สารบัญ
36 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2424พ.ศ. 2429พ.ศ. 2430พ.ศ. 2431พ.ศ. 2531พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชวังบวรสถานพิมุขพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์กรมพระราชวังบวรสถานพิมุขกรุงเทพมหานครมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ราชกิจจานุเบกษาสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีท่าพระจันทร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลประเทศไทยแม่น้ำเจ้าพระยาโรงพยาบาลโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์เขตบางกอกน้อย22 มีนาคม26 เมษายน31 พฤษภาคม
- มหาวิทยาลัยมหิดล
- เขตบางกอกน้อย
- โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
- โรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร
- โรงพยาบาลในประเทศไทย
พ.ศ. 2424
ทธศักราช 2424 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1881.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพ.ศ. 2424
พ.ศ. 2429
ทธศักราช 2429 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1886 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพ.ศ. 2429
พ.ศ. 2430
ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพ.ศ. 2430
พ.ศ. 2431
ทธศักราช 2431 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1888 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพ.ศ. 2431
พ.ศ. 2531
ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพ.ศ. 2531
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระราชวังบวรสถานพิมุข
ระราชวังบวรสถานพิมุข หรือ วังหลัง คือ วังของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ กรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ซึ่งทรงเป็นกรมพระราชวังบวรสถานภิมุขในรัชกาลที่ 1 สร้างขึ้นที่ตำบลสวนลิ้นจี่ ตั้งแต่เมื่อครั้งยังดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ถือว่าเป็นพระราชนิเวศน์เดิมของพระองค์ท่าน พื้นที่ดังกล่าวนี้มีขอบเขตทางทิศเหนือจรดกำแพงเมืองธนบุรีเดิม ทางทิศใต้จรดฉางเกลือ วังหลังนี้เป็นกำลังสำคัญที่จะป้องกันพระนครทางทิศตะวันตกฝ่ายเหนือจากการรุกรานของข้าศึก ถัดจากวังหลังลงไปเป็นตำบลสวนมังคุด ซึ่งเป็นบ้านเดิมของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี ต่อไปเป็นบ้านปูนและบ้านขมิ้นตามลำดับ ครั้นกรมพระราชวังหลังทิวงคตแล้ว วังก็ถูกแบ่งออกเป็นตอน ๆ ตอนพระมนเทียรสถานเดิม เจ้าครอกทองอยู่ ที่เรียกกันทั่วไปว่า "เจ้าครอกข้างใน" ประทับอยู่ ทางตอนใต้แบ่งออกเป็น 3 วัง คือ.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพระราชวังบวรสถานพิมุข
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์
ลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2388 - 13 กันยายน พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าสาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า เมื่อ..
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์
นายพันเอกพิเศษ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ (23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2394 - 16 มีนาคม พ.ศ. 2477) ทรงเป็นพระโอรสองค์สุดท้ายในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมสาย กรมขุนราชสีหวิกรม อธิบดีกรมช่างศิลป์หมู่และช่างศิลา กับหม่อมน้อย อดีตหม่อมในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ เมื่อประสูติมีพระนามว่า หม่อมเจ้าชายปฤษฎางค์ ทรงได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นพระองค์เจ้า ในปี..
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์
พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์
มหาอำมาตย์โท พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ อดีตผู้บังคับการกรมทหารรักษาพระองค์ อัครราชทูตพิเศษประจำกรุงปารีส และข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า และต้นราชสกุลวัฒนวง.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ
้าราชการพลเรือนชั้น 1 ระดับเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ พระนามเดิม พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย เป็นเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ อธิบดีศาลฎีกา และราชเลขานุการฝ่ายกฎหมาย ทรงเป็นต้นราชสกุล '''ศรีธวัช'''.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์
ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นพระราชอนุชาต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นอธิบดีกรมพยาบาลพระองค์แรก และเป็นบุคคลสำคัญที่มีส่วนร่วมในการจัดตั้งโรงพยาบาลศิริร.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์
กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข
กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข หรือ กรมพระราชวังหลัง เป็นตำแหน่งรองลงมาจากกรมพระราชวังบวรสถานมงคลที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขึ้น เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยอยุธยา โดยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงสร้างวังขึ้นหลังพระราชวังหลวง พระราชทานให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเอกาทศรถ ดังนั้น จึงเกิดคำว่า "วังหลัง" ขึ้นมา ต่อมา ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โปรดให้พระไตรภูวนาถทิตยวงศ์ พระราชอนุชา ประทับที่วังหลังอีกพระองค์ อย่างไรก็ตาม ทั้งสมเด็จพระเอกาทศรถและพระไตรภูวนาถทิตยวงศ์เพียงแต่ประทับอยู่ในวังหลังเท่านั้น แต่ไม่ได้มีการเพิ่มยศศักดิ์แต่ประการใด ในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา เมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงแต่งตั้งหลวงสรศักดิ์ขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล และได้แต่งตั้งให้นายจบคชประสิทธิ์ขึ้นเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข" ให้ทรงรับพระราชบัญชา ซึ่งถือเป็นกรมพระราชวังหลังพระองค์แรกในสมัยอยุธยา ต่อมา ในรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือ สมเด็จพระเจ้าเสือ พระองค์ทรงสถาปนา "เจ้าฟ้าเพชร" พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ที่กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระบัณฑูรใหญ่ และทรงสถาปนา "เจ้าฟ้าพร" พระราชโอรสพระองค์เล็กที่กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข แต่โปรดให้ออกพระนามกรมว่า "พระบัณฑูรน้อย" เนื่องจากพระองค์อาจจะทรงรังเกียจตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขเนื่องจากในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชาเมื่อทรงสถาปนานายจบคชประสิทธิขึ้นเป็นกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขได้ไม่นาน นายจบคชประสิทธิก็ถูกสำเร็จโทษ หรืออาจจะเป็นเพราะพระองค์ทรงต้องการยกย่องพระยศของเจ้าฟ้าพรให้เสมอกับกรมพระราชวังบวรสถานมงคลก็เป็นไปได้อย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อถึงสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสถาปนาให้สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ ซึ่งทรงมีความดีความชอบรบทัพจับศึกมาแต่ครั้งกรุงธนบุรี ขึ้นดำรงตำแหน่ง "กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข" พระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ภายหลังการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขแล้ว ถือเป็นการสิ้นสุดของตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข เนื่องจากไม่มีการสถาปนากรมพระราชวังหลังขึ้นอีกเล.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยมหิดล
มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู โรงพยาบาลศิริราชและมหาวิทยาลัยมหิดล
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..
ดู โรงพยาบาลศิริราชและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ราชกิจจานุเบกษา
ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและราชกิจจานุเบกษา
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..
ดู โรงพยาบาลศิริราชและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
ท่าพระจันทร์
ท่าพระจันทร์ในยุคปัจจุบัน ท่าพระจันทร์ เป็นท่าเรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บริเวณสุดถนนพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ให้บริการเฉพาะเรือข้ามฟากในเส้นทางท่าพระจันทร์-วังหลัง และท่าพระจันทร์-พระปิ่นเกล้า บริเวณท่าเรือแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์ ซึ่งเป็นป้อมแห่งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตามแนวกำแพงพระนครด้านตะวันตก ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ใช้บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นท้องสนามหลวง ถนนหน้าพระธาตุ ป้อมต่าง ๆ รอบกำแพงพระราชวังบวรสถานมงคลถูกรื้อลงหมดรวมถึงป้อมพระจันทร์ด้วย ถนนที่ตัดตรงสู่บริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์จึงมีชื่อว่า "ถนนพระจันทร์" และท่าน้ำในบริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์จึงเรียกว่า "ท่าพระจันทร์" มาจนถึงปัจจุบัน ใช้เป็นท่าเรือโดยสารซึ่งมีบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินกิจการเดินเรือข้ามฟากที่ประมูลมาจากกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน บริเวณท่าพระจันทร์เป็นแหล่งการค้าที่คึกคักมาก โดยเฉพาะในช่วงเวลาเย็น โดยเป็นที่รู้จักกันดีของการเป็นตลาดพระเครื่องและวัตถุมงคลต่าง ๆ รวมถึงร้านค้า, ร้านอาหาร, ร้านหนังสือต่าง ๆ อีกด้ว.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและท่าพระจันทร์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและประเทศไทย
แม่น้ำเจ้าพระยา
แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและแม่น้ำเจ้าพระยา
โรงพยาบาล
ห้องพยาบาลในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเดนมาร์ก โรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาล หรือ ศูนย์การแพทย์ เป็นสถานที่สำหรับให้บริการด้านสุขภาพให้กับผู้ป่วย โดยมักที่จะมุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูภาวะความเจ็บป่วย หรือโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ ปัจจุบันโรงพยาบาลได้ถูกแบ่งประเภทตามการดูแลควบคุมบริการเป็น โรงพยาบาลรัฐบาลและโรงพยาบาลเอกชน นอกจากนี้โรงพยาบาลยังถูกแบ่งเป็นสถานพยาบาลเฉพาะทางอีก เช่น สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, โรงพยาบาลสงฆ์, โรงพยาบาลตา, โรงพยาบาลฟัน, สถาบันโรคผิวหนัง.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและโรงพยาบาล
โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์
รงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ เป็นโรงพยาบาลของรัฐ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์).
ดู โรงพยาบาลศิริราชและโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์
เขตบางกอกน้อย
ตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา".
ดู โรงพยาบาลศิริราชและเขตบางกอกน้อย
22 มีนาคม
วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและ22 มีนาคม
26 เมษายน
วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและ26 เมษายน
31 พฤษภาคม
วันที่ 31 พฤษภาคม เป็นวันที่ 151 ของปี (วันที่ 152 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 214 วันในปีนั้น.
ดู โรงพยาบาลศิริราชและ31 พฤษภาคม
ดูเพิ่มเติม
มหาวิทยาลัยมหิดล
- คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
- คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
- คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
- คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
- มหาวิทยาลัยมหิดล
- มหิดลสิทธาคาร
- วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
- วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล
- ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก
- สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์
- โรงพยาบาลรามาธิบดี
- โรงพยาบาลศิริราช
- โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์
- โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน
เขตบางกอกน้อย
- คลองคูเมืองธนบุรีฝั่งตะวันตก
- คลองชักพระ
- คลองบางกอกน้อย
- ถนนจรัญสนิทวงศ์
- ถนนพรานนก
- ถนนอรุณอมรินทร์
- ท่าวังหลังและท่าพรานนก
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี
- วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร
- วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร
- วัดอมรินทรารามวรวิหาร
- เขตบางกอกน้อย
- แขวงบ้านช่างหล่อ
- แขวงอรุณอมรินทร์
- แยกบ้านขมิ้น
- แยกบ้านเนิน
- แยกไฟฉาย
- โรงพยาบาลศิริราช
- โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
- วชิรพยาบาล
- ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก
- ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์
- โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
- โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
- โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
- โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
- โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
- โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
- โรงพยาบาลราชวิถี
- โรงพยาบาลรามาธิบดี
- โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- โรงพยาบาลศิริราช
- โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
โรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร
- วชิรพยาบาล
- โรงพยาบาลกรุงเทพ
- โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน
- โรงพยาบาลกลาง
- โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
- โรงพยาบาลตากสิน
- โรงพยาบาลตำรวจ
- โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
- โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
- โรงพยาบาลบีเอ็นเอช
- โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
- โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
- โรงพยาบาลราชวิถี
- โรงพยาบาลรามาธิบดี
- โรงพยาบาลศิริราช
- โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์
- โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ
โรงพยาบาลในประเทศไทย
- ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก
- ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์
- สถาบันบำราศนราดูร
- โรงพยาบาลกุสุมาลย์
- โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
- โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน)
- โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
- โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
- โรงพยาบาลรามาธิบดี
- โรงพยาบาลศรีธัญญา
- โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- โรงพยาบาลศิริราช
- โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
- โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
- โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน
- โรงพยาบาลในประเทศไทย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ร.พ.ศิริราชศาลา 100 ปีศาลาศิริราช 100 ปีศิริราชพยาบาล