โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร

ดัชนี สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร

มเด็จพระเจ้าอุทุมพร (พระราชพงศาวดารพม่าเรียก สุรประทุมราชา) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 32 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และมีพระสมัญญานามว่า ขุนหลวงหาวั.

31 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2301พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขาพระแสนเมืองพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์กรมพระราชวังบวรสถานมงคลกรมหมื่นเทพพิพิธกรมหลวงพิพิธมนตรีกระบวนพยุหยาตราชลมารคการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองมัณฑะเลย์ราชวงศ์บ้านพลูหลวงราชวงศ์โกนบองรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยวีระ ธีรภัทรสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสมเด็จพระเจ้าปราสาททองสุเนตร ชุตินธรานนท์อมรปุระอยุธยาอาณาจักรอยุธยาคำให้การชาวกรุงเก่าประเทศพม่านายจบคชประสิทธิ์นางกุสาวดีไทยโยเดียเจ้าฟ้าพินทวดีเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์เจ้าสามกรม

พ.ศ. 2301

ทธศักราช 2301 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและพ.ศ. 2301 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา

ระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เป็นพงศาวดารสยาม ต้นฉบับเป็นสมุดไทยจำนวน 22 เล่ม เนื้อหาเริ่มตั้งแต่การสถาปนากรุงศรีอยุธยาจนถึง..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา · ดูเพิ่มเติม »

พระแสนเมือง

ระแสนเมือง ทรงครองแคว้นล้านนาโดยมีอาณาเขตอิทธิพลด้านตะวันตกของแคว้นล้านนาเดิมในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2189 - 2202 ในรัชกาลนี้ พม่าเริ่มมีปัญหากับจีนฮ่อซึ่งเป็นกองกำลังของราชวงศ์หมิงที่ถูกขับไล่ลงมาทางใต้โดยราชวงศ์ชิง พระแสนเมือง เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ที่ปกครองโดยพม่า โดยนครถูกยึดครองในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ผู้คนและหญิงสาวในเมืองนั้นถูกกวาดต้อนเป็นอย่างมาก หนึ่งในนั้น คือ เจ้านางสมบุญ (ภายหลังในเป็น พระนางกุสาวดี) ได้เป็นบาทบริจาริกาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และมีพระโอรสด้วยกัน 1 พระองค์ คือ พระเจ้าเสือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและพระแสนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

กรมหมื่นเทพพิพิธ

กรมหมื่นเทพพิพิธ พระนามเดิมคือ พระองค์เจ้าแขก พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ผนวชในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ ต่อมามีความผิดฐานคิดกบฏ จึงถูกเนรเทศออกไปอยู่ที่ลังกา และ เมื่อพระเจ้ามังระส่งกองทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา กรมหมื่นเทพพิพิธได้ทราบว่าพม่าทำการปิดล้อมกรุงศรีอยุธยา จึงได้เดินทางกลับไทย เกลี้ยกล่อมผู้คนทางหัวเมืองชายทะเลภาคตะวันออกเพื่อจะเข้ากู้กรุงศรีฯ แต่ไม่สำเร็จ จึงหนีไปเกลี้ยกล่อม พระยานครราชสีมา เจ้าเมืองนครราชสีมาให้เข้าร่วมช่วยกอบกู้กรุงศรีฯ แต่พระยานครราชสีมาไม่ยอม จึงทำการเกลี้ยกล่อมชาวบ้านบริเวณนั้นให้เข้าร่วมเป็นพวกของพระองค์ และให้ หม่อมเจ้าประยง พระโอรส กับ หลวงมหาพิชัย นำไพร่พลไปลอบสังหารพระยานครราชสีมา และยึดเมืองได้ในที่สุด ต่อมา หลวงแพ่ง น้องพระยานครราชสีมาได้ไปเกณฑ์พลจากเมืองพิมาย เพื่อไปตีเมืองนครราชสีมาเอาเมืองคืน ปรากฏว่ารบชนะ จึงจับกรมหมื่นเทพพิพิธได้ หลวงแพ่งต้องการที่จะประหารชีวิตกรมหมื่นเทพพิพิธเสีย แต่เจ้าพิมายมีความสงสารจึงขอชีวิตไว้ และขอนำกรมหมื่นเทพพิพิธไปคุมไว้ที่เมืองพิมาย แต่เจ้าพิมายจงรักภักดีต่อเจ้ากรุงศรีอยุธยามาก จึงยกกรมหมื่นเทพพิพิธขึ้นเป็นเจ้าแผ่นดินเมืองพิมาย สถาปนาเมืองพิมายเป็นราชธานีต่อจากกรุงศรีอยุธยา ส่วนเจ้าพิมายนั้นนั้นได้ถูกแต่งตั้งให้เป็น เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ผู้สำเร็จราชการบ้านเมืองทั้งหมด หลังจากนั้น เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ก็ได้สังหารหลวงแพ่ง แล้วยึดเมืองนครราชสีมา และ หัวเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวงมารวมกับพิมายทั้งหมด เมืองพิมายมีอาณาเขตตั้งแต่แขวงหัวเมืองตะวันออกฝ่ายดอน ไปจนถึงแดนกรุงศรีสัตนาคนหุตและกรุงกัมพูชาธิบดี ฝ่ายใต้ลงมาถึงเมืองสระบุรีตลอดลำน้ำแควป่าสัก ภายหลังสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงสถาปนา กรุงธนบุรี พระองค์ทรงมีบัญชาให้ พระราชวรินทร์ (ทองด้วง) และ พระมหามนตรี (บุญมา) ยกทัพมาตีชุมนุมของกรมหมื่นเทพพิพิธ กองทัพพิมายของกรมหมื่นเทพพิพิธมิอาจต่อสู้ได้ พระองค์จึงพาครอบครัวหนีไปเมืองเวียงจันทน์ แต่ถูก ขุนชนะ กรมการเมืองนครราชสีมาตามจับตัวได้ทัน จึงนำตัวมาถวายพระเจ้ากรุงธนบุรี ในภายแรกพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงไม่ปรารถนาจะสำเร็จโทษ แต่กรมหมื่นเทพพิพิธไม่ยอมสวามิภักดิ์ต่อพระองค์ พระองค์จึงจำต้องสำเร็จโทษกรมหมื่นเท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและกรมหมื่นเทพพิพิธ · ดูเพิ่มเติม »

กรมหลวงพิพิธมนตรี

กรมพระเทพามาตุ มีพระอิสริยยศเดิมว่า กรมหลวงพิพิธมนตรี หรือ กรมหลวงพิจิตรมนตรี เป็นพระอัครมเหสีน้อยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและกรมหลวงพิพิธมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

กระบวนพยุหยาตราชลมารค

กระบวนเรือ กระบวนพยุหยาตราชลมารค หรือ กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เป็นกระบวนเสด็จพระราชดำเนินทางน้ำที่เป็นราชประเพณีไทยที่มีมาแต่โบราณ โดยมีหลักฐานชัดเจนตั้งแต่สมัยอยุธยา เรือในกระบวนมีการสลักโขนเรือเป็นรูปสัตว์ในเทพนิยาย มีการจัดกระบวนหลายแบบ ที่รู้จักกันดีก็คือ "กระบวนพยุหยาตราเพชรพวง" ดังปรากฏใน ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง ลิลิตพรรณนากระบวนเรือ ประพันธ์โดยเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เมื่อ พ.ศ. 2330 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โดยยึดถือตามแบบแผนเดิมสมัยอยุธยา ประเภทของการเห่เรือ สามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภทคือ การเห่เรือหลวง (การเห่เรือในงานพระราชพิธี) และการเห่เรือเล่น (การเห่เรือเล่นของชาวบ้านในงานต่างๆ) ในปัจจุบันการเห่เรือยังคงอยู่เฉพาะ การเห่เรือหลวง ที่ใช้ในกระบวนพยุหยาตราชลมาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและกระบวนพยุหยาตราชลมารค · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

มัณฑะเลย์

มัณฑะเลย์ (မန္တလေးမြို့ หม่านดะเล้) เป็นอดีตเมืองหลวง และเมืองใหญ่อันดับที่สองของพม่ารองจากนครย่างกุ้ง ตั้งอยู่ในภูมิภาคมัณฑะเลย์ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศเหนือ 716 กิโลเมตร ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เป็นราชวงศ์ที่ 5 และเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรอยุธยาก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและราชวงศ์บ้านพลูหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โกนบอง

ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

วีระ ธีรภัทร

วีระ ธีรภัทร (ใส่แว่น) วีระ ธีรภัทร นักจัดรายการวิทยุ นักเขียน คอลัมนิสต์ และพิธีกรชาวไทย ผู้มีลีลาและเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและวีระ ธีรภัทร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าว่า สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 29 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สองแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองร..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

มเด็จพระบรมราชา (ที่ 3) หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หรือ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 33 และเป็นรัชกาลสุดท้ายแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

มเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ พ.ศ. 2172 - 2199) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 24 แห่งอาณาจักรอยุธยา และทรงเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ปราสาททอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง · ดูเพิ่มเติม »

สุเนตร ชุตินธรานนท์

ตราจารย์ สุเนตร ชุตินธรานนท์ นักประวัติศาสตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสุเนตร ชุตินธรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อมรปุระ

อมรปุระ เป็นเมืองที่อยู่ทางตอนใต้ของเมืองมัณฑะเลย์ออกไป 12 กิโลเมตร นับเป็นอีกหนึ่งเมืองของพม่าที่ยังคงมนต์ขลังมาจนปัจจุบัน ซึ่งสามารถสัมผัสได้จากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ รวมไปถึงอารยธรรมอันเก่าแก่ของเมืองที่สามารถพบเห็นได้จากเหล่าวัดอารามและเจดีย์ที่ตั้งเรียงรายอยู่รอบๆตัวเมือง วัดมหากันดายน (Maha Gandhayon Kyaung) วัดที่ตั้งอยู่ริมทะเลสาบตองตะมาน (Taungthaman Lake) วัดมหากันดายน เป็นวิทยาลัยสงฆ์ที่ใหญ่ที่สุดของพม่า มีภิกษุและสามเณรมาศึกษาเล่าเรียนทางธรรมกว่า 1,200 คน นอกจากนี้แล้วยังมีพระสงฆ์บางส่วนเป็นพระชาวต่างชาติที่มาจากหลายๆประเทศได้แก่ ยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่น ฯลฯ ทะเลสาบตองตะมานมี สะพานอูเบ็ง (U Bein Bridge) สะพานไม้สักที่ยาวที่สุดในโลก สะพานไม้อูเบ็งทอดข้ามทะเลสาบตองตะมานซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของเมืองอมรปุระ มุ่งตรงไปสู่เจดีย์เจ๊าตอว์กยี (Kyautawgyi Paya) ซึ่งอยู่อีกฝากหนึ่งของทะเลสาบรวมระยะทางยาวกว่า 1.2 กิโลเมตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและอมรปุระ · ดูเพิ่มเติม »

อยุธยา

อยุธยา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การชาวกรุงเก่า

ำให้การชาวกรุงเก่า เป็นหนังสือพงศาวดารบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยโดยเฉพาะช่วงอาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร จนกระทั่งเสียแก่พม่าใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและคำให้การชาวกรุงเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

นายจบคชประสิทธิ์

นายจบคชประสิทธิ์ เป็นกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขพระองค์แรกแห่งกรุงศรีอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและนายจบคชประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นางกุสาวดี

นางกุสาวดี เป็นพระราชธิดาของพระเจ้าเชียงใหม่ ได้เป็นสนมในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่หลังจากนางตั้งครรภ์ได้ทรงยกให้เป็นภรรยาของสมเด็จพระเพทราชา ส่วนพระราชโอรสนั้นต่อมาได้ขึ้นครองราชเป็นพระเจ้าสุริเยนทราธิบดี (พระเจ้าเสือ).

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและนางกุสาวดี · ดูเพิ่มเติม »

ไทยโยเดีย

วโยดายา หรือ ชาวอยุธยาในพม่า (โยดายา หลุ มฺโย) เป็นคำที่เรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีบรรพบุรุษเป็นเป็นชาวไทยสยามจากอาณาจักรอยุธยา ซึ่งอพยพเข้ามาประเทศพม่า มีทั้งอพยพไปพึ่งพระบรมโพธิสมภารกษัตริย์พม่าโดยสมัครใจ บ้างก็เป็นเชลยซึ่งถูกกวาดต้อนเมื่อเกิดสงคราม เมื่อเวลาผ่านไปหลายศตวรรษ ชาวอยุธยาในพม่าค่อย ๆ ผสมปนเปไปกับสังคมพม่า บ้างก็โยกย้ายจากถิ่นฐานเดิม พวกเขาเลิกพูดภาษาไทยและหันไปพูดภาษาพม่า จนกระทั่งทิน มอง จี นักวิชาการชาวพม่าผู้มีเชื้อสายโยดายาเขียนบทความสั้นชื่อ "สุสานกษัตริย์ไทย" (A Thai King’s Tomb) ก่อนปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและไทยโยเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าพินทวดี

้าฟ้าพินทวดี (พ.ศ. 2250 - พ.ศ. 2344) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศกับกรมหลวงพิพิธมนตรี พระองค์ทรงเป็นเจ้านายในสมัยกรุงศรีอยุธยาเพียงไม่กี่พระองค์ที่มีพระชนมายุยืนยาวมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งพระองค์มีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดราชประเพณีในราชสำนักฝ่ายในตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาสู่ราชสำนักรัตนโกสินทร์ ทำให้ประเพณีโบราณไม่สูญหายไป.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและเจ้าฟ้าพินทวดี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งมีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ หรือพระนามที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า เจ้าฟ้ากุ้ง เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมหลวงอภัยนุชิต พระองค์มีพระปรีชาสามารถหลายด้าน โดยเฉพาะด้านวรรณกรรมนั้น ทรงพระนิพนธ์วรรณกรรมไว้หลายเรื่อง เช่น กาพย์เห่เรือ นันโทปนันทสูตรคำหลวง พระมาลัยคำหลวง เนื่องจากพระองค์ลักลอบเป็นชู้กับพระสนมของพระราชบิดาจึงต้องพระอาญาให้เฆี่ยน เป็นเหตุให้พระองค์เสด็จสวรรคตในที.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสามกรม

้าสามกรม เป็นคำเรียกพระราชโอรส 3 พระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่ประสูติแต่พระสนม ได้แก่ กรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ และ กรมหมื่นเสพภักดี พระองค์เจ้าทั้ง 3 พระองค์เป็นพระราชโอรสที่มีพระชันษาเป็นผู้ใหญ่และมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสด็จสวรรคตของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) ภายหลังการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าสามกรมถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ทั้ง 3 พระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและเจ้าสามกรม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระเจ้าอุทุมพรขุนหลวงหาวัดเจ้าฟ้ากรมขุนพรพินิตเจ้าฟ้าอุทุมพรเจ้าฟ้าดอกเดื่อ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »