สารบัญ
104 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2466พ.ศ. 2467พ.ศ. 2468พ.ศ. 2470พ.ศ. 2480พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2490พ.ศ. 2493พ.ศ. 2496พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2502พ.ศ. 2503พ.ศ. 2506พ.ศ. 2507พ.ศ. 2508พ.ศ. 2509พ.ศ. 2513พ.ศ. 2515พ.ศ. 2518พ.ศ. 2521พ.ศ. 2524พ.ศ. 2528พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2538พ.ศ. 2542พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2552พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระพิฆเนศพระราชบัญญัติพระราชลัญจกรประจำรัชกาลพระปรมาภิไธยพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติกรมสามัญศึกษากรุงเทพมหานครกฤษฎา จันทร์ดีมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย... ขยายดัชนี (54 มากกว่า) »
- มหาวิทยาลัยราชภัฏ
- สิ่งก่อสร้างในอำเภอเมืองเชียงใหม่
พ.ศ. 2466
ทธศักราช 2466 ตรงกั.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2466
พ.ศ. 2467
ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2467
พ.ศ. 2468
ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2468
พ.ศ. 2470
ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2470
พ.ศ. 2480
ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2480
พ.ศ. 2484
ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2484
พ.ศ. 2485
ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2485
พ.ศ. 2490
ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2490
พ.ศ. 2493
ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2493
พ.ศ. 2496
ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2496
พ.ศ. 2498
ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2498
พ.ศ. 2499
ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2499
พ.ศ. 2502
ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2502
พ.ศ. 2503
ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2503
พ.ศ. 2506
ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2506
พ.ศ. 2507
ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2507
พ.ศ. 2508
ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2508
พ.ศ. 2509
ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2509
พ.ศ. 2513
ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2513
พ.ศ. 2515
ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2515
พ.ศ. 2518
ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2518
พ.ศ. 2521
ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2521
พ.ศ. 2524
ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2524
พ.ศ. 2528
ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2528
พ.ศ. 2534
ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2534
พ.ศ. 2535
ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2535
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2538
พ.ศ. 2542
ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2542
พ.ศ. 2546
ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2546
พ.ศ. 2547
ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2547
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2552
พ.ศ. 2555
ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2555
พ.ศ. 2557
ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพ.ศ. 2557
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระพิฆเนศ
ระคเณศ (गणेश பிள்ளையார் Ganesha) ชาวไทยนิยมเรียกว่า พระพิฆเนศ (विघ्नेश) พระพิฆเณศวร พระพิฆเณศ หรือ พระคณปติ ทรงเป็นเทพในศาสนาฮินดู ทรงเป็นเทพแห่งความสำเร็จ ทั้งยังทรงเป็นเทพแห่งศิลปวิทยาการและการประพันธ์ ทรงเป็นหัวหน้านำคณะข้ามความขัดข้อง (ผู้เป็นใหญ่เหนือความขัดข้อง).
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพระพิฆเนศ
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตามปรกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ นอกจากรัฐธรรมนูญ ก่อนประกาศใช้บังคับ พระราชบัญญัติมีอยู่ชนิดเดียว แต่บัดนี้รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติให้มีพระราชบัญญัติขึ้นอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ” ซึ่งรัฐธรรมนูญฯ บังคับให้ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในกรณีบางเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพระราชบัญญัติ
พระราชลัญจกรประจำรัชกาล
ระราชลัญจกรประจำรัชกาล เป็นตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แต่ละรัชกาล ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อเริ่มต้นรัชกาล เพื่อประทับกำกับพระปรมาภิไธย ในเอกสารสำคัญต่างๆ ของชาติ ที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน เช่น รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา และเอกสารสำคัญส่วนพระองค์ ที่ไม่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน พระราชลัญจกรนับเป็นเครื่องมงคลที่แสดงถึงอิสริยยศและพระบรมเดชานุภาพของพระมหากษัตร.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพระราชลัญจกรประจำรัชกาล
พระปรมาภิไธย
ระปรมาภิไธย อาจหมายถึง.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพระปรมาภิไธย
พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ
ระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ (ประสูติ 29 เมษายน พ.ศ. 2548) เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร กับท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี ถือเป็นพระรัชทายาทโดยสันนิษฐานตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ
กรมสามัญศึกษา
กรมสามัญศึกษา (อังกฤษ: Department of General Education) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2459 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีหน้าที่จัดการศึกษาสามัญ ปัจจุบันถูกยุบรวมเข้ากับสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) เป็น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และกรมสามัญศึกษา
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และกรุงเทพมหานคร
กฤษฎา จันทร์ดี
กฤษฎา จันทร์ดี ชื่อเล่น บิ๊ก (เกิด 29 มีนาคม 2534) เป็นนักร้องและนักแต่งเพลงชาวไทย เจ้าของตำแหน่งชนะเลิศจากรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 12 ปัจจุบันมีผลงานกับทางจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และกฤษฎา จันทร์ดี
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม "ราชภัฏ" จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเท.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (Pibulsongkram Rajabhat University; อักษรย่อ: มรพส. / PSRU) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก เริ่มก่อนตั้งขึ้นในปี..
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (Kamphaengphet Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่ตำบลนครชุม อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (Lampang Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางมีชื่อเดิมว่า "วิทยาลัยครูลำปาง" ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2514 ตั้งอยู่เลขที่ 119 ถนนลำปาง-แม่ทะ บ้านหนองหัวหงอก หมู่ที่ 9 ตำบลชมพู อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง 52100.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (Suan Sunandha Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ถูกจัดอันดับมหาวิทยาลัยให้เป็นราชภัฏอันดับ 1 จากการจัดอันดับของสภาวิจัยจากประเทศสเปน สหภาพยุโรป และได้รับการติดจาก QS Star ประเทศอังกฤษ ในระดับ 2 ดาว ซึ่งหมายความว่าเป็นที่พูดถึงในระดับนานาชาติจำนวนมาก เป็นที่รู้จักในวงกว้างของสถาบันที่นำเสนองานวิจัยระดับนานาชาติ (เป็นราชภัฏเพียงแห่งเดียวจาก 38 แห่งทั่วประเทศไทยที่ได้รับการติดดาวQS) นอกจากนี้ยังมี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ได้รับดาวจาก QS โดยสวนสุนันทาตั้งเป้าไว้ที่จะได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกจาก QS ซึ่งเป็นที่ยอมรับในสากลเรื่องของการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีรากฐานมาจากการสถาปนา "โรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัย" เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (Uttaradit Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกและเพียงแห่งเดียวที่ตั้งอยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (Nakhon Sawan Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่ ตำบลนครสวรรค์ตก อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ เปิดทำการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตร ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (Chiang Rai Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พุทธศักราช 2512 ในนามชื่อ "โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา วิทยาเขตจังหวัดเชียงราย" จนกระทั่งถึงปี พุทธศักราช 2516 เปลี่ยนมาเป็น "วิทยาลัยครูเชียงราย".
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ (Phetchabun Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Suan Dusit University) จาก โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย สู่การเป็น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เป็นสถาบันที่มีชื่อเสียงทางด้าน การศึกษาปฐมวัย คหกรรมศาสตร์ ธุรกิจบริการ ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการบิน และ " โรงเรียนกฎหมายและการเมือง ".
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยแม่โจ้
มิสไทยแลนด์เวิลด์
มิสไทยแลนด์เวิลด์ (Miss Thailand World) เป็นชื่อของเวทีการประกวดนางงามในประเทศไทย จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยบริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ผู้ดำเนินกิจการสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นตัวแทนประเทศไทย เข้าประกวดนางงามโลก (Miss World) ซึ่งมีคำขวัญประจำการประกวดว่า งามอย่างมีคุณค่า (Beauty with a Purpose) และตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมิสไทยแลนด์เวิลด์
มิสเตอร์โกลบอล
มิสเตอร์โกลบอล (Mister Global) เป็นการประกวดความงามชายก่อตั้งขึ้นในปี..
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมิสเตอร์โกลบอล
มณฑลพายัพ
มณฑลพายัพ เป็นมณฑลหนึ่งในการปกครองส่วนภูมิภาคระบบมณฑลเทศาภิบาลของราชอาณาจักรสยาม ครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือตอนบน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และมณฑลพายัพ
ราชกิจจานุเบกษา
ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และราชกิจจานุเบกษา
วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
วิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (Maehongson College, ChiangMai Rajabhat University) เป็น วิทยาลัย สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อวันที่24 กันยายน พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และวิทยาลัยแม่ฮ่องสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ศรีรัศมิ์ สุวะดี
ลตรีหญิง ท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี (9 ธันวาคม พ.ศ. 2514) หรือเดิม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และศรีรัศมิ์ สุวะดี
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
สีกรมท่า
ีกรมท่า (Navy Blue) (อ่านว่า สี-กฺรม-มะ -ท่า)เป็นหนึ่งในกลุ่มสีโทนเย็น เป็นโทนออกสีน้ำเงินเข้ม เรียกตามสีเครื่องแบบของข้าราชการกรมท่าแต่ในอดีต สังกัดกรมพระคลัง มีหน้าที่เกี่ยวกับการทูต การปกครองเมืองท.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และสีกรมท่า
สีส้ม
ีส้ม เป็นหนึ่งในกลุ่มสีโทนร้อน แสงสีส้มที่มองเห็นได้มีความยาวคลื่นราว 590 นาโนเมตร สีเพลิง เป็น รูปลักษณ์ของสีออกคล้ายสีแสด ซึ่งมีความเข้มกว่าสีส้ม.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และสีส้ม
สีทอง
สีทอง เป็นสีเหลืองแกมส้ม และเป็นสีของทองคำในธรรมชาติ ทอง.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และสีทอง
สีขาว
ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และสีขาว
สีดำ
ีดำ เป็นสีของวัตถุที่ไม่สะท้อนแสงที่สเปกตรัมสะท้อนออกมา วัตถุสีดำจะดูดกลืนทุกสีในสเปกตรัม จึงไม่สะท้อนสีใด ๆ ออกมาเลย หลายคนคิดว่าสีดำคือ "การผสมทุกสีเข้าด้วยกัน" แต่ความเป็นจริงแล้ว สีที่สามารถสะท้อนแสงคืนได้หมดทุกสีคือ สีขาว บางครั้งสีดำบ่งบอกถึงความว่างเปล่า และไม่มีสีสัน แต่สีดำเป็นสีสีหนึ่ง สามารถบ่งบอกคุณลักษณ์ต่างๆ ของวัตถุ เช่น แมวสีดำ หรือภาพศิลป์สีดำ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และสีดำ
สีน้ำเงิน
ีน้ำเงิน เป็นหนึ่งในแม่สี ทั้งแม่สีทางแสง และทางวัตถุธาตุ เป็นแม่สีที่มีความยาวคลื่นต่ำที่สุด แสงสีน้ำเงินมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 440-490 นาโนเมตร เป็นสีที่ใกล้เคียงกับสีฟ้าและสีกรมท่า และถือเป็น 1 ในแม่สีร่วมกับ สีแดง และสีเขียว สีน้ำเงิน เป็นสีในกลุ่มสีโทนเย็น สีน้ำเงินเป็นสีที่สร้างความสุขุมเยือกเย็น หนักแน่นและละเอียดรอบคอบ ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดีอีกด้วย ขณะที่สีฟ้าให้ความรู้สึกแบบเดียวกับสีเขียว คือ สบายตา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ ปลอดโปร่ง โล่งใจ ลดความร้อนรุ่มกระวนกระวายใจลงได้.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และสีน้ำเงิน
สีเหลือง
ีเหลือง เป็น 1 ใน 3 แม่สี ร่วมกับสีแดง และสีน้ำเงิน โดยปกติสีจะมีอยู่สองโทน คือ สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น แต่สีเหลืองเป็นสีที่อยู่ตรงกลางระหว่าง สีโทนร้อน และ สีโทนเย็น จึงสามารถเลือกใช้สีเหลืองเข้าไปผสมผสานได้กับสีทั้งสองโทน ซึ่งนอกจากสีเหลืองแล้วยังมีสีม่วงอีกสีหนึ่งที่มีลักษณะดังกล่าว.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และสีเหลือง
สีเขียว
ีเขียว เป็นสีสีหนึ่งบนคลื่นที่ตามองเห็น ตั้งอยู่ระหว่างสีน้ำเงินและสีเหลือง สีเขียวเกิดจากแสงที่ความยาวคลื่นประมาณ 495-570 นาโนเมตร สีเขียวในแม่สีเชิงลบที่ใช้สำหรับระบายสีและพิมพ์สีเกิดจากสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงิน หรือสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงินอมเขียว ในระบบสี RGB ที่พบในโทรทัศน์และจอคอมพิวเตอร์ เป็นสีที่มาจากแม่สีเชิงบวก ร่วมกับสีแดงและสีน้ำเงิน ซึ่งต่างก็ผสมกันจนกลายเป็นสีอื่น ๆ ได้ ในภาษาอังกฤษใหม่ คำว่า green (สีเขียว) มาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า grene จากรากศัพท์ภาษาเยอรมันเดียวกันกับคำว่าคำว่า "grass" และ "grow" สีเขียวเป็นสีของการปลูกหญ้าและใบไม้ ด้วยเหตุนี้สีเขียวจึงเป็นสีของฤดูใบไม้ผลิ ความเจริญเติบโต และธรรมชาติEva Heller, Psychologie de la couleur- effets et symboliques.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และสีเขียว
สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
้รับรางวัลโนเบลมาก แห่งหนึ่งในโลก สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ มหาวิทยาลัยรัฐ คือ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับอุดหนุนงบประมาณส่วนใหญ่จากรัฐ โดยผ่านรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลท้องถิ่น ในประเทศไทย หมายถึงสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (เดิมคือ ทบวงมหาวิทยาลัย) ประกอบด้วยทั้ง มหาวิทยาลัยจำกัดรับในระบบราชการ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ฯลฯ มหาวิทยาลัยจำกัดรับนอกระบบราชการ (สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล) เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยไม่จำกัดรับ ได้แก่ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสหรัฐอเมริกา วิธีการสมัครเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน ไม่แตกต่างกัน สิ่งที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือค่าเรียน ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐชั้นนำในสหรัฐอเมริกาคือ พับลิกไอวี โดยเปรียบเทียบกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำ ในสหราชอาณาจักร สถาบันอุดมศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ยกเว้นเพียงแห่งเดียว คือมหาวิทยาลัยบัคกิ้งแฮม.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
อักษรย่อ
อักษรย่อ หรือ คำย่อ หรือ รัสพจน์ เป็นการนำอักษรบางตัวในคำหนึ่งๆ ใช้เรียกแทนคำเต็ม โดยมากจะเป็นพยัญชนะ อาจใส่จุดหรือไม่ใส่หลังอักษรนั้นๆ นิยมนำอักษรต้นพยางค์ แต่บางครั้งก็มีการใช้อักษรท้ายพยางค์ก็มี และบางครั้งอักษรย่อก็สามารถอ่านได้เป็นพยางค์ใหม่ ในภาษาไทย เมื่ออักษรย่อมีตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะใส่จุดที่ตัวสุดท้ายเพียงจุดเดียว (ไม่ใส่ทีละอักษร) ยกเว้นบางตัวที่เคยมีใช้กันมาก่อนจนเป็นที่ยอมรับแล้ว เช่น น..
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และอักษรย่อ
อำเภอสันป่าตอง
ันป่าตอง (50px) เป็นอำเภอเล็ก ๆ อำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศใต้ 22 กิโลเมตร มีความเจริญเติบโตทางด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาและเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ ส่งผลให้มีความพร้อมในตัวเองทั้งด้านคุณภาพทางการศึกษา การแพทย์ การกีฬา การเกษตร และบุคลากรที่มีคุณ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และอำเภอสันป่าตอง
อำเภอแม่ริม
แม่ริม (40px) เป็นอำเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหม่ที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีความพร้อมทุก ๆ ด้าน จนเป็นอำเภอขนาดใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นอำเภอที่ตั้งของศูนย์ราชการที่สำคัญของจังหวัดเชียงใหม่ มีการขยายตัวของชุมชนเมืองที่รองรับความเจริญเติบโตของนครเชียงใหม่ ปัจจุบันมีการขยายตัวของการท่องเที่ยว ทั้งโรงแรมและรีสอร์ตที่ถือว่ามากที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งอำเภอแม่ริมเป็นอำเภอที่รองรับความเจริญของนครเชียงใหม่เพื่อขยายไปยังศูนย์กลางความเจริญทางตอนเหนือของจังหวัดเชียงใหม่ และเป็นทางผ่านเพื่อไปยังอำเภอปาย ทำให้อำเภอแม่ริมมีสภาพเศรษฐกิจดี มีการคมนาคมที่คับคั่ง รองจากอำเภอหางดง และเป็นเมืองท่องเที่ยวที่ใกล้เมืองเชียงใหม่มากที.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และอำเภอแม่ริม
ผู้มีชื่อเสียง
มารายห์ แครีและโรเบิร์ต เดอนีโร ผู้มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ ผู้มีชื่อเสียง (celebrity) หรือเรียกกันว่า คนดัง, ดารา หมายถึงบุคคลที่โด่งดัง มีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักในสังคม ผู้มีชื่อเสียงมีหลายระดับหลากหลายกันไปขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่หรืออาจรวมถึงผู้มีชื่อเสียงที่มีชื่อเสียงไม่ดี ขณะที่บางคนอาจเป็นคนมีชื่อเสียงกับบางคน ในขณะที่อาจจะไม่เป็นที่รู้จักกับบางคน ยกตัวอย่างเช่น ริชาร์ด แบรนสัน ผู้บริหารบริษัทเวอร์จิ้น เป็นที่รู้จักในฐานะประธานเจ้าหน้าที่บริหาร แต่ไม่ใช่เป็นผู้มีชื่อเสียงที่รู้จักกันทั่วไป จนกระทั่งเขาพยายามเดินเรือรอบโลกโดยใช้บัลลูน ทำให้เป็นที่รู้จักต่อสาธารณะ ผู้มีชื่อเสียงอีกประเภทหนึ่งที่เป็นเป้าสายตาของสาธารณชน คือพวกที่เรียกว่า เอ-ลิสต์ (A-list) วัดจากด้านการตลาด สื่อของประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ มักจะพูดถึงผู้มีชื่อเสียงว่าเป็น เอ-ลิสต์ บี-ลิสต์ ดี-ลิสต์ หรือแซด-ลิสต์ เป็นการวัดระดับความสำคัญ อย่างไรก็ตามระดับนี้ก็มีความแตกต่างกันไปตามท้องที่ เป็นการยากที่จะแบ่งประเภท ดาราดังในนิการากัว อาจจะเป็นผู้มีชื่อเสียง บี-ลิสต์ ในสหรัฐอเมริกา แต่อาจจะเป็นดารา เอ-ลิสต์ ในสาธารณรัฐเชคก็ได้ วิธีในการวัดความดังในประเทศจาก เอ-ลิสต์ ไป เอช-ลิสต์ สามารถพิจารณาได้จากยอดจากค้นหาในกูเกิ้ล เช่นกัน แต่วิธีนี้ก็เป็นการวัดเชิงปริมาณ ใช้การสำหรับชื่อที่เป็นคนที่มีชื่อไม่มีคนใช้ชื่อซ้ำเยอะ โดยทั่วไปแล้ว ผู้มีชื่อเสียงคือคนที่ทำให้เป็นที่สนใจของสื่อและโดยมากจะเป็นคนเปิดเผย ความต้องการเป็นที่รู้จักมีนัยยะไปในส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมตะวันตก โดยเฉพาะความฝันอเมริกัน ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่วัดความสำเร็จ นอกจากนี้ยังมีคนที่ไต่เต้าความดังโดยการนำชีวิตส่วนตัวมาเปิดเผยให้เป็นที่รู้จัก อย่างเช่นความสัมพันธ์หลอก ๆ การปรากฏตัวในรายการเรียลลิตี้ การมีภาพโป๊หรือที่แย่กว่านั้นคือเทปลับ ในศตวรรษที่ 20 ความหลงใหลต่อผู้มีชื่อเสียงอย่างไม่มีขีดจำกัดบวกกับความปรารถนาในเรื่องซุบซิบผู้มีชื่อเสียง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดคอลัมน์กอสซิป แท็บลอยด์ ปาปาราซซี และบล็อกผู้มีชื่อเสียง เกิดขึ้นมา ไคลฟ์ เจมส์ นักเขียน ผู้ประกาศข่าว และนักแสดง เขียนหนังสือเกี่ยวกับปรากฏการณ์ความมีชื่อเสียงในศตวรรษที่ 20 ในชื่อ Fame in the 20th Century เขาแย้งว่าคนมีชื่อเสียงจริง เกือบจะไม่เป็นที่รู้จักก่อนศตวรรษที่ 20 เพราะขาดสื่อมวลชนที่เผยแพร่กว้างขวาง เขาระบุว่า ชาร์ลี แชปลิน ถือเป็นผู้มีชื่อเสียงระดับโลกคนแรกอย่างแท้จริง เนื่องจากมีผลกระทบจากภาพยนตร์ของเขาในคริสต์ทศวรรษ 1910 และหลังจากนั้น เขายังชี้ว่าผู้มีชื่อเสียงเป็นที่โดดเด่นขึ้นมาหลายวิธี เขาพูดถึง เอลิซาเบธ เทย์เลอร์ ว่าการใช้ชีวิตของเธอทำให้เธอโด่งดังมากกว่าผลงานการแสดงภาพยนตร์ของเธอเสียอีก.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และผู้มีชื่อเสียง
จังหวัดลำพูน
ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน
จังหวัดลำปาง
ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และจังหวัดลำปาง
จังหวัดน่าน
ังหวัดน่าน (15px) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของภาคเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองที่สำคัญในอดีต อาทิ เมืองวรนคร เวียงศีรษะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำที่สำคัญของแม่น้ำน่าน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และจังหวัดน่าน
จังหวัดแพร่
ังหวัดแพร่ (25px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็ก มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างภูเขา โดยมีทิวเขาล้อมรอบ และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านคือแม่น้ำยม.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และจังหวัดแพร่
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ังหวัดแม่ฮ่องสอน (60px; 80px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีความโดดเด่นหลายลักษณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม และความหลากหลายของประชากรจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ นับเป็นจังหวัดที่สถิติน่าสนใจหลายอย่าง เช่น มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ และมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 5 ในขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศ แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออกในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก) แม่ฮ่องสอนได้รบการสถาปนาขึ้นเป็นเมือง เมื่อปี..
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และจังหวัดแม่ฮ่องสอน
จังหวัดเชียงราย
ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย
จังหวัดเชียงใหม่
ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และจังหวัดเชียงใหม่
ตำบลช้างเผือก (แก้ความกำกวม)
ตำบลช้างเผือก สามารถหมายถึง.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และตำบลช้างเผือก (แก้ความกำกวม)
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และประเทศไทย
ปริญญาตรี
ปริญญาตรี หรือ ปริญญาบัณฑิต เป็นระดับการศึกษาย่อยในการอุดมศึกษา ต่อเนื่องจากชั้นมัธยมศึกษา คำว่า ตรี หมายถึง ชั้นที่สาม (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่า โท สูงกว่า จัตวา) ระดับปริญญาตรี โดยทั่วไปเวลาสี่ปี แต่สามารถช่วง 2-6 ปีขึ้นอยู่กับภูมิภาคของโลก.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และปริญญาตรี
นภัสสร ภูธรใจ
นภัสสร ภูธรใจ หรือ นิว เดอะสตาร์ เกิดเมื่อวันที่ 24 มกราคม..
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และนภัสสร ภูธรใจ
นักร้อง
นักร้อง (Singer)อาชีพของคนขายเสียง อาชีพให้บริการความสุขด้วยเสียงเพลงเช่น อคูสติก ป๊อป ร็อค แจ๊ส เบส เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันแนวเพลงต่าง ๆ มีมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้ฟังแต่ละกลุ่ม อาชีพนักร้องจึงเป็นอาชีพในฝันของคนยุคใหม่ เนื่องจากอาชีพนักร้องเป็นอาชีพที่สามารถสร้างได้อย่างมหาศาล เป็นผู้มีชื่อเสียงในสังคม และมีผู้คนชื่นชมมาก ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนักร้อง 1.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และนักร้อง
นิติบุคคล
ำสำคัญ "นิติบุคคล" อาจหมายถึง.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และนิติบุคคล
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
อาคารเรือนเพชร ซึ่งปัจจุบันถูกรื้อถอนไปเพื่อนำไม้ไปสร้างอาคารเรือนแก้ว ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2496 ตึกยุพราชอาคารหลังแรกของโรงเรียน ปัจจุจบันมีอายุครบ 114 ปี โรงช้างต้น หรือ เรือนช้างต้น หนึ่งในอาคารเก่าแก่ที่ปัจจุบันใช้เป็นห้อง BAND โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย (อักษรย่อ: ย.ว., Y.R.C.) เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของภาคเหนือ และโรงเรียนสหศึกษาของรัฐบาลประจำจังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นสถานศึกษาในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โรงเรียนก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ
รงเรียนวัฒโนทัยพายัพ โรงเรียนมาตรฐานสากล(World- Class Standard School) โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ เดิมเคยเป็นโรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพมาก่อน ปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนแบบสหศึกษาในระดับมัธยมศึกษา พ.ศ.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตั้งอยู่เลขที่ 202 ถนนหมื่นด้ามพร้าคต ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50300 053-885591,053-885583 Fax 053-357099 ตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เปิดสอนระดับการศึกษาก่อนพื้นฐานและขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ระดับชั้นเตรียมอนุบาล อนุบาล ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6 .
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
เสี้ยวดอกขาว
''Bauhinia variegata'' เสี้ยวดอกขาว (ภาษากะเหรี่ยง: โพะเพ่; ภาษาฮินดี:कचनार, ภาษาสันสกฤต: कोविदार ภาษาอูรดู: کچنار) เป็นพืชมีดอกชนิดหนึ่งในวงศ์ Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองในเอเชีย แพร่กระจายในจีนไปจนถึงปากีสถานและอินเดีย ชื่อสามัญอื่นๆ ได้แก่ กล้วยไม้ต้น (Orchid tree) ต้นเท้าอูฐ (Camel's Foot Tree) และ Mountain-ebony Kachnar (ภาษาฮินดีภาษาปัญจาบ ภาษาอูรดู) หรือ Kanchan(ภาษาเบงกาลี) ในจังหวัดปัญจาบของปากีสถาน เรียกพืชนี้ว่า Kolaar کلاڑ ซึ่งต่างจากชื่อในภาษาอูรดู พันธุ์ ''candida'' ในเมืองไฮเดอราบาด ประเทศอินเดีย เป็นไม้ยืนต้น สูงถึง 10-12 เมตร ใบยาว 10-20 เซนติเมตร และกว้าง กลม เป็นสองซีกแบบใบชงโค ดอกสีชมพูอ่อนหรือสีขาว เส้นผ่านศูนย์กลาง 8-12 เซนติเมตร มี 5 กลีบ ผลยาว มีหลายเมล็ด เป็นพืชที่นิยมใช้ในการจัดสวน และใช้ดึงดูดนกฮัมมิงเบิร์ด เช่น Sapphire-spangled Emerald (Amazilia lactea), Glittering-bellied Emerald (Chlorostilbon lucidus) หรือ White-throated Hummingbird (Leucochloris albicollis) ให้เข้ามาในสวนBaza Mendonça & dos Anjos (2005) แต่ในบางบริเวณ อาจกลายเป็นพืชรุกรานได้.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และเสี้ยวดอกขาว
เจ้าชื่น สิโรรส
้าชื่น สิโรรส เป็นผู้ก่อตั้งและครูใหญ่คนแรกของโรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ และเป็นผู้มีบทบาทในการวางรากฐานการศึกษาและพุทธศาสนาในจังหวัดเชียงใหม.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และเจ้าชื่น สิโรรส
เดอะวอยซ์ไทยแลนด์
The Voice Thailand เสียงจริง ตัวจริง (The Voice Thailand) คือรายการประกวดร้องเพลง ผลิตโดย ทรู มิวสิก และ บริษัท โต๊ะกลมโทรทัศน์ จำกัด ในเครือ เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ โดยซื้อลิขสิทธิ์รายการ เดอะวอยซ์ออฟฮอลแลนด์ (The Voice of Holland) จากทัลปา มีเดีย กรุ๊ป ประเทศเนเธอร์แลน.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และเดอะวอยซ์ไทยแลนด์
เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 12
อะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 12 เริ่มรับสมัครผู้เข้าแข่งขันในเดือนธันวาคม 2558 มีการเปลี่ยนกรรมการเป็นยุทธนา บุญอ้อม เมทินี กิ่งโพยม และอ๊อฟ ปองศักดิ์ และยังเปลี่ยนวิธีการรับสมัครเป็นออดิชั่นที่กรุงเทพที่เดียวและทดแทนด้วยการเปิดรับสมัครทางออนไลน์ และทางรายการได้ขยายอายุผู้เข้าแข่งขันเป็น 15 - 30 ปี.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 12
1 พฤษภาคม
วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ1 พฤษภาคม
1 เมษายน
วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ1 เมษายน
10 มิถุนายน
วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ10 มิถุนายน
14 กุมภาพันธ์
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ14 กุมภาพันธ์
14 มิถุนายน
วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ14 มิถุนายน
15 มิถุนายน
วันที่ 15 มิถุนายน เป็นวันที่ 166 ของปี (วันที่ 167 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 199 วันในปีนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ15 มิถุนายน
19 พฤษภาคม
วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ19 พฤษภาคม
24 มกราคม
วันที่ 24 มกราคม เป็นวันที่ 24 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 341 วันในปีนั้น (342 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ24 มกราคม
4 กุมภาพันธ์
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ4 กุมภาพันธ์
5 กรกฎาคม
วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ5 กรกฎาคม
5 มิถุนายน
วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.
ดู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และ5 มิถุนายน
ดูเพิ่มเติม
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
- มหาวิทยาลัยราชภัฏ
- มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
- มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
- มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
- มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
- มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
สิ่งก่อสร้างในอำเภอเมืองเชียงใหม่
- ตลาดวโรรส
- ท่าอากาศยานเชียงใหม่
- มหาวิทยาลัยพายัพ
- มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
- มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
- วัดเกตการาม
- สถานีรถไฟเชียงใหม่
- สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี
- สวนสัตว์เชียงใหม่
- เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี
- โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
หรือที่รู้จักกันในชื่อ วิทยาลัยครูเชียงใหม่