สารบัญ
17 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยก.ศ.ร. กุหลาบกรมหลวงเทวินทรสุดาราชวงศ์ธนบุรีสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศหยง แซ่แต้อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรธนบุรีอำเภอบ้านแหลมฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัวจังหวัดเพชรบุรีนิธิ เอียวศรีวงศ์แต้จิ๋ว
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ก.ศ.ร. กุหลาบ
ก..ร. กุหลาบ (พ.ศ. 2377 - พ.ศ. 2464) มีนามเดิมว่า กุหลาบ ตฤษณานนท์ (หนังสือบางเล่มเขียนว่า ตรุษ ตฤษณานนท์) เป็นนักหนังสือพิมพ์ นักประวัติศาสตร์ ผู้นำเสนอความคิดเห็นทางการเมืองในสมัยรัชกาลที่ 5.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และก.ศ.ร. กุหลาบ
กรมหลวงเทวินทรสุดา
กรมหลวงเทวินทรสุดา หรือ กรมหลวงเทพินทรสุดา เป็นสมเด็จพระมาตุจฉาในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มีนามเดิมว่า อั๋น หรือ ฮั้น สันนิษฐานว่าเป็นธิดาของขุนนางในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นน้องสาวของนกเอี้ยง (ต่อมาคือ กรมพระเทพามาตย์ พระราชชนนีของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) สันนิษฐานว่าพระองค์อาจมีเชื้อสายจีนแซ่โหงวสุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และกรมหลวงเทวินทรสุดา
ราชวงศ์ธนบุรี
ราชวงศ์ธนบุรี เป็นราชวงศ์ในอดีตที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดคือ 15 ปี ซึ่งปกครองกรุงธนบุรีเพียงราชวงศ์เดียว และมีพระมหากษัตริย์เพียงพระองค์เดียวคือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงสถาปนาราชวงศ์นี้ขึ้นเมื่อปี..
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และราชวงศ์ธนบุรี
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท หรือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิม บุญมา เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชชนกชนนีกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี) และพระอัครชายา (หยก) ประสูติในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน..
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
หยง แซ่แต้
หยง แซ่แต้ (鄭鏞)นิธิ เอียวศรีวง.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และหยง แซ่แต้
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และอาณาจักรธนบุรี
อำเภอบ้านแหลม
ระวังสับสนกับด่านบ้านแหลม ที่โป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ซึ่งอยู่ติดกับชายแดนไทย-เขมร อำเภอบ้านแหลม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามอำเภอว่า "อำเภอบ้านแหลม" จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และอำเภอบ้านแหลม
ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว
ัง บัปติสต์ ปาลเลอกัวซ์ พร้อมด้วยเด็กไทยชื่อแก้ว และเด็กญวนชื่อชมถ่ายที่ปารีส เมื่อ พ.ศ. 2397 ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว (Jean-Baptiste Pallegoix.) หรือที่รู้จักในนามพระสังฆราชปัลเลอกัวซ์ เป็นบาทหลวงสังกัดคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส ปฏิบัติหน้าที่มิชชันนารีในประเทศไทยในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีสมณศักดิ์เป็นประมุขมิสซังสยามตะวันออก (apostolic vicar of Eastern Siam) และมุขนายกเกียรตินามแห่งมาลลอสหรือมัลลุส (titular bishop of Mallos/Mallus) ท่านได้นำวิทยาการการถ่ายรูปเข้ามาในประเทศไทย และนอกจากนี้ท่านยังจัดทำพจนานุกรมสี่ภาษาเล่มแรกของไทยขึ้นชื่อ สัพะ พะจะนะ พาสา ไท โดยมีภาษาทั้งสี่ที่ว่านี้คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาละติน.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว
จังหวัดเพชรบุรี
ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และจังหวัดเพชรบุรี
นิธิ เอียวศรีวงศ์
ตราจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ (23 พฤษภาคม พ.ศ. 2483) เป็นนักคิด นักเขียน และศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์ชาวไทย ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นจากสภาวิจัยแห่งชาติ, รางวัลฟูกูโอกะ และรางวัลศรีบูรพา อดีตอาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และนิธิ เอียวศรีวงศ์
แต้จิ๋ว
แต้จิ๋ว หรือ เฉาโจว (潮州) ในภาษาอังกฤษสะกดหลายแบบ Chaozhou, Teochew, Teochiu, Diojiu, Tiuchiu, Chiuchow อาจหมายถึง.
ดู กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)และแต้จิ๋ว
หรือที่รู้จักกันในชื่อ กรมสมเด็จพระเทพามาตย์