เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

2 ตุลาคม

ดัชนี 2 ตุลาคม

วันที่ 2 ตุลาคม เป็นวันที่ 275 ของปี (วันที่ 276 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 90 วันในปีนั้น.

สารบัญ

  1. 57 ความสัมพันธ์: ชาร์ลี บราวน์ชาลส์ ดาร์วินชีววิทยาพ.ศ. 1995พ.ศ. 2078พ.ศ. 2375พ.ศ. 2379พ.ศ. 2412พ.ศ. 2429พ.ศ. 2432พ.ศ. 2446พ.ศ. 2469พ.ศ. 2491พ.ศ. 2493พ.ศ. 2494พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2501พ.ศ. 2509พ.ศ. 2511พ.ศ. 2513พ.ศ. 2519พ.ศ. 2524พ.ศ. 2529พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2558พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสีพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษภาษิต อภิญญาวาทมหาตมา คานธีวิวัฒนาการศรุต สุวรรณภักดีสมเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมีสราวุธ มาตรทองสนามกีฬาบีเซนเตกัลเดรอนสนูปี้ฌัก การ์ตีเยจักรรินทร์ ดวงมณีรัตนชัยจุฑารัตน์ มูลตรีพิลาดวงดาว จารุจินดาปฏิทินสุริยคติปฏิทินเกรโกเรียนปีอธิกสุรทินแจ็ก คอลลิสันโรเบิร์ต จูเลียส ทรัมเพลอร์ไตรโรจน์ ครุธเวโชเบญจวรรณ อาร์ดเนอร์เม็กซิโกซิตี... ขยายดัชนี (7 มากกว่า) »

  2. ตุลาคม

ชาร์ลี บราวน์

ร์ลี บราวน์ (Charlie Brown) เป็นตัวละครในการ์ตูนสั้นที่มีมายาวนานเรื่อง พีนัตส์ โดยชาร์ล เอ็ม ชูลซ์ ชาร์ลี บราวน์และผู้เขียนมีสิ่งเชื่อมโยงกันคือ ทั้งคู่เป็นบุตรชายของช่างตัดผม แต่เพราะว่าผลงานขอชูลซ์เป็นงานที่บอกได้ว่า "เป็นตัวอย่างที่สดใสมากที่สุดของเนื้อเรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดของอเมริกัน" แต่ชาร์ลี บราวน์ ก็เป็นตัวอย่างของ "เรื่องของชาวอเมริกันที่ไม่ประสบความสำเร็จ" ที่เขาดูจะล้มเหลวในสิ่งที่เขาทำThe World Encyclopedia of Comics edited by Maurice Horn, ISBN 0791048543, ISBN 978-0791048542.

ดู 2 ตุลาคมและชาร์ลี บราวน์

ชาลส์ ดาร์วิน

ลส์ โรเบิร์ต ดาร์วิน (Charles Robert Darwin FRS; 12 กุมภาพันธ์ 1809 – 19 เมษายน 1882) เป็นนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ ผู้ทำการปฏิวัติความเชื่อเดิม ๆ เกี่ยวกับที่มาของสิ่งมีชีวิต และเสนอทฤษฎีซึ่งเป็นทั้งรากฐานของทฤษฎีวิวัฒนาการสมัยใหม่ และหลักการพื้นฐานของกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) เขาตีพิมพ์ข้อเสนอของเขาในปี..

ดู 2 ตุลาคมและชาลส์ ดาร์วิน

ชีววิทยา

ีววิทยา (Biology) เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และสิ่งมีชีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสร้าง การทำงาน การเจริญเติบโต ถิ่นกำเนิด วิวัฒนาการ การกระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเป็นการศึกษาในทุก ๆ แง่มุมของสิ่งมีชีวิต โดยคำว่า ชีววิทยา (Biology) มาจากภาษากรีก คือคำว่า "bios" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ "logos" แปลว่า วิชา หรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล.

ดู 2 ตุลาคมและชีววิทยา

พ.ศ. 1995

ทธศักราช 1995 ใกล้เคียงกั.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 1995

พ.ศ. 2078

ทธศักราช 2078 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1535 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2078

พ.ศ. 2375

ทธศักราช 2375 ตรงกับคริสต์ศักราช 1832 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2375

พ.ศ. 2379

ทธศักราช 2379 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1836 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2379

พ.ศ. 2412

ทธศักราช 2412 ตรงกั.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2412

พ.ศ. 2429

ทธศักราช 2429 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1886 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2429

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2432

พ.ศ. 2446

ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2446

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2469

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2491

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2493

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2494

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2498

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2499

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2501

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2509

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2511

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2513

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2519

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2524

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2529

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2531

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2532

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ดู 2 ตุลาคมและพ.ศ. 2558

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู 2 ตุลาคมและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสี (ประสูติ: 2 ตุลาคม พ.ศ. 2432 — สิ้นพระชนม์: 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2435) เป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าดารารัศมี พระราชชายา เจ้านายจากราชวงศ์เจ้าเจ็ดตนนครเชียงใหม่ที่ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าในราชวงศ์จักรี.

ดู 2 ตุลาคมและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลนาคนพีสี

พระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าริชาร์ดที่ 3 (2 ตุลาคม ค.ศ. 1452 – 22 สิงหาคม ค.ศ. 1485) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษตั้งแต..

ดู 2 ตุลาคมและพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ

ภาษิต อภิญญาวาท

ษิต อภิญญาวาท ผู้ประกาศข่าว ในรายการเที่ยงวันทันเหตุการณ์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อสมท และอดีตผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ดู 2 ตุลาคมและภาษิต อภิญญาวาท

มหาตมา คานธี

มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1876 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1900 มหาตมา คานธี ใน ค.ศ. 1915 มหาตมา คานธี (Mahatma Gandhi) มีชื่อเต็มว่า โมหันทาส กะรัมจันท คานธี (મોહનદાસ કરમચંદ ગાંધી; Mohandas Karamchand Gandhi) เป็นผู้นำและนักการเมืองที่มีชื่อเสียงชาวอินเดียและศาสนาฮินดู.

ดู 2 ตุลาคมและมหาตมา คานธี

วิวัฒนาการ

ในด้านชีววิทยา วิวัฒนาการ (Evolution) คือการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต จากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง วิวัฒนาการเกิดจากกระบวนการหลัก 3 กระบวนการ ได้แก่ ความแปรผัน การสืบพันธุ์ และการคัดเลือก โดยอาศัยยีนเป็นตัวกลางในการส่งผ่านลักษณะทางพันธุกรรม อันเป็นพื้นฐานของการเกิดวิวัฒนาการ ลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้นในประชากรเพื่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมเมื่อสิ่งมีชีวิตให้กำเนิดลูกหลานย่อมเกิดลักษณะใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะเดิม โดยลักษณะใหม่ที่เกิดขึ้นนี้มีสาเหตุสำคัญ 2 ประการ ประการหนึ่ง เกิดจากกระบวนการกลายพันธุ์ของยีน และอีกประการหนึ่ง เกิดจากการแลกเปลี่ยนยีนระหว่างประชากร และระหว่างสปีชีส์ ในสิ่งมีชีวิตที่มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ สิ่งมีชีวิตใหม่ที่เกิดขึ้นจะผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนยีน อันก่อให้เกิดความแปรผันทางพันธุกรรมที่หลากหลายในสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อความแตกต่างทางพันธุกรรมเกิดขึ้น จนเกิดความแตกต่างมากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นลักษณะที่แตกต่างกัน กลไกในการเกิดวิวัฒนาการแบ่งได้ 2 กลไก กลไกหนึ่งคือการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) อันเป็นกระบวนการคัดเลือกสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมที่จะอยู่รอด และสืบพันธุ์จนได้ลักษณะที่เหมาะสมที่สุด และลักษณะที่ไม่เหมาะสมจะเหลือน้อยลง กลไกนี้เกิดขึ้นเพื่อคัดเลือกลักษณะของประชากรที่เกิดประโยชน์ในการสืบพันธุ์สูงสุด เมื่อสิ่งมีชีวิตหลายรุ่นได้ผ่านพ้นไป ก็จะเกิดกระบวนการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม กลไกที่สองในการขับเคลื่อนกระบวนการวิวัฒนาการคือการแปรผันทางพันธุกรรม (genetic drift) อันเป็นกระบวนการอิสระจากการคัดเลือกความถี่ของยีนประชากรแบบสุ่ม การแปรผันทางพันธุกรรมเป็นผลมาจากการอยู่รอด และการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต แม้ว่าการแปรผันทางพันธุกรรมในแต่ละรุ่นนั้นจะเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย แต่ลักษณะเหล่านี้จะสะสมจากรุ่นสู่รุ่น เกิดการเปลี่ยนแปลงทีละเล็กละน้อยในสิ่งมีชีวิต จนกระทั่งเวลาผ่านไปเป็นระยะเวลานาน จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในลักษณะของสิ่งมีชีวิต กระบวนการดังกล่าวเมื่อถึงจุดสูงสุดจะทำให้กำเนิดสปีชีส์ชนิดใหม่ แม้กระนั้น ความคล้ายคลึงกันระหว่างสิ่งมีชีวิตมีข้อเสนอที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการสืบเชื้อสายจากบรรพบุรุษ (หรือยีนพูลของบรรพบุรุษ) เมื่อผ่านกระบวนการนี้จะก่อให้เกิดความหลากหลายมากขึ้นทีละเล็กละน้อย เอกสารหลักฐานทางชีววิทยาวิวัฒนาการชี้ให้เห็นว่ากระบวนการวิวิฒนาการเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ทฤษฎีอยู่ในช่วงของการทดลอง และพัฒนาในสาเหตดังกล่าว การศึกษาซากฟอสซิล และความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตทำให้นักวิทยาศาสตร์ช่วงกลางคริสศตวรรษที่ 19 ส่วนใหญ่เชื่อว่าสปีชีส์มีการเปลี่ยนแปลงมาตลอดในระยะเวลาที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม กระบวนการที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงนี้เป็นปริศนาต่อนักวิทยาศาสตร์ทั่วไป จนกระทั่งปี พ.ศ.

ดู 2 ตุลาคมและวิวัฒนาการ

ศรุต สุวรรณภักดี

รุฒ สุวรรณภักดี เกิดวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2529 เป็นนักแสดงชาวไทย ส่วนสูง 181 เซนติเมตร น้ำหนัก 70 กิโลกรัม เข้าสู่เส้นทางบันเทิงเพราะเป็นนักเรียนการแสดงของกันตนาดราม่าสคูล และเข้ารอบ 15 คน โครงการสู่ฝันปั้นดาวของรายการ 07 โชว์ รุ่นเดียวกับ พิชยดนย์ พึ่งพัน.

ดู 2 ตุลาคมและศรุต สุวรรณภักดี

สมเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมี

มเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมี (នរោត្តម អរុណរស្មី; 2 ตุลาคม พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับหม่อมมะนีวัน พานีวง หม่อมชาวลาว.

ดู 2 ตุลาคมและสมเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมี

สราวุธ มาตรทอง

ราวุธ มาตรทอง (ชื่อเล่น: อ้น เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2519) เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความชอบการท่องเที่ยวแบบ Naturist เป็นพิเศษ เข้าสู่วงการบันเทิงเมื่อปี พ.ศ.

ดู 2 ตุลาคมและสราวุธ มาตรทอง

สนามกีฬาบีเซนเตกัลเดรอน

ซนเต กัลเดรอน สเตเดียม (ภาษาสเปน:เอสตาดิโอ บิเซนเต กัลเดรอน) เป็นสนามฟุตบอลเหย้าของสโมสรฟุตบอลอัตเลตีโกมาดริด ใน ลาลีกา ตั้งอยู่ที่เขต อาร์กันซูเอลา ในเมืองหลวงมาดริด ประเทศสเปน.เดิมสนามแห่งนี้มีชื่อว่า มานซานาเรส สเตเดียม แต่ก็ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น บิเซนเต กัลเดรอน สเตเดียม ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู 2 ตุลาคมและสนามกีฬาบีเซนเตกัลเดรอน

สนูปี้

นูปี้ (Snoopy) เป็นตัวละครในการ์ตูนสั้นที่มีมายาวนานเรื่อง พีนัตส์ โดยชารล์ เอ็ม ชูลซ์ สนูปี้เป็นสุนัขพันธุ์บีเกิล สัตว์เลี้ยงของชาร์ลี บราวน์ ตัวละครสนูปี้เริ่มบทบาทในการ์ตูนสั้นโดยเป็นเพียงสุนัขธรรมดาทั่วไป แต่ในที่สุดก็ถือว่าเป็นตัวละครที่มีชีวิตชีวาที่สุด และถือเป็นตัวละครตัวหนึ่งที่เป็นที่จดจำมากที่สุดในการ์ตูน แบบวาดดั้งเดิมของสนูปี้ได้ลอกเลียนแบบเล็กน้อยจาก สไปก์ สุนัขในวัยเด็กของชูลซ์ สนูปี้เป็นสุนัขช่างฝัน ชอบนอนอาบแดดบนหลังคาบ้านตัวเอง ชอบจินตนาการว่าตัวเองเป็นนักบินรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่สู้กับเรด บารอน.

ดู 2 ตุลาคมและสนูปี้

ฌัก การ์ตีเย

ัก การ์ตีเย ฌัก การ์ตีเย (Jacques Cartier; 31 ธันวาคม พ.ศ. 2034 - 1 กันยายน พ.ศ. 2100) นักสำรวจชาวฝรั่งเศสคนแรกที่เดินทางไปถึงทวีปอเมริกาเหนือ ไม่มีใครทราบที่มาของการ์ตีเยในช่วงวัยเด็กของเขา ทราบเพียงว่าในปี พ.ศ.

ดู 2 ตุลาคมและฌัก การ์ตีเย

จักรรินทร์ ดวงมณีรัตนชัย

ักรรินทร์ ดวงมณีรัตนชัย (ชื่อเล่น: ป๊อป) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ป๊อป หิน เหล็ก ไฟ หรือ ป๊อป เดอะ ซัน เจ้าของฉายา เดอะ เฟอรารี่ เป็นนักกีตาร์ วง หิน เหล็ก ไฟ และ เดอะ ซัน ได้รับการนับถือให้เป็นมือกีตาร์ชั้นแนวหน้าในแนวร็อกคนหนึ่งของประเทศไทย เหมือนเช่น แหลม มอริสัน, กิตติ กีตาร์ปืน, ชัคกี้ ธัญญรัตน์, ชาตรี คงสุวรรณ หรือ เล็ก คาราบาว ป๊อปเป็นคนกรุงเทพฯ โดยกำเนิด เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ.

ดู 2 ตุลาคมและจักรรินทร์ ดวงมณีรัตนชัย

จุฑารัตน์ มูลตรีพิลา

ฑารัตน์ มูลตรีพิลา เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย และเป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลระดับอาชีพผู้เข้าแข่งขันลีกในประเทศอินโดนีเซีย รวมถึงเคยทำหน้าที่เป็นกัปตันทีมให้แก่ซัยโจเด็นกิ-นครนนทบุรี นอกจากนี้ ในช่วงท้ายปี..

ดู 2 ตุลาคมและจุฑารัตน์ มูลตรีพิลา

ดวงดาว จารุจินดา

ฟ้ามีตา) ดวงดาว จารุจินดา เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2494 เป็นนักแสดงและนักพากย์ที่มีชื่อเสียง ดวงดาวเป็นบุตรสาวของสักกะ จารุจินดา ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดัง เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 5 ขวบจากการเป็นนักแสดง พากย์ภาพยนตร์ครั้งแรกจากภาพยนตร์เรื่อง “เข็ดจริงๆให้ดิ้นตาย” ซึ่งให้เสียงพากย์เป็นขอใจ ฤทัยประชา พออายุได้ 21 ปีจึงหันมาพากย์หนังอย่างจริงจัง และรับหน้าที่พากย์เสียงให้นักแสดงชื่อดังของไทยหลายท่าน เช่น จารุณี สุขสวัสดิ์ เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ จินตหรา สุขพัฒน์ และได้รับรางวัลจากการพากย์เสียงจากรางวัลพระสุรัสวดี นักพากย์ยอดเยี่ยม กับภาพยนตร์เรื่องรักพยาบาท โดยพากย์เป็นเสียงของคุณเพ็ญพักตร์ ศิริกุล คุณดวงดาว พากย์ซีรีส์เกาหลีทุกเรื่อง บางเรื่อง พากย์ นางเอก นางรอง นางร้าย คุณย่าของพระเอก โดยมีการพากย์ที่โดดเด่นที่สุด คือการพากย์เสียงของ เอเย่นต์ดานา สกัลลีย์ ที่เล่นโดย จิลเลียน แอนเดอร์สัน ในซีรีส์ชุด The X-Files ที่ฉายทางช่อง 7 ด้านงานบันเทิง เคยได้รับบทเป็นนางเอกจากหนังเรื่องแรกของเธอ ที่พ่อเธอเป็นผู้สร้าง คือเรื่อง 'มนต์รักชาวไร่' แต่หนังไม่ประสบความสำเร็จ หลังจากนั้นจึงกลายเป็นรับบทรองจนถึงนางร้ายมาตลอด ก่อนจะมาลงเล่นละครทีวี ช่วงแรกยังไม่สังกัด ก็จะเห็นผลงานเธอทางช่อง 3, 5, 9 ในบทนางร้าย เช่น นางทาส ช่อง 3 ที่เธอรับบทเป็น 'สาลี่' โดยมี อี๊ด-รัชนู บุญชูดวง เป็นนางเอก ต่อมาช่อง 7 ชวนไปพากย์หนังชุด จึงเป็นที่มาของการพบกันของเธอกับ หน่อง-พลากร สมสุวรรณ จึงเกิดสัญญาใจในการเล่นละครให้ช่อง 7 ตั้งแต่ปี 2530 จนปัจจุบันก็ยังเห็นหน้าเธอทางจอเจ็ดสีอยู่สม่ำเสมอ นับผลงานละครที่เธอร่วมงานกับช่อง 7 ได้ประมาณกว่า 80 เรื่อง.

ดู 2 ตุลาคมและดวงดาว จารุจินดา

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ดู 2 ตุลาคมและปฏิทินสุริยคติ

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู 2 ตุลาคมและปฏิทินเกรโกเรียน

ปีอธิกสุรทิน

ปีอธิกสุรทิน (leap year) เป็นปีที่มีการเพิ่มหนึ่งวัน (หรือหนึ่งเดือนในกรณีของปฏิทินสุริยจันทรคติ) เพื่อให้ปีปฏิทินสอดคล้องกับปีดาราศาสตร์หรือปีฤดูกาล เพราะฤดูกาลและเหตุการณ์ทางดาราศาสตร์มิได้เกิดซ้ำในจำนวนเต็มวัน ปฏิทินซึ่งมีจำนวนวันในแต่ละปีเท่าเดิมจึงต้องเลื่อนให้ตรงกับเหตุการณ์ที่ปฏิทินควรจะติดตามเมื่อเวลาผ่านไป โดยการแทรกวันหรือเดือนเพิ่มเข้าไปในปีนั้น การเลื่อนจึงสามารถทำให้ถูกต้องได้ ปีที่มิใช่ปีอธิกสุรทิน เรียกว่า ปีปกติสุรทิน (common year) ตัวอย่างเช่น ในปฏิทินเกรโกเรียน (ปฏิทินสุริยคติสามัญ) เดือนกุมภาพันธ์ในปีอธิกสุรทินมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันตามปกติ ดังนั้น ปีดังกล่าวจึงมี 366 วัน แทนที่จะมี 365 วันตามปกติ คล้ายกัน ในปฏิทินฮีบรู (ปฏิทินสุริยจันทรคติ) เดือนจันทรคติที่ 13 มีการเพิ่มเจ็ดครั้งทุก 19 ปี เข้าไปในเดือนจันทรคติสิบสองเดือนในปีปกติสุรทินเพื่อให้ปีปฏิทินไม่คาดเคลื่อนจากฤดูกาลเร็วเกินไป.

ดู 2 ตุลาคมและปีอธิกสุรทิน

แจ็ก คอลลิสัน

แจ็ก เดวิด คอลลิสัน (Jack David Collison) เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม..

ดู 2 ตุลาคมและแจ็ก คอลลิสัน

โรเบิร์ต จูเลียส ทรัมเพลอร์

รเบิร์ต จูเลียส ทรัมเพลอร์ (Robert Julius Trumpler; 2 ตุลาคม ค.ศ. 1886 - 10 กันยายน ค.ศ. 1956) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน-สวิส เกิดที่เมืองซูริค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ต่อมาได้ไปศึกษาต่อที่เยอรมันและได้รับปริญญาเอกในปี..

ดู 2 ตุลาคมและโรเบิร์ต จูเลียส ทรัมเพลอร์

ไตรโรจน์ ครุธเวโช

ลเอก รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ไตรโรจน์ ครุธเวโช Triroj Krutvecho (ชื่อเล่น: อ๊อด) ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก อดีตเจ้ากรมแพทย์ทหารบก/ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนารักษ์ กรมแพทย์ทหารบก ท่านที่ 40 กรรมการในคณะกรรมการการแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม, อดีตผู้อำนวยการโรงพยาบาลอานันทมหิดล (พ.ศ.

ดู 2 ตุลาคมและไตรโรจน์ ครุธเวโช

เบญจวรรณ อาร์ดเนอร์

ญจวรรณ อาร์ดเนอร์ ชื่อเล่น โบว์ (เกิดวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2529) เป็นนักแสดงชาวไทยเชื้อสายเยอรมัน.

ดู 2 ตุลาคมและเบญจวรรณ อาร์ดเนอร์

เม็กซิโกซิตี

ตราประจำกรุงเม็กซิโกซิตีตั้งแต่ ค.ศ. 1523 เม็กซิโกซิตี (Mexico City) หรือ ซิวดัดเดเมคีโก (Ciudad de México) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเม็กซิโก ตั้งอยู่ในหุบเขาเม็กซิโกบริเวณกึ่งกลางประเทศ เม็กซิโกซิตีมีพื้นที่ประมาณ 1,499 ตารางกิโลเมตร หรือถ้ารวมบริเวณมหานครด้วยจะมีพื้นที่รวมประมาณ 4,979 ตารางกิโลเมตร ประชากรในเม็กซิโกซิตี (ปี 2548) มี 8,605,239 คน ถ้ารวมเขตมหานครทั้งหมดมีประชากร 17,844,829 คน เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก.

ดู 2 ตุลาคมและเม็กซิโกซิตี

เรือหลวงบีเกิล

ผ่าตามยาวเรือหลวงบีเกิล ค.ศ. 1832 เรือหลวงบีเกิล (HMS Beagle) เป็นเรือสลุปใบสองเสา (brig-sloop) ชั้นเชโรกีของราชนาวีอังกฤษ ติดตั้งปืนใหญ่ 10 กระบอก ปล่อยลงน้ำเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม..

ดู 2 ตุลาคมและเรือหลวงบีเกิล

เจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุง

ณหญิง เจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุง (150px) (สกุลเดิม ณ ลำปาง, ประสูติ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2446 — พิราลัย 26 มีนาคม พ.ศ. 2532) พระธิดาในเจ้าไชยสงคราม (น้อยเบี้ย ณ ลำปาง) กับเจ้าฝนห่าแก้ว ณ ลำปาง และเป็นราชนัดดาในมหาอำมาตย์โท พลตรีเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต กับแม่เจ้าเมืองชื่น ณ ลำปาง และเจ้าทิพวรรณได้เสกสมรสกับเจ้าฟ้าสิริสุวรรณราช ยสสรพรหมลือ (พรหมลือ ณ เชียงตุง).

ดู 2 ตุลาคมและเจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุง

เฉลิมวุฒิ สง่าพล

ฉลิมวุฒิ สง่าพล เกิดวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2501 เป็นอดีตนักฟุตบอล ทีมชาติไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เฉลิมวุฒิเคยรับใช้ให้ทีมชาติตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู 2 ตุลาคมและเฉลิมวุฒิ สง่าพล

10 กันยายน

วันที่ 10 กันยายน เป็นวันที่ 253 ของปี (วันที่ 254 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 112 วันในปีนั้น.

ดู 2 ตุลาคมและ10 กันยายน

26 มีนาคม

วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.

ดู 2 ตุลาคมและ26 มีนาคม

27 เมษายน

วันที่ 27 เมษายน เป็นวันที่ 117 ของปี (วันที่ 118 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 248 วันในปีนั้น.

ดู 2 ตุลาคมและ27 เมษายน

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู 2 ตุลาคมและ30 มกราคม

ดูเพิ่มเติม

ตุลาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ 2 ต.ค.๒ ตุลาคม

เรือหลวงบีเกิลเจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุงเฉลิมวุฒิ สง่าพล10 กันยายน26 มีนาคม27 เมษายน30 มกราคม