พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
- พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
- พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ
- พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุภโยคเกษม
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสมัยวุฒิวโรดม
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงษ์รัชสมโภช
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเขจรจิรประดิษฐ
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา
- สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ
- สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
- สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
- สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
- เจ้าจอมมารดาพึ่ง ในรัชกาลที่ 4
ราชสกุลมหิดล
- จักรีวัชร วิวัชรวงศ์
- จุฑาวัชร วิวัชรวงศ์
- ทัศนาวลัย ศรสงคราม
- ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
- พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
- พุ่ม เจนเซน
- วัชรเรศร วิวัชรวงศ์
- ศรีรัศมิ์ สุวะดี
- สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
- สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
- สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
- สุจาริณี วิวัชรวงศ์
เจ้าฟ้าชาย
- พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
- สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
- สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร
- สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์
- สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
- สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์
- สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์
- สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
- สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
- สมเด็จพระเชษฐาธิราช
- สมเด็จเจ้าฟ้าไชย
- เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระองค์เจ้าทีปังกรพระเจ้าหลานยาเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ