สารบัญ
34 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหากษัตริย์ไทยพระสุนทรโวหาร (ภู่)พระที่นั่งสรรเพชญปราสาทพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์พระแสนเมืองพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พระเจ้ามังระพระเจ้าอลองพญากรมพระราชวังบวรสถานมงคลกรมหลวงพิพิธมนตรีกรมขุนวิมลพัตรกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองราชวงศ์บ้านพลูหลวงรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยวัดประดู่ทรงธรรมวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112วิหารพระมงคลบพิตรสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรสมเด็จพระเจ้าปราสาททองสุเนตร ชุตินธรานนท์สงครามพระเจ้าอลองพญาอมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่งอาณาจักรอยุธยาคำให้การชาวกรุงเก่านายจบคชประสิทธิ์นายทองสุกนางกุสาวดีแคว้นล้านนา
- ชาวไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 18
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2310
- พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
- พระมหากษัตริย์ไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 18
- เจ้าฟ้าชาย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมหากษัตริย์ไทย
ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และพระมหากษัตริย์ไทย
พระสุนทรโวหาร (ภู่)
ระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เป็นอาลักษณ์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงเชิงกวี ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็นอาลักษณ์ราชสำนักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้นรัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชำนาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของวรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ เรื่อง ปี..
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และพระสุนทรโวหาร (ภู่)
พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท
ระที่นั่งสรรเพชญปราสาท (จำลอง) ภายในเมืองโบราณ พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท หรือ พระที่นั่งสรรเพชญมหาปราสาท คือพระที่นั่งองค์หนึ่งในเขตพระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองมาก เป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจของราชอาณาจักรอยุธยา พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีสำคัญของราชสำนักและเป็นที่รับแขกบ้านแขกเมืองของพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รับราชทูต ฯลฯ แต่พระที่นั่งองค์นี้เสียหายทั้งองค์เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และพระที่นั่งสรรเพชญปราสาท
พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง สร้างลอกแบบจากพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นเป็นปราสาทจตุรมุข ยกพื้นสูงกว่าพระที่นั่งองค์อื่นๆ สามารถมองเห็นข้ามกำแพงวังไปเห็นแม่น้ำ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงใช้เป็นที่ประทับทอดพระเนตร กระบวนพยุหยาตราชลมารค และการซ้อมกระบวนยุทธ์ทางน้ำ เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคต สมเด็จพระเพทราชาโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระบรมศพจากเมืองลพบุรีมาไว้ที่นี่ หมวดหมู่:พระราชวังโบราณ อยุธยา สุริยาศน์อมรินทร์ หมวดหมู่:อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
พระแสนเมือง
ระแสนเมือง ทรงครองแคว้นล้านนาโดยมีอาณาเขตอิทธิพลด้านตะวันตกของแคว้นล้านนาเดิมในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และพระแสนเมือง
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
พระเจ้ามังระ
ระเจ้ามังระ หรือ พระเจ้าซินพะยูชิน (ဆင်ဖြူရှင်; Hsinbyushin.) เป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ในจำนวน 6 พระองค์ของพระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์อลองพญาหรือราชวงศ์คองบอง ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์อลองพญา ในปี..
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และพระเจ้ามังระ
พระเจ้าอลองพญา
ระบรมราชานุสาวรีย์ของพระเจ้าอลองพญาที่หน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติใน นครย่างกุ้ง พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าอลองพญา พระเจ้าอลองพญา หรือ พระเจ้าอลองพญารี (Alaungpaya, အလောင်းမင်းတရား พระนามของพระองค์ออกสำเนียงเป็นภาษาพม่าว่า "อลองเมงตะยาจี" หรือ "อลองพะ" มีความหมายว่า "พระโพธิสัตว์"; สิงหาคม ค.ศ.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และพระเจ้าอลองพญา
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
กรมหลวงพิพิธมนตรี
กรมพระเทพามาตุ มีพระอิสริยยศเดิมว่า กรมหลวงพิพิธมนตรี หรือ กรมหลวงพิจิตรมนตรี เป็นพระอัครมเหสีน้อยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และกรมหลวงพิพิธมนตรี
กรมขุนวิมลพัตร
กรมขุนวิมลพัตรประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 177 หรือ กรมขุนวิมวัต เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และเป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระองค์ถูกกวาดต้อนไปประทับ ณ พระราชวังหลวงอังวะจนกระทั่งสวรรคตพระราชพงศาวดารพม่า, หน้า 1135.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และกรมขุนวิมลพัตร
กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)
กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง
ราชวงศ์บ้านพลูหลวง
ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เป็นราชวงศ์ที่ 5 และเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรอยุธยาก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี..
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และราชวงศ์บ้านพลูหลวง
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
วัดประดู่ทรงธรรม
วัดประดู่ทรงธรรม สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพระนครศรีอยุธยา ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเมือง บริเวณกลุ่มวัดในเขตอโยธยา เดินทางโดยรถยนต์ตามเส้นทางถนนจากวงเวียนเจดีย์วัดสามปลื้มไปทางทิศเหนือ.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และวัดประดู่ทรงธรรม
วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112
วิกฤตการณ์ ร..
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112
วิหารพระมงคลบพิตร
วิหารพระมงคลบพิตร เป็นวัดอารามหลวงตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางทิศใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ มีจุดเด่นที่สำคัญคือเป็นวัดเก่าแก่ในเขตกำแพงเมือง ที่ได้รับการบูรณะอย่างดี ภายในวิหารมีพระมงคลบพิตร พระพุทธรูปประธานขนาดใหญ่ที่เสียหายตั้งแต่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง แต่ได้รับการบูรณะใหม่ทั้งหมด ด้วยทองสำริดหุ้มทองตามปัจจุบัน.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และวิหารพระมงคลบพิตร
สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8
มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าว่า สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 29 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สองแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองร..
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
มเด็จพระเจ้าอุทุมพร (พระราชพงศาวดารพม่าเรียก สุรประทุมราชา) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 32 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และมีพระสมัญญานามว่า ขุนหลวงหาวั.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
มเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ พ.ศ. 2172 - 2199) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 24 แห่งอาณาจักรอยุธยา และทรงเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ปราสาททอง.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
สุเนตร ชุตินธรานนท์
ตราจารย์ สุเนตร ชุตินธรานนท์ นักประวัติศาสตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไท.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และสุเนตร ชุตินธรานนท์
สงครามพระเจ้าอลองพญา
งครามพระเจ้าอลองพญา เป็นชื่อเรียกความขัดแย้งทางทหารครั้งแรกระหว่างอาณาจักรโกนบองแห่งพม่า กับอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์บ้านพลูหลวง สงครามครั้งนี้เป็นการจุดชนวนการสงครามนานหลายศตวรรษระหว่างทั้งสองรัฐขึ้นอีกครั้ง ซึ่งจะกินเวลานานไปอีกหนึ่งศตวรรษข้างหน้า ฝ่ายพม่านั้นอยู่ที่ "ขอบแห่งชัยชนะ" แล้วเมื่อจำต้องถอนกำลังจากการล้อมอยุธยา เนื่องจากพระเจ้าอลองพญาถูกระเบิดปืนใหญ่สิ้นพระชนม์ พระองค์สวรรคตและทำให้สงครามครั้งนี้ยุติลง ความต้องการครอบครองชายฝั่งตะนาวศรีและการค้าขายในแถบนี้เป็นชนวนเหตุของสงครามBaker, et al, p.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และสงครามพระเจ้าอลองพญา
อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง
ริษัท อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจทางด้านการรับจ้างพิมพ์งานสิ่งพิมพ์สอดสีให้แก่บริษัท ห้างร้าน หน่วยราชการ และสถาบันเอกชนต่าง ๆ ในรูปของหนังสือ แผ่นพับ แคตตาลอค ปฏิทิน โฟลเดอร์ โปสการ์ด เข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และอมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และอาณาจักรอยุธยา
คำให้การชาวกรุงเก่า
ำให้การชาวกรุงเก่า เป็นหนังสือพงศาวดารบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยโดยเฉพาะช่วงอาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร จนกระทั่งเสียแก่พม่าใน..
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และคำให้การชาวกรุงเก่า
นายจบคชประสิทธิ์
นายจบคชประสิทธิ์ เป็นกรมพระราชวังบวรสถานพิมุขพระองค์แรกแห่งกรุงศรีอ.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และนายจบคชประสิทธิ์
นายทองสุก
นายทองสุก หรือมักรู้จักในชื่อ สุกี้พระนายกอง หรือ สุกี้ เป็นชาวไทยเชื้อสายมอญ มีถิ่นฐานอยู่ ณ บ้านโพธิ์สามต้น.
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และนายทองสุก
นางกุสาวดี
นางกุสาวดี เป็นพระราชธิดาของพระเจ้าเชียงใหม่ ได้เป็นสนมในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่หลังจากนางตั้งครรภ์ได้ทรงยกให้เป็นภรรยาของสมเด็จพระเพทราชา ส่วนพระราชโอรสนั้นต่อมาได้ขึ้นครองราชเป็นพระเจ้าสุริเยนทราธิบดี (พระเจ้าเสือ).
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และนางกุสาวดี
แคว้นล้านนา
แคว้นล้านนา เป็นอาณาจักรอันเป็นประเทศราชของราชวงศ์ตองอู และ อยุธยา ช่วงระหว่างปี..
ดู สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์และแคว้นล้านนา
ดูเพิ่มเติม
ชาวไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 18
- กรมหลวงโยธาเทพ
- ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร
- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
- พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
- พระยาธรรมลังกา
- พระเจ้ากาวิละ
- สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
- สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี
- สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
- สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
- สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
- สมเด็จพระเพทราชา
- หยง แซ่แต้
- เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)
- เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2310
- มังมหานรธา
- สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
- ขุนวรวงศาธิราช
- สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
- สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
- สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4
- สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
- สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
- สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
- สมเด็จพระมหินทราธิราช
- สมเด็จพระยอดฟ้า
- สมเด็จพระรัษฎาธิราช
- สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
- สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
- สมเด็จพระราเมศวร
- สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา
- สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์
- สมเด็จพระอาทิตยวงศ์
- สมเด็จพระอินทราชา
- สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
- สมเด็จพระเจ้าทองลัน
- สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
- สมเด็จพระเจ้ารามราชา
- สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
- สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
- สมเด็จพระเชษฐาธิราช
- สมเด็จพระเพทราชา
- สมเด็จพระเอกาทศรถ
- สมเด็จพระไชยราชาธิราช
- สมเด็จเจ้าฟ้าไชย
พระมหากษัตริย์ไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 18
- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
- พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)
- พระวิไชยราชสุริยวงษขัติยราช
- พระเจ้ากาวิละ
- สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
- สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
- สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
- สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
- สมเด็จพระเพทราชา
- เจพูตราย
- เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (หนู)
- เจ้าองค์คำ
เจ้าฟ้าชาย
- พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
- สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
- สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร
- สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์
- สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
- สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์
- สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์
- สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
- สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
- สมเด็จพระเชษฐาธิราช
- สมเด็จเจ้าฟ้าไชย
- เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ กรมขุนอนุรักษ์มนตรีสมเด็จพระบรมราชาที่ 3สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเอกทัศน์สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์พระเจ้าอยู่หัวเอกทัศน์พระเจ้าเอกทัศพระเจ้าเอกทัศน์ขุนหลวงขี้เรื้อน