โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศิลปะตะวันตก

ดัชนี ศิลปะตะวันตก

ไม่มีคำอธิบาย.

89 ความสัมพันธ์: บรรพศิลป์บารอกบาศกนิยมบานพับภาพกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอลกลุ่มเบลาเออไรเทอร์การวาดเส้นการถ่ายภาพภาพชีวิตประจำวันภาพพิมพ์หินภาพพิมพ์แกะไม้ภาพนิ่งภาพเหมือนภาพเหมือนผู้อุทิศภาพเหมือนตนเองภูมิศิลป์มนุษยนิยมรูปเคารพลัทธิรูปลักษณ์นิยมลัทธิสัญลักษณ์นิยมลัทธิสัจนิยมใหม่ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ลัทธิผสานจุดสีลัทธิจุลนิยมลัทธิคลาสสิกใหม่ลัทธิประทับใจลัทธิประทับใจยุคหลังลัทธิประทับใจใหม่ลัทธิเริงรมณ์ลัทธิเหนือจริงลัทธิเค้าโครงศิลปะกอทิกศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะยุคกรีกศิลปะร่วมสมัยศิลปะลวงตาศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมถะศิลปะสัจนิยมศิลปะอัศจรรย์ศิลปะอียิปต์โบราณศิลปะจัดวางศิลปะจินตนิยมศิลปะทรงกลมศิลปะคริสเตียนศิลปะคนนอกศิลปะตามหลักวิชาศิลปะประชานิยมศิลปะและสถาปัตยกรรมคริสเตียนเริ่มแรกศิลปะใต้ดิน...ศิลปะโรมันโบราณศิลปะโรมาเนสก์ศิลปะไบแซนไทน์ศิลปะเชิงแนวคิดศิลปะเคลต์ศิลปะเค้าโครงศิลปะเฉพาะที่สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสังเคราะห์นิยมสุนทรียนิยมสีฝุ่นเทมเพอราสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์อลังการศิลป์จริตนิยมจลนศิลป์จิตรกรรมจิตรกรรมฝาผนังจิตรกรรมภูมิทัศน์จิตรกรรมสีน้ำจิตรกรรมสีน้ำมันจิตรกรรมประวัติศาสตร์จิตรกรรมแผงจุลศิลป์จุลจิตรกรรมจุลจิตรกรรมภาพเหมือนจุลจิตรกรรมในเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจุลประติมากรรมคติโฟวิสต์งานกระจกสีงานโมเสกประติมากรรมประติมากรรมจลดุลนวยุคนิยมนวศิลป์ใบปิดโรโกโกเบาเฮาส์เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร ขยายดัชนี (39 มากกว่า) »

บรรพศิลป์

ัณฑ์เทอร์ราค็อตตาอินเดีย, นิวเดลี, อินเดียhttp://cities.expressindia.com/fullstory.php?newsid.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและบรรพศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

บารอก

“การแต่งงานของนักบุญแคทเธอรินแห่งอเล็กซานเดรีย” (The Mystic Marriage of St. Catherine) โดย อันโตนิโอ ดา คอร์เรจจิโอ บารอก (Baroque) หรือบาโรก เป็นสมัยหนึ่งของศิลปะตะวันตกซึ่งเริ่มประมาณต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี บาโรกจะเน้นความเป็นนาฏกรรม ศิลปะจะแสดงความขัดแย้ง (tension) และความหรูหรา โอ่อ่า บาโรกเป็นลักษณะของ ประติมากรรม จิตรกรรม วรรณกรรม นาฏศิลป์ และดนตรี ถ้ากล่าวถึงดนตรีแบบบารอกก็จะหมายถึงสมัยสุดท้ายของเคาน์เตอร์พ็อยต์ (Counterpoint) ที่กล่างวถึงความสัมพันธ์ของการเล่นระหว่างเสียงหรือเครื่องดนตรีมากกว่าสองชนิดที่อาจจะสะท้อนกันและกัน แต่คนละระดับเสียง หรือบางครั้งก็อาจจะสลับเสียงสะท้อน หรือไม่อีกทีก็อาจจะย้อนแก่นสาร (reversing theme) ของดนตรีชิ้นนั้นไปเลย ยุคบารอกรุ่งเรืองขึ้นมาด้วยการสนับสนุนจากคริสตจักรโรมันคาทอลิก ระหว่างการประชุมสภาสังคายนาแห่งเทรนต์ เมื่อปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและบารอก · ดูเพิ่มเติม »

บาศกนิยม

ผลงานแบบบาศกนิยม บาศกนิยม (cubism) เป็นลัทธิการสร้างสรรค์ศิลปะที่ได้รับผลสะท้อนมาจากอิทธิพลด้านความเจริญทางวิทยาศาสตร์ และจากลักษณะรูปแบบหน้ากากของชนเผ่าดั้งเดิมในแอฟริกา ซึ่งได้ปลุกเร้าการสร้างสรรค์แบบใหม่ รวมทั้งลักษณะการของศิลปินสมัยใหม่ที่พยายามแสวงหาลักษณะเฉพาะตัวให้กับตนเอง เพื่อไม่ให้ทับซ้อนกับลักษณะรูปแบบศิลปะกลุ่มอื่นที่ผ่านมาหรือที่มีอยู่ในยุคนั้น ซึ่งมีหลักสุนทรียภาพที่แสดงรูปทรงศิลปะในลักษณะผันแปรความจริง โดยให้มีลักษณะเป็นเหลี่ยมมุม เป็นลูกบาศก์ เป็นทรงเรขาคณิต เพื่อสร้างความคิดรวบยอดเชิงสามมิติให้ปรากฏในผืนระนาบสองมิติหรือสามมิติ แสดงออกทั้งงานจิตรกรรมและประติมากรรม หากเป็นงานจิตรกรรมรูปแบบผลงานก็จะสามารถแสดงลักษณะปรากฏทั้งด้านหน้า ด้านข้าง และด้านหลังบนพื้นระนาบไปพร้อมกัน บางทีก็แสดงการทับซ้อนและปิดบังระหว่างกัน รวมทั้งมีการตัดทอนรูปทรงให้ดูง่ายขึ้นกว่ารูปจริงของวัตถุหรือสภาวะที่แท้จริงของรูปทรงนั้น ๆ ด้ว.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและบาศกนิยม · ดูเพิ่มเติม »

บานพับภาพ

แซนไทน์ คริสต์ศตวรรษที่ 10 บานพับภาพ (triptych หรือ polytych) คือจิตรกรรมที่วาดหรือแกะบนแผ่นไม้แบ่งเป็นบาน ๆ ซึ่งอาจจะเป็นสองบาน สามบาน หรือมากกว่านั้นก็ได้ ที่เชื่อมด้วยกันและพับได้.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและบานพับภาพ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล

“เพอร์ซิโฟเน” โดยดานเต เกเบรียล รอซเซ็ตตี กลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล (Pre-Raphaelite Brotherhood หรือ Pre-Raphaelites) เป็นกลุ่มจิตรกร กวี และนักวิจารณ์ศิลปะของอังกฤษทึ่ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเบลาเออไรเทอร์

Franz Marc) ค.ศ. 1913 (หายไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945) กลุ่มเบลาเออไรเทอร์ (Der Blaue Reiter, The Blue Rider) หรือแปลตรงตัวว่ากลุ่มคนขี่ม้าสีน้ำเงิน คือกลุ่มศิลปินจากกลุ่มศิลปินใหม่แห่งมิวนิกในเยอรมนี ซึ่งเป็นขบวนการศิลปะของเยอรมนีที่รุ่งเรืองระหว่าง..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและกลุ่มเบลาเออไรเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การวาดเส้น

Male nude โดย Annibale Carracci ศตวรรษที่ 16 การวาดเส้น (Drawing) เป็นพื้นฐานของงานทัศนศิลป์และการออกแบบ โดยการสร้างภาพสองมิติโดยวิธีที่ง่ายและรวดเร็ว ให้เกิดร่องรอยต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมือที่อยู่ใกล้ตัว เช่น ถ่าน เศษไม้ หรือแม้แต่นิ้วมือของตนเอง แต่ในปัจจุบันนิยมใช้ ดินสอ ปากกาและหมึก เครยอง ดินสอสี ดินสอถ่าน ชอล์ก ชอล์กสี ปากกามาร์กเกอร์ ปากกาหมึกซึม ซึ่งโดยมากจะเขียนลงบนกระดาษ หรือวัสดุอื่นอย่าง กระดาษแข็ง พลาสติก หนัง ผ้า กระดาน สำหรับการเขียนชั่วคราวอาจใช้กระดานดำหรือกระดานขาว หรือบนอะไรก็ได้ สำหรับศิลปินที่เขียนหรือทำงานการวาดเส้นอาจหมายถึง ช่างสเก็ตภาพ หรือ ช่างเขียนแ.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและการวาดเส้น · ดูเพิ่มเติม »

การถ่ายภาพ

กล้องถ่ายภาพ อุปกรณ์หลักในการถ่ายภาพ การถ่ายภาพ คือ การบันทึกเหตุการณ์ ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยการเก็บสภาพแสง ณ เวลานั้นไว้บนวัตถุไวแสง ผ่านอุปกรณ์รับแสงที่เรียกว่ากล้องถ่ายรูป หลังจากนั้น จะสามารถเปลี่ยนสภาพแสงเหล่านั้นกลับมาเป็นภาพได้อีกครั้งหนึ่ง ผ่านกระบวนการล้างอัดภาพ ในภาษาอังกฤษคำว่า การถ่ายภาพ คือ Photography (อ่านว่า โฟทอก' กระฟี) มาจากการผสมคำกรีกสองคำ คือ คำว่า φως - phos ซึ่งแปลว่า แสง กับคำว่า γραφις - graphis หรือ γραφη - graphê ซึ่งแปลว่า การเขียน.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและการถ่ายภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชีวิตประจำวัน

“ชาวบ้านเต้นรำ” โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ)ราว ค.ศ. 1568 ภาพชีวิตประจำวัน (ภาษาอังกฤษ: Genre works หรือ Genre scenes หรือ Genre views) เป็นภาพที่ใช้สื่อหลายอย่างเช่นจิตรกรรมหรือการถ่ายภาพในการแสดงฉากจากชีวิตประจำวันเช่น ฉากตลาด, ฉากภายในบ้าน, ฉากงานเลี้ยง หรือฉากถนนหนทาง การแสดงฉากก็อาจจะเหมือนจริง, เป็นการจินตนาการ หรือเป็นภาพแบบอุดมคติ สื่อที่เขียนก็เรียกว่า “จิตรกรรมชีวิตประจำวัน”, “ภาพพิมพ์ชีวิตประจำวัน” หรือ “ภาพถ่ายชีวิตประจำวัน” ซึ่งก็แล้วแต่สื่อ.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและภาพชีวิตประจำวัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพพิมพ์หิน

อิร์นสท์ เฮิคเคิล แท่นพิมพ์แบบพิมพ์หินสำหรับพิมพ์แผนที่ในมิวนิค ภาพพิมพ์หิน หรือ กลวิธีพิมพ์หิน (Lithography) “Lithography” มาจากภาษากรีกว่า “λίθος” (lithos) ที่แปลว่า “หิน” สมาสกับคำว่า “γράφω” (graphο) ที่แปลว่า “เขียน” คือเทคนิคการพิมพ์ที่ใช้หินปูนพิมพ์หิน (lithographic limestone) หรือแผ่นโลหะที่มีผิวเรียบ เดิมเทคนิคการพิมพ์ใช้น้ำมันหรือไขมัน แต่ในสมัยใหม่ภาพสร้างขึ้นโดยการใช้พอลิเมอร์ทำปฏิกิริยากับแผ่นพิมพ์อะลูมิเนียม พื้นผิวที่ราบเรียบแบ่งออกเป็น.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและภาพพิมพ์หิน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพพิมพ์แกะไม้

''Four horsemen of the Apocalypse'' โดย อัลเบรชท์ ดือเรอร์ ภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut) เป็นศิลปะการพิมพ์แบบนูน โดยที่ภาพที่จะพิมพ์ใช้แกะบนผิวไม้ เมื่อต้องการพิมพ์ก็จะทาส่วนพิมพ์ด้วยลูกกลิ้งมือ ทำให้หมึกเกาะบริเวณที่ต้องการจะพิมพ์แต่ไม่เกาะบนส่วนอื่นๆ ของพิมพ์ที่ไม่ต้องการจะพิมพ์ การพิมพ์หลายสีก็ใช้พิมพ์ไม้หลายพิมพ์ แต่ละสีก็จะใช้พิมพ์ต่างจากสีอื่น ศิลปะการแกะไม้สำหรับภาพพิมพ์แกะไม้เรียกว่า การแกะพิมพ์สำหรับภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut printmaking) มักจะไม่ใช้ในการแกะเฉพาะแต่ละภาพ แต่มักจะใช้สำหรับการแกะพิมพ์ที่มีทั้งตัวหนังสือแล.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและภาพพิมพ์แกะไม้ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพนิ่ง

ใช้ปีคศ|width.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและภาพนิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือน

หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนผู้อุทิศ

“การชื่นชมของพระบุตร” ฌอง เฮย์ ผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางขวาและเป็นส่วนหนึ่งของของภาพ ภาพเหมือนผู้อุทิศ หรือ ภาพรวมผู้อุทิศ (donor portrait หรือ votive portrait) คือภาพเหมือนในจิตรกรรมหรืองานศิลปะแบบอื่นเช่นประติมากรรมที่แสดงภาพของเจ้าของภาพหรือผู้จ้างให้สร้างงานศิลปะชิ้นนั้นที่อาจจะรวมทั้งครอบครัว และญาติพี่น้องของผู้จ้าง หรือกลุ่มคนที่เกี่ยวกับผู้จ้างด้วย “ภาพรวมผู้อุทิศ” (votive portrait) มักจะภาพทั้งภาพที่รวมทั้งภาพหลักและผู้อุทิศที่อยู่ในภาพ แต่ “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” (donor portrait) มักจะหมายถึงภาพเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับผู้อุทิศเท่านั้น “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” เป็นที่นิยมกันในการสร้างศิลปะคริสต์ศาสนา โดยเฉพาะในงานจิตรกรรมจากยุคกลาง และยุคเรอเนสซองซ์ที่มักจะแสดงผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางด้านหน้าสองข้างของภาพ และบ่อยครั้งที่แม้แต่ในตอนปลายของยุคเรอเนสซองซ์ที่ผู้อุทิศโดยเฉพาะเมื่อแสดงทั้งครอบครัวจะมีขนาดเล็กกว่าตัวเอกในภาพมากที่ขัดกับทฤษฎีการวาดทัศนมิติ เมื่อมาถึงยุคเรอเนสซองซ์ผู้อุทิศก็เริ่มมีความสำคัญขึ้นและกลายเป็นส่วนสำคัญของภาพที่อาจจะเป็นผู้เห็นเหตุการณ์หรือบางครั้งก็อาจจะเป็นผู้ร่วมเหตุการณ์ไปเลยก็ได้.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและภาพเหมือนผู้อุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนตนเอง

หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและภาพเหมือนตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศิลป์

รเบิร์ต สมิธสันที่โรเซลพอยน์ทในยูทาห์http://www.robertsmithson.com/earthworks/spiral_jetty.htm "Spiral Jetty" ลุนด์, สวีเดน, 473 X 354 มิลลิเมตร ลารา, ออสเตรเลียโดยแอนดรูว์ โรเจอร์ สัตว์ตำนานมีปีกกว้างถึง 100 เมตร และใช้หินในการสร้างทั้งหมด 1500 ตัน ภูมิศิลป์ (Land art หรือ Earthworks หรือ Earth art) บางตำราเรียกว่าธรณีศิลป์คือขบวนการศิลปะที่เริ่มขึ้นในสหรัฐอเมริการาวปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1970 ที่ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิทัศน์และงานศิลปะเป็นความสัมพันธ์ที่ผสานกันอย่างแยกไม่ออก ประติมากรรมมิได้วางอยู่ท่ามกลางภูมิทัศน์ แต่ภูมิทัศน์เป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดศิลปะ งานธรณีศิลป์มักจะเป็นศิลปะนอกสถานที่ที่ตั้งอยู่ไกลจากบ้านจากเมือง และปล่อยทิ้งไว้ให้ถูกกัดกร่อนลงไปตามธรรมชาติ งานชิ้นแรกๆ สร้างขึ้นในทะเลทรายในเนวาดา, นิวเม็กซิโก, ยูทาห์ และแอริโซนาที่เป็นงานชั่วคราวที่สร้างท่ามกลางธรรมชาติ ที่เหลืออยู่แต่เพียงจากการบันทึกไว้ในวิดีโอ หรือ ภาพถ่ายเท่านั้น.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและภูมิศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยนิยม

มนุษยนิยม (Humanism) หมายถึงประเภทกว้างๆ ของปรัชญาเชิงจริยศาสตร์ ที่ยืนยันถึงความสง่างามและคุณค่าของมนุษย์ทุกคน โดยอาศัยหลักความสามารถของบุคคลนั้นในการบ่งชี้ได้ด้วยตนเองว่าสิ่งใดถูกสิ่งใดผิด โดยได้การยอมรับโดยมนุษย์ทั่วไปที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะคุณภาพเชิงตรรกยะหรือเชิงเหตุผล มนุษยนิยมเป็นองค์ประกอบเฉพาะหลายๆ ตัวของระบบปรัชญาและได้รับการผนวกไว้ในหลายสำนักคิดทางศาสนา มนุษยนิยม วางเงื่อนไขไว้ให้มีการค้นหาความจริงและศีลธรรมในวิธีการที่มนุษย์จะนำมาใช้สนองความต้องการของมนุษย์ด้วยกัน เมื่อมองไปที่ ความสามารถในการกำหนดและตัดสินได้ด้วยตนเอง มนุษยนิยมจะไม่รับการชั่งใจและตัดสินใจโดยสิ่งที่อยู่เหนือความเข้าใจ เช่นการตัดสินใจที่ขึ้นอยู่กับ "ความเชื่อที่ปราศจากเหตุผล" สิ่งเหนือธรรมชาติ หรือด้วยคำทำนายที่อ้างไว้ในคัมภีร์ใดๆ มนุษยนิยมสนับสนุนจริยธรรมสากล (universal morality) ที่อยู่พื้นฐานของมนุษย์ทั่วไปที่มีความเป็นอยู่ธรรมดา ซึ่งแสดงให้เห็นได้ว่า การแก้ปัญหาในสังคมมนุษย์และปัญหาทางวัฒนธรรมของมนุษย์จะใช้แนวทางเฉพาะกลุ่มชนแคบๆ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งไม่ได้.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและมนุษยนิยม · ดูเพิ่มเติม »

รูปเคารพ

“พระเยซู” โดยอันเดร รูเบลฟ (Andrei Rublev) ราวปี ค.ศ. 1410 รูปเคารพทำจากเซรามิคจากราวปีค.ศ. 900 จากเพรสลาฟ ประเทศบัลกาเรีย รูปเคารพ (ภาษาอังกฤษ: icon; ภาษากรีก: εἰκών, eikon) คือรูป, รูปเหมือน หรือสิ่งที่สร้างแทน ที่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์แทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในสมัยปัจจุบัน “รูปเคารพ” โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมโดยทั่วไปจะหมายถึงสัญลักษณ์เช่นชื่อ, หน้า, รูป หรือคนที่เป็นที่รู้จักที่มีชื่อเสียงที่มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง การใช้สิ่งของหรือรูปเป็นสัญลักษณ์ของสิ่งที่มีความสำคัญเหนือกว่าไม่ว่าจะเป็นตามตัวอักษรหรือตามการตีความหมายมักจะใช้ในศาสนา, วัฒนธรรม, การเมือง, หรือทางเศรษฐกิจ ในประวัติศาสตร์ลัทธินิยมทางศาสนาหรือวัฒนธรรมทางศาสนารูปเคารพจะมีอิทธิพลมาจากรูปที่เป็นตัวเป็นตนไม่ว่าจะเป็นรูปสองหรือสามมิติ ความประสงค์ของรูปเคารพไม่ว่าจะเป็นเพื่อการสั่งสอนหรือเป็นแรงบันดาลใจ หรือวิธีใช้เช่นเพื่อการบูชาหรือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือความสำคัญของการใช้รูปเคารพก็ขึ้นอยู่กับสถาบันที่ใช้และสมัยของการใช้.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและรูปเคารพ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิรูปลักษณ์นิยม

กงานแสดงศิลปะของกลุ่ม “ลัทธิรูปลักษณ์นิยม” ในปี ค.ศ. 2003 ลัทธิรูปลักษณ์นิยม หรือ ลัทธิสตัคคิสม์ (Stuckism) คือขบวนการศิลปะนานาชาติที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1999 โดย บิลลี ไชล์ดิช และ ชาร์ลส์ ทอมสันเพื่อเผยแพร่ศิลปะรูปลักษณ์ (Figurative art) ที่ในการโต้ตอบศิลปะเชิงแนวคิด ศิลปินสิบสามคนกลุ่มแรกขยายตัวเพิ่มขึ้นเป็น 202 กลุ่ม ใน 48 ประเทศในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิรูปลักษณ์นิยม · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิสัญลักษณ์นิยม

วามตาย และ เทวดา, หิมะที่ยังใหม่, และการวางท่าของตัวแบบที่แสดงความต้องการในการแปรจากความเป็นปัจจุบันไปสู่ดินแดนอื่น (transfiguration) ลัทธิสัญลักษณ์นิยม (ภาษาอังกฤษ: Symbolism in arts) คือขบวนการทางศิลปะที่เกิดขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่มาจากฝรั่งเศสและเบลเยียมในการเขียนกวีนิพนธ์และการสร้างศิลปะอื่น.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิสัญลักษณ์นิยม · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิสัจนิยมใหม่

ลัทธิสัจนิยมใหม่ (Nouveau réalisme หรือ New Realism) คือขบวนการศิลปะที่ก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1960 โดยนักวิพากษ์ศิลป์ปิแยร์ เรสตานีย์ และจิตรกรอีฟว์ ไคลน์ระหว่างนิทรรศการที่ห้องแสดงภาพอพอลลิแนร์ในมิลาน ปิแยร์ เรสตานีย์เป็นผู้เขียน “แถลงการณ์” (manifesto) ฉบับแรกสำหรับกลุ่มชื่อ “ประกาศบัญญัติของลัทธิสัจนิยมใหม่” (Constitutive Declaration of New Realism) ในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิสัจนิยมใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์

หอไอน์สไตน์ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแนวสำแดงพลังอารมณ์ที่พอทสดัมในเยอรมนี ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ หรือ เอกซเพรสชันนิซึม (expressionism) คือขบวนการทางวัฒนธรรมที่เริ่มขึ้นในเยอรมนีเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่เป็นปฏิกิริยาต่อปฏิฐานนิยม (positivism) และขบวนการศิลปะอื่น ๆ เช่น ธรรมชาตินิยม (naturalism) และลัทธิประทับใจ (impressionism) วัตถุประสงค์ของขบวนการนี้ก็เพื่อการแสวงหาความหมายของ "ความรู้สึกมีชีวิตชีวา" (being alive)Victorino Tejera, 1966, pages 85,140, Art and Human Intelligence, Vision Press Limited, London และประสบการณ์ทางอารมณ์แทนความเป็นจริงทางวัตถุ แนวโน้มของศิลปินกลุ่มนี้จะบิดเบือนความเป็นจริงเพื่อที่จะแสดงผลที่มีต่ออารมณ์ และเป็นศิลปะอัตวิสัย (subjective art form) ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ปรากฏในงานศิลปะหลายรูปหลายแบบซึ่งได้แก่ จิตรกรรม วรรณกรรม การละคร ภาพยนตร์ สถาปัตยกรรม และการดนตรี และมักจะเป็นคำที่มีนัยยะถึงอารมณ์รุนแรงภายใน (angst) โดยทั่วไปแล้วจิตรกรเช่น มัททีอัส กรือเนวัลด์ และเอลเกรโก ก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็นจิตรกรแนวสำแดงพลังอารมณ์ แม้ว่าจะเป็นคำที่มักจะใช้กับงานศิลปะของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็ตาม.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิผสานจุดสี

รายละเอียดของภาพ "พาเหรดละครสัตว์" (ค.ศ. 1889) โดยฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา แสดงให้เห็นจุดสีที่ตัดการในการผสานจุดสี ลัทธิผสานจุดสี (pointillism) คือเทคนิคการเขียนจิตรกรรมที่ใช้จุดสีเล็กๆ ต่างๆ สีที่ผสานกันขึ้นมาเป็นภาพด้วยตา นอกจากการใช้การ "ผสานจุดสี" แล้วก็ยังมีงานกราฟิกที่เป็นภาพที่เกิดจากจุดที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ที่มาของลัทธิผสานจุดสีมาจากศิลปะรูปลักษณ์ (figurative art) ของการสร้างงานจิตรกรรมที่ไม่ใช่การสร้างศิลปะนามธรรม (abstract art) ของศิลปะการแสดงออก.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิผสานจุดสี · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิจุลนิยม

“Dillingen Serra”Dillinger.de: Richard Serra’s "Viewpoint" for Dillingenhttp://www.dillinger.de/dh/aktuelles/news/01700/index.shtml.en ประติมากรรมโดย ริชาร์ด เซร์รา ลัทธิจุลนิยม หรือ ลัทธิมินิมัลลิสม์ (ภาษาอังกฤษ: Minimalism) คือขบวนการทางศิลปะและการออกแบบโดยเฉพาะจักษุศิลป์และคีตศิลป์ ที่เริ่มราวหลังสงครามโลกครั้งที่สองในศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะจักษุศิลป์ของสหรัฐอเมริกา ราวปลายคริสต์ทศศตวรรษ 1960 และ ต้นคริสต์ทศศตวรรษ 1970 งานลัทธิจุลนิยมจะเป็นงานที่ปอกรายละเอียดจนเหลือแต่แก่น ซึ่งมีผลต่องานศิลปะหลายแขนงรวมทั้งจิตรกรรม, ประติมากรรม และคีตกรรม ศิลปินผู้มีบทบาทในขบวนการนี้ก็ได้แก่ โดนัลด์ จัดด์ (Donald Judd), คาร์ล อันเดร (Carl Andre) และ ริชาร์ด เซร์รา (Richard Serra) ลัทธิจุลนิยมเป็นความคิดรากฐานของการลดลง (reductive aspect) ของลัทธิสมัยใหม่ (Modernism) บางครั้งจึงตีความหมายว่าเป็นปฏิกิริยาตอบโต้ ลัทธิการแสดงออกทางนามธรรม (Abstract Expressionism) และเป็นสะพานเชื่อมไปยังลัทธิสมัยใหม่สมัยหลัง (Postmodernism) คำว่า “ลัทธิจุลนิยม” ครอบคลุมไปถึงขบวนการเปลี่ยนแปลงทางดนตรีซึ่งจะใช้การเล่นซ้ำและขยายจากแกนเช่นงานของ สตีฟ ไรค์ (Steve Reich), จอห์น แอดัมส์ (John Adams), ฟิลลิป กลาส (Philip Glass) และ เทอร์รี ไรลีย์ (Terry Riley) คำว่า “ลัทธิจุลนิยม” มักจะใช้ในภาษาพูดที่หมายถึงสิ่งที่เปลือยจากรายละเอียดต่างๆ และบางครั้งก็ใช้บรรยายบทละครที่เขียนโดย ซามูเอล เบคเคท (Samuel Beckett), ภาพยนตร์โดย โรเบิร์ต เบรสซัน (Robert Bresson) และงานเขียนเรื่องเล่าของ เรมอนด์ คาร์เวอร์ (Raymond Carver), งานสถาปัตยกรรมของ ลุดวิก ฟอน เดอร์ โรห์ (Ludwig Mies van der Rohe) หรือแม้แต่การออกแบบรถยนต์โดย โคลิน แชพแมน (Colin Chapman).

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิจุลนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคลาสสิกใหม่

"แจกันเมดีชี" แจกันกระเบื้อง ตกแต่งด้วยสีปอมเปอีดำและแดง, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ราว ค.ศ. 1830 ลัทธิคลาสสิกใหม่ (neoclassicism, neo-classicism) เป็นชื่อที่ใช้สำหรับขบวนการทางวัฒนธรรมของศิลปะการตกแต่ง ทัศนศิลป์ วรรณคดี การละคร ดนตรี และสถาปัตยกรรมที่มาจากศิลปะคลาสสิกและวัฒนธรรมซึ่งส่วนใหญ่มาจากกรีกโบราณหรือโรมันโบราณ) ขบวนการเหล่านี้มีความนิยมระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษ 19.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิคลาสสิกใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิประทับใจ

''Avenue de l'Opéra'') โดยกามีย์ ปีซาโร ลัทธิประทับใจ หรือ อิมเพรสชันนิซึม (impressionism) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเริ่มต้นจากการรวมตัวกันอย่างหลวม ๆ ของจิตรกรทั้งหลายที่มีนิวาสถานอยู่ในกรุงปารีส พวกเขาเริ่มจัดแสดงงานศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1860 ชื่อของขบวนการนี้มีที่มาจากภาพวาดของโกลด มอแน ที่มีชื่อว่า Impression, Sunrise ("Impression, soleil levant" ในภาษาฝรั่งเศส) และนักวิจารณ์ศิลปะนามว่าหลุยส์ เลอรัว (Louis Leroy) ก็ได้ให้กำเนิดคำคำนี้ขึ้นมาอย่างไม่ตั้งใจในบทวิจารณ์ศิลปะเชิงเสียดสีซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เลอชารีวารี (Le Charivari) อิทธิพลของลัทธิประทับใจยังแผ่ออกจากวงการศิลปะไปยังดนตรีและวรรณกรรม.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิประทับใจ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิประทับใจยุคหลัง

"ร้อยปีแห่งความมีอิสระ" โดยอ็องรี รูโซ ค.ศ. 1892 ลัทธิประทับใจยุคหลัง (post-impressionism) เป็นคำที่คิดขึ้นในปี ค.ศ. 1910 โดยรอเจอร์ ฟราย (Roger Fry) ศิลปินและนักวิจารณ์ศิลปะชาวอังกฤษ เพื่อบรรยายศิลปะที่วิวัฒนาการขึ้นในฝรั่งเศสหลังสมัยเอดัวร์ มาแน จิตรกรลัทธิประทับใจยุคหลังยังคงสร้างงานศิลปะลัทธิประทับใจ แต่ไม่ยอมรับความจำกัดของศิลปะลัทธิประทับใจ จิตรกรสมัยหลังจะเลือกใช้สีจัด เขียนสีหนา ฝีแปรงที่เด่นชัดและวาดภาพจากของจริง และมักจะเน้นรูปทรงเชิงเรขาคณิตเพื่อจะบิดเบือนจากการแสดงออก นอกจากนั้นการใช้สีก็จะเป็นสีที่ไม่เป็นธรรมชาติและจะขึ้นอยู่กับสีที่จิตรกรต้องการจะใช้.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิประทับใจยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิประทับใจใหม่

"บ่ายวันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัต" โดยฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา ราว ค.ศ. 1884–1886 ภาพเหมือนของเฟลิกซ์ เฟเนอง โดยปอล ซีญัก ค.ศ. 1890 ลัทธิประทับใจใหม่ (neo-impressionism) เป็นคำที่เริ่มใช้โดยนักวิพากษ์ศิลปะชาวฝรั่งเศสชื่อเฟลิกซ์ เฟเนอง ในปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิประทับใจใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเริงรมณ์

มพ์อย่างสีน้ำhttp://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php “''ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน''” ลัทธิเริงรมณ์ (Decadent movement) คือขบวนการศิลปะ และ ขบวนการวรรณกรรมของปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ของยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะในฝรั่ง.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิเริงรมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเหนือจริง

“Arrested Expansion หรือ Cardiac Arrest” โดย จอร์จ กรี (George Grie) ลัทธิเหนือจริง หรือ เซอร์เรียลลิซึม (Surrealism) เป็น “ลัทธิ” หรือ “ขบวนการ” ทางวรรณศิลป์และทัศนศิลป์ที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อ็องเดร เบรอตง (Andre Breton) เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มดาดา (Dadaism) ที่มีเป้าหมายใช้ความก้าวร้าวรุนแรงเพื่อต่อต้านสงคราม ต่อต้านค่านิยมของชนชั้นกลางทุกชนิดรวมทั้งคริสต์ศาสนา ต้องการทำลายขนบประเพณีที่ชนชั้นกลางสะสมไว้รวมทั้งศิลปวรรณคดีด้วย หลังจากร่วมทำกิจกรรมกับกลุ่มดาดาอยู่ระยะหนึ่งเบรอตงกับเพื่อนก็แยกตัวออกมาตั้งกลุ่มใหม่ คือ กลุ่มเซอร์เรียลลิซึม ซึ่งยังรับเอาความก้าวร้าวมุ่งทำลายค่านิยมของชนชั้นกลางของดาดามาเป็นฐานแต่มุ่งสร้างค่านิยมใหม.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิเหนือจริง · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเค้าโครง

ลัทธิเค้าโครง อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและลัทธิเค้าโครง · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะกอทิก

ลปะกอทิก (Gothic art) เริ่มต้นขึ้นประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 17 และมีอิทธิพลอยู่ประมาณ 350 ปีต่อเนื่องมาจากศิลปะโรมาเนสก์ พบในศิลปะศาสนาในการสร้างมหาวิหาร (Cathedral) พอถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 19 ศิลปะแบบนี้ก็เผยแพร่ไปยังศิลปะในประเทศอื่นในยุโรปตะวันตกที่เรียกกันว่าศิลปะกอทิกนานาชาติ ศิลปะกอทิกนิยมกันมาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 20 จึงเริ่มวิวัฒนาการมาเป็น ศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ศิลปะแขนงสำคัญของสมัยกอธิคคือ ประติมากรรม งานกระจกสี จิตรกรรมฝาผนัง การเขียนลวดลายในหนังสือวิจิตร ศิลปะกอธิคเริ่มต้นจากฝรั่งเศสและแพร่หลายไปยังประเทศอื่น ๆ และมีลักษณะตามภูมิภาคนั้น ๆ ด้วย ลักษณะสำคัญของสถาปัตยกรรมมีผนังเปิดกว้าง มีส่วนสูงเด่นเป็นพิเศษและมีแบบที่ออกมาเป็นลายเส้นอันซับซ้อน ทุกส่วนล้วนประกอบเข้าด้วยกันเป็นสัญลักษณ์นิยม ทางศาสนา โครงสร้างหลังคาเป็นโค้งแหลม ลักษณะต่างๆ เหล่านี้จะหาดูได้จากมหาวิหารในฝรั่งเศส, เยอรมนี และ อังกฤษ เช่น มหาวิหารแซ็ง-เดอนี (ฝรั่งเศส) มหาวิหารนัวยง (ฝรั่งเศส) มหาวิหารล็อง (ฝรั่งเศส) มหาวิหารอามีแย็ง (ฝรั่งเศส) มหาวิหารกลอสเตอร์ (อังกฤษ) และ มหาวิหารเอ็กซีเตอร์ (อังกฤษ) เป็นต้น มุขด้านตะวันออกของวิหาร Chartres Cathedral (ราว ค.ศ. 1145) รูปปั้นประกอบสถาปัตยกรรมนี้เป็นประติมากรรมศิลปะกอทิกตอนต้น ซึ่งแสดงวิวัฒนาการในรูปแบบเป็นแบบอย่างแก่ประติมากรรุ่นต่อมา ศิลปะกอทิกเป็นศิลปะที่เกิดในยุโรปช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่12-15 มีศูนย์กลางที่ฝรั่งเศส คำว่า"กอธิค" เริ่มใช้ครั้งแรกโดยนักวิจารณ์ศิลปะสมัยสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนปลายของอิตาลี เรียกรูปแบบของศิลปะ ที่เกิดในยุโรปในช่วงเวลาดังกล่าวข้างต้น ที่เป็นผลงานของพวกกอท แฟรงก์ ลอมบาร์ค สลาฟ และแซกซัน ซึ่งต่างเป็นชนเผ่าป่าเถื่อน ไร้ความเจริญทางศิลปวิทยาการ ประการสำคัญ เป็นชนเผ่าที่ทำลายจักรวรรดิโรมันและถึงพร้อมด้านศิลปวิทยาการ ดังนั้นถ้อยสำเนียงหรือนัยยะ ที่ใช้เรียกว่า "ศิลปะกอทิก" จึงเป็นการเรียกขานที่บ่งบอกไปในทางเย้ยหยันมากกว่าการชื่นชม เมื่อเปรียบเทียบกับคุณค่าศิลปะแบบกรีก-โรมัน ที่มีกฎเกณท์ชัดเจน ซึ่งในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาได้รื้อฟื้นกลับมาปรับใช้ในยุคสมัยของตน จนเรียกชื่อยุคว่าเรอเนซองค์ หรือฟื้นฟูศิลปวิทยาการ หมายถึงย้อนกลับไปรื้อฟื้นศิลปวิทยาการแบบกรีก-โรมันขึ้นมาอีกนั้น จึงยิ่งส่งผลให้มองศิลปกรรมอันเกิดจากฝีมือของผู้ทำลายอาณาจักรโรมันยิ่งดูไร้คุณค่าไร้รสนิยมยิ่งขึ้น จนนักวิจารณ์บางคนในยุคเรอเนซองส์ใช้คำกล่าวหาศิลปะกอธิคค่อนข้างรุนแรงว่าเป็นศิลปะที่ "ไร้รสนิยม" และ"วิตถาร" อย่างไรก็ตาม สำหรับชาวยุโรปทั่วไปนอกจากอิตาลีแล้ว มักจะเรียกศิลปกรรมกอธิคอย่างยอมรับมากกว่าจะดูแคลน โดยพวกเขาจะเรียกศิลปะกลุ่มนี้เป็นภาษาละตินว่า Opus Modernum หรืองานสมัยใหม่ ศิลปกรรมกอทิกเป็นศิลปะที่มีคุณค่าในตนเองอีกลักษณะรูปแบบหนึ่งของโลก ส่งผลต่อกระแสการหวนกลับไปสู่การชื่นชมและสร้างงานศิลปกรรมกอธิคอีกครั้งในศตวรรษที่ 18 ทั้งในยุโรปและอเมริกา จนกลายเป็นยุคที่เรียกว่า Gothic Revival.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะกอทิก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์

ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ คืองานศิลปะที่ได้เริ่มทำก่อนกันมาก่อนที่มนุษย์จะรู้จักการบันทึกเรื่องราวที่เรียกว่ายุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยนับตั้งแต่ ยุคหินเก่าตอนปลาย ซึ่งอยู่ในช่วงเวลาประมาณ 30,000-10,000 ปีมาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 15,000-10,000 มานั้น มนุษย์ได้เขียนภาพสี และขูดขีดบนผนังถ้ำและเพิงผา เป็นภาพสัตว์ การล่าสัตว์และภาพลวดลายเรขาคณิต โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงออกเกี่ยวกับวิถีชีวิตประจำวัน และแสดงความสามารถในการล่าสัตว์ ภาพเหล่านี้มักระบายด้วยถ่านไม้ และสีที่ผสมกับไขมันสัตว์ พบได้ทั่วไปในประเทศฝรั่งเศสและภาคเหนือของสเปน ที่มีชื่อเสียงมากได้แก่ ถ้ำลาสโกซ์ ในฝรั่งเศส ถ้ำอัลตามิรา ในสเปน งานศิลปะในยุคเก่าไม่มีเพียงแต่การเขียนภาพเท่านั้น ยังมีการปั้นรูปด้วยดินเหนียว หรือแกะสลักบนกระดูก เขาสัตว์ และงาช้าง เรื่องราวที่นิยมทำกันได้แก่เรื่อง การล่าสัตว์ หรือบางก็มีรูปคน เป็นรูปสตรี ซึ่งอาจมีความหมายถึงการให้กำเนิดเป็นการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้กับชนเผ่า *.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะยุคกรีก

ลปะกรีกโบราณ หรือ ศิลปะกรีซโบราณ (750 ปีก่อนค.ศ. - 300 ปีก่อนค.ศ.) ชาวกรีกมีความเชื่อว่า "มนุษย์เป็นมาตรวัดสรรพสิ่ง" ซึ่งความเชื่อนี้เป็นรากฐาน ทางวัฒนธรรมของชาวกรีก เทพเจ้าของชาวกรีกจะมีรูปร่างอย่างมนุษย์ และไม่มี ความเชื่อเกี่ยวกับชีวิตหลังความตายเหมือนชาวอียิปต์ ดังนั้น จึงไม่มีสุสานหรือพิธี ฝังศพที่ซับซ้อนวิจิตรเหมือนกับชาวอียิปต.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะยุคกรีก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะร่วมสมัย

ระวังสับสนกับศิลปะสมัยใหม่ (Modern art) ศิลปะร่วมสมัย (อังกฤษ: Contemporary art) หมายถึง ศิลปะ ณ ปัจจุบัน เริ่มต้นขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 หรือช่วงต้นศตวรรษที่ 21 ศิลปินร่วมสมัยมักทำงานที่ได้รับอิทธิพลกว้างขวางจากความเป็นโลกาภิวัฒน์ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการพัฒนาอย่างก้าวไกลในด้านเทคโนโลยี งานศิลปะร่วมสมัยเป็นการรวมตัวกันอยากหลากหลายของทั้งวัสดุ วิธีการ แนวความคิด และหัวข้อที่ทำให้เกิดการท้าทายต่อขอบเขตของงานศิลปะรูปแบบเดิมๆ ที่เป็นที่นิยมในช่วงศตวรรษที่ 20 ด้วยความที่ศิลปะร่วมสมัยนั้นมีความหลากหลายเป็นอันมาก เราสามารถจำแนกศิลปะร่วมสมัยได้โดยดูจากความยืดหยุ่นของรูปแบบ โครงสร้างหลักการ แนวความคิด และการแบ่งออกเป็นลัทธิต่างๆ ศิลปะร่วมสมัยเป็นส่วนหนึ่งของบทสนทนาทางวัฒนธรรมที่ซึ่งเกี่ยวข้องกับบริบทขอบข่ายที่กว้างขึ้น ได้แก่ อัตลักษณ์เฉพาะตัวและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ครอบครัว สังคม รวมไปถึงประเทศชาติ ในภาษาพูดโดยทั่วไป คำว่า ศิลปะสมัยใหม่ และศิลปะร่วมสมัย เป็นคำพ้องความหมาย สามารถเห็นการใช้สลับกันได้โดยบุคคลทั่วไปที่ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านศิลป.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะร่วมสมัย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะลวงตา

ลปะลวงตา (ภาษาอังกฤษ: Op art หรือ Optical art) เป็นทัศนศิลป์โดยเฉพาะจิตรกรรมในการสร้างภาพลวงตา ศิลปะลวงตาเป็นวิธีการเขียนที่คำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างความลวงตาและพื้นผิวของภาพ ระหว่างความเข้าใจและการมองเห็น ศิลปะลวงตาเป็นงานศิลปะแบบนามธรรมที่งานส่วนใหญ่เป็นสีขาวดำ เมื่อมองภาพผู้ชมมองอาจจะมีความรู้สึกว่ามีความเคลื่อนไหวในภาพ, มีภาพซ่อนอยู่ในภาพ, มีแสงวาบหรือความไหว, เป็นลายหรือมีความโก่งหรือบิดเบี้ยว.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะลวงตา · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสมัยใหม่

ศิลปะสมัยใหม่ ผลงานของปีกัซโซ ศิลปะสมัยใหม่ เป็นคำที่ใช้เรียกการสร้างงานศิลปะตั้งแต่ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนถึงประมาณคริสต์ทศวรรษ 1970 (สำหรับการสร้างงานศิลปะเมื่อไม่นานมานี้ มักจะเรียกว่า ศิลปะร่วมสมัย หรือ ศิลปะหลังสมัยใหม่) โดยการเป็นงานที่มีลักษณะเป็นสากล และเป็นแบบอย่างของแต่ละบุคคลมากว่าที่จะเป็นแบบอย่างศิลปะแห่งแคว้นซึ่งเป็นแบบที่มีความแตกต่างกันจนยากที่จะกล่าวอย่างผิวเผินได้ วัสดุและเทคนิคใหม่ ๆ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์อย่างรวดเร็ว พร้อมทั้งผลผลิตของเครื่องจักรกลได้สะท้อนไปสู่งานศิลปะทำให้รูปแบบของศิลปะมีความหลายหลายมากยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกัน ความรู้ทางด้านจิตวิทยาและฟิสิกส์ได้จัดแจงรูปแบบความคิดของศิลปินที่มีต่อมนุษย์ และโลกทางกายภาพขึ้นใหม่ อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ไม่สามารถที่จะอธิบายให้เข้าใจอย่างง่าย ๆ ได้ แม้ว่าแนวโน้มศิลปะหลาย ๆ แบบในสมัยพุทธศตวรรษที่ 25 จะได้พยายามลดคุณค่าแบบอย่างศิลปะส่วนตนไปบ้าง แต่แนวโน้มที่แพร่หลายไปนี้ก็เน้นหนักที่ความคิดริเริ่มเป็นสำคัญ ลักษณะสำคัญของงานศิลปะสมัยใหม่ จึงเป็นปฏิกิริยาที่ศิลปินแต่ละคนแสดงออกต่อโลกรอบตัว การค้นหาอาณาจักรความฝันเฟื่องของแต่ละคน การสร้างโลกทัศน์ใหม่ของตัวเองจากวัสดุและเทคนิควิธีการที่แปลกใหม่ไปจากเดิม เหล่านี้เป็นลักษณะสำคัญของงานจิตรกรรม ประติมากรรมแห่งพุทธศตวรรษที่ 25 แต่ในขณะเดียวกันก็ยังมีความสนใจในศิลปวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมและได้รับอิทธิพลจากศิลปะในแบบดั้งเดิมอีกด้วย ศิลปะสมัยใหม่ โดยสรุป จึงเป็นรูปแบบเฉพาะของศิลปินแต่ละคนเน้นความเป็นตัวของตัวเองของศิลปินแต่ละกลุ่มซึ่งมีมากมายหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มก็มีแนวคิดเทคนิค วิธีการที่แตกต่างกันออกไปอย่างหลากหลาย บ้างก็ สะท้อนสภาพสังคม บ้างก็ แสดงมุมมองบางอย่างที่แตกต่างออกไป บ้างก็ แสดงภาวะทางจิตของศิลปินและกลุ่มชน บ้างก็ แสดงความประทับใจในความงามตามธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้มีการนำเอาวัสดุอุปกรณ์แบบใหม่ ๆ รวมถึงเครื่องจักรกลเข้ามาใช้ในการสร้างสรรค์งานมากขึ้น การบริโภค หรือการสนับสนุนงานศิลปะ ไม่จำกัดอยู่ที่ชนชั้นสูง ขุนนาง หรือผู้ร่ำรวยอย่างแต่ก่อนเท่านั้น แต่ยังตอบสนองต่อประชาชนทั่วไปอีกด้วย ไม่เพียงแต่รูปแบบที่หลากหลายทางศิลปะเท่านั้นที่เกิดขึ้น รูปแบบศิลปะสมัยดั้งเดิมก็ยังได้รับความนิยมและสืบทอดต่อกันมาจนถึงสมัยปัจจุบันด้วย หมวดหมู่:ศิลปะ สมัย.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะสมัยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสมถะ

ซ็ปเป เพโนโน, ค.ศ. 1985 ศิลปะสมถะ (Arte Povera) เป็นลักษณะงานศิลปะของศิลปะสมัยใหม่ คำว่า “Arte Povera” หรือ “ศิลปะสมถะ” เป็นคำที่เริ่มใช้กันขึ้นในอิตาลีในช่วงของความไม่สงบเมื่อปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 เมื่อศิลปินเริ่มที่จะมีถือคติรุนแรงทางการเมือง ศิลปินเริ่มโจมตีคุณค่าของสถาบันทางการของรัฐบาล, อุตสาหกรรม และวัฒนธรรม หรือแม้แต่ตั้งข้อกังขาที่เป็นการแสดงออกของแต่ละบุคคลนั้นจะเป็นสิ่งที่มีเหตุผลทางจริยธรรมที่จะดำรงอยู่หรือไม่ นักวิพากษ์ศิลป์เจอร์มาโน เชลันท์จัดงานแสดงศิลปะสองครั้งในปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะสมถะ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสัจนิยม

ียนแบบสัจจนิยม “สวัสดีมงซิเออร์คูร์เบต์” โดย กุสตาฟ คูร์เบต์ ค.ศ. 1854 ศิลปะสัจนิยม (Realism) คือทัศนศิลป์ และ วรรณกรรมที่แสดงตัวแบบหรือเรื่องราวตามที่ปรากฏในชีวิตประจำวันโดยปราศจากการสร้างเสริมหรือการตีความหมาย และหมายถึงงานศิลปะที่เผยให้เห็นถึงความเป็นจริงที่อาจจะเน้นความเป็นอัปลักษณ์ด้วย สัจนิยมมักจะหมายถึงขบวนการศิลปะที่เริ่มขึ้นในฝรั่งเศสในคริสต์ทศวรรษ 1850 ความนิยมสัจนิยมเพิ่มมากขึ้นเมื่อเริ่มมีศิลปะการถ่ายภาพเกิดขึ้น ที่ทำให้ศิลปินมีความต้องการที่จะสร้างงานที่ดู “แท้จริง” ศิลปินสัจนิยมจะมีทัศนคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิจินตนิยมซึ่งเป็นประเภทของศิลปะที่มีอิทธิพลต่องานศิลปะและวรรณกรรมในฝรั่งเศสในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 การไม่ใช้ความรู้สึกส่วนตัวในการบิดเบือนทำให้ศิลปินสัจนิยมมีความเชื่อในปรัชญาของความเป็นจริง และ ต่อต้านการแสดงออกทางอารมณ์อย่างเกินเลย สัจจะและความเที่ยงตรงคือปัจจัยสำคัญของผู้ที่เรียกตนเองว่าเป็นสัจนิยม.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะสัจนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะอัศจรรย์

“Mermaid Syndrom”, ค.ศ. 2006 ศิลปะอัศจรรย์ หรือ อัศจรรย์ศิลป์ (Fantastic art) คือประเภทของงานศิลปะ ขอบข่ายของศิลปะอัศจรรย์ได้รับการนิยามอย่างเคร่งครัดโดยนักวิชาการมาตั้งแต่สมัยของชูลส์ แวร์นและเอช. จี. เวลส์ ก่อนหน้าและระหว่างภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ก็ได้มีขบวนการศิลปินไซ-ไฟ/แฟนตาซีที่ครอบคลุมงานประเภทศิลปินภาพประกอบศิลปะและหนังสือคอมมิค บทเขียนรวมเกี่ยวกับงานศิลปะประเภทนี้เห็นได้ชัดในหนังสือ “Infinite Worlds: The Fantastic Visions of Science Fiction Art” โดยศิลปินอเมริกันวินเซนต์ ดิ เฟทโดยมีนักเขียนอเมริกันเรย์ แบรดเบอร์รีเป็นผู้เขียนบทนำ ศิลปะอัศจรรย์เดิมจำกัดอยู่เฉพาะแต่งานจิตรกรรมและภาพประกอบ แต่ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 เป็นต้นมาก็ขยายไปรวมภาพถ่าย ศิลปะอัศจรรย์มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับแฟนตาซี, แฟนตาซีเชิงวิทยาศาสตร์ (ประเภทย่อยของไซ-ไฟที่เกี่ยวกับความลี้ลับของมนุษย์ต่างดาวและศาสนาของมนุษย์ต่างดาว), จินตนาการ, และภาวะกึ่งฝัน, วิลักษณ์, มโนทัศน์อันเหนือจริงSchurian, Walter (2005) Beyond Mere Understanding.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะอัศจรรย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะอียิปต์โบราณ

'''งานจิตรกรรมของอียิปต์''' ศิลปะอียิปต์ อยู่ในช่วงเวลา 3,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราชถึงคริสต์ศักราชที่ 1000 (2650 ปีก่อน พ.ศ. - พ.ศ. 510) ชาวอียิปต์มีศาสนาและพิธีกรรมอันซับซ้อน แทรกซึมอยู่เป็นวัฒนธรรมอยู่ในสังคมเป็นเวลานาน มีการนับถือเทพเจ้าที่มีลักษณะอันหลากหลาย ดังนั้น งานจิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรมส่วนมากจึงเป็นเรื่องเกี่ยวกับศาสนา พิธีกรรม โดยเฉพาะพิธีฝังศพ ซึ่งมีความเชื่อว่าเมื่อตายแล้วจะยังมีชีวิตอยู่ในโลกใหม่ได้อีก จึงมีการรักษาศพไว้อย่างดี และนำสิ่งของเครื่องใช้ที่มีค่าของผู้ตายบรรจุตามลงไปด้ว.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะอียิปต์โบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะจัดวาง

หอศิลป์เททโมเดิร์นในสหราชอาณาจักร ศิลปะจัดวาง หรือ ศิลปะติดตั้ง (Installation art) หมายถึงประเภทของงานศิลปะที่มีที่ตั้งเฉพาะจุด, เป็นงานสามมิติ ที่ออกแบบเพื่อที่จะแปรสภาพการรับรู้ของสิ่งแวดล้อม (perception of a space) โดยทั่วไปแล้ว “ศิลปะจัดวาง” จะหมายถึงศิลปะภายในตัวสิ่งก่อสร้าง ถ้าตั้งอยู่ภายนอกก็มักจะเรียกว่า “ศิลปะภูมิทัศน์” (Land art) และศิลปะสองประเภทนี้คาบเกี่ยวกัน ศิลปะจัดวางอาจจะเป็นได้ทั้งศิลปะที่ติดตั้งอย่างถาวรหรือเพียงชั่วคราวก็ได้ ศิลปะจัดวางได้รับการติดตั้งในการแสดงงานนิทรรศการศิลปะ เช่นในพิพิธภัณฑ์หรือหอศิลป์ หรือในบริเวณทั้งที่เป็นของส่วนบุคคลและของสาธารณชน ประเภทของงานก็ครอบคลุมตั้งแต่การใช้วัสดุที่พบโดยทั่วไป ที่มักจะเลือกสรรจากวัสดุที่ทำให้มีความกระทบอารมณ์ รวมไปถึงวัตถุสมัยใหม่เช่นวิดีโอ, เสียง, การแสดง, ความเสมือนจริงแบบดื่มด่ำ (Immersive virtual reality) และอินเทอร์เน็ต ศิลปะจัดวางหลายชิ้นเป็นศิลปะเฉพาะที่ (Site-Specific Art) ซึ่งหมายความว่าเป็นงานที่ออกแบบให้ติดตั้งตรงตำแหน่งหรือสถานที่ที่สร้างงานศิลปะโดยเฉพาะเท่านั้น.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะจัดวาง · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะจินตนิยม

''Wanderer above the Sea of Fog'' ภาพวาดของ แคสเปอร์ เดวิด ฟรีดดริก ในปี 1818 ศิลปะจินตนิยม (Romanticism) เริ่มต้นขึ้นในช่วงหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในยุโรปตะวันตก เป็นการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดทางปรัชญา วรรณกรรม และศิลปกรรม อันนำมาซึ่งการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป กำเนิดของศิลปะจินตนิยมมีส่วนมาจากการต่อต้านแนวคิดทางสังคมและการเมืองแบบเก่าของยุคแสงสว่าง รวมถึงปฏิกิริยาต่อต้านการศึกษาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมากแนวคิดของศิลปะในยุคนี้จะสะท้อนออกมาในงานศิลปะแบบภาพวาด ดนตรี และวรรณกรรม ตัวอย่างศิลปินผู้มีชื่อเสียงในยุคจินตนิยม ได้แก่ ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน, เฟรเดริก ชอแป็ง, วิลเลียม เบลก เป็นต้น.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะจินตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะทรงกลม

ประติมากรรมภาพนูนทอนโดโดยอันเดรอา เดลลา รอบเบีย (Andrea della Robbia) ที่หน้าโรงพยาบาลที่พิสโตเอีย จิตรกรรมทรงกลม “พระแม่มารีถือผลทับทิม” โดย ซานโดร บอตติเชลลี, ราว ค.ศ. 1487 (หอศิลป์อุฟฟิซิ) ศิลปะทรงกลม (Tondo พหูพจน์ Tondi หรือ Tondos) เป็นคำที่ใช้ในสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาที่หมายถึงจิตรกรรมหรือประติมากรรมที่เป็นทรงกลม เป็นคำที่มาจากภาษาอิตาลีว่า “rotondo” ที่แปลว่า “กลม” คำนี้มักจะไม่ใช้กับภาพเขียนขนาดเล็กที่มีลักษณะกลมแต่มักจะใช้กับภาพเขียนที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกว่าสองฟุตขึ้นไป ฉะนั้นจึงไม่รวมจุลจิตรกรรมภาพเหมือน (portrait miniature) แต่สำหรับประติมากรรมแล้วคำนี้ยืดหยุ่นกว่า ศิลปินสร้างงานลักษณะนี้มาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ จิตรกรรมทรงกลมมักจะเขียนบนแจกันเครื่องปั้นดินเผาของกรีกจากสมัยที่เรียกว่าทอนดี และภายในก้นชามไวน์ก้นตื้นที่เรียกว่าคิลิกซ์ (Kylix) ที่เป็นทรงกลมอยู่แล้ว ศิลปะลักษณะมาฟื้นฟูทำกันอีกครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 โดยเฉพาะในอิตาลี แต่ตั้งแต่นั้นมาความนิยมก็ลดถอยลง แต่ในภาพเขียน “ทัศน์สุดท้ายของอังกฤษ” (The Last of England) โดยจิตรกรชาวอังกฤษฟอร์ด แมดด็อกซ บราวน์ (Ford Madox Brown) ในปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะทรงกลม · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะคริสเตียน

"พระแม่มารีและพระบุตร" โดยทิเชียน (ราว ค.ศ. 1512) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ศิลปะ, เวียนนา, ประเทศออสเตรีย ศิลปะคริสเตียน (Christian art) เป็นคำที่หมายถึงจักษุศิลป์ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อแสดงความหมาย, ขยายความ และแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวกับหลักของศาสนาคริสต์ นิกายของศาสนาคริสต์เกือบทุกนิกายใช้ศิลปะคริสเตียนแต่จะมากบ้างน้อยบ้างก็แล้วแต่กฎบัตรของแต่ละนิกาย แต่โดยทั่วไปไม่ว่าจะเป็นสื่อชนิดใดหัวเรื่องการสร้างก็จะคล้ายคลึงกันคือจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับชีวประวัติของพระเยซูจากพันธสัญญาใหม่ หรือบางครั้งก็รวมเรื่องราวจากพันธสัญญาเดิม นอกนั้นการเขียนเรื่องนักบุญหรือผู้มีความสำคัญต่อศาสนาก็เป็นที่นิยมกันโดยเฉพาะในนิกายโรมันคาทอลิก, นิกายแองกลิคัน และนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะคริสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะคนนอก

Adolf Wölfli's ''Irren-Anstalt Band-Hain'', 1910 ศิลปะคนนอก (Outsider art) คำว่า “Outsider art” เป็นคำที่คิดขึ้นโดยนักวิพากษ์ศิลป์โรเจอร์ คาร์ดินัลในปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะคนนอก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะตามหลักวิชา

“กำเนิดวีนัส” (Birth of Venus) โดย อเล็กซานเดอร์ คาร์บาเนล (Alexandre Cabanel) ค.ศ. 1863 ศิลปะสถาบัน (ภาษาอังกฤษ: Academic art) คือลักษณะของจิตรกรรม และ ประติมากรรมที่สร้างขึ้นภายใต้อิทธิพลของสถาบันหรือมหาวิทยาลัยศิลปะในยุโรป ศิลปะสถาบัน โดยเฉพาะจะเป็นศิลปินที่ได้รับอิทธิพลจากสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฝรั่งเศส (Académie des beaux-arts) ซึ่งใช้แนวศิลปะฟื้นฟูคลาสสิกและลัทธิโรแมนติคซิสม์ (Romanticism) เป็นหลัก โดยเป็นศิลปะที่สร้างจากคุณลักษณะที่ดึงมาจากทั้งสองทฤษฏี ซึ่งจะเห็นได้จากงานของ วิลเลียม อดอล์ฟ โบกูโร (William-Adolphe Bouguereau), ซูซอร์ โคท (Suzor-Coté), ทอมัส โคโทร์ (Thomas Couture) และ อันส์ มาร์คาร์ท (Hans Makart) ในกรณีนี้จึงเรียกศิลปะนี้ว่า “ศิลปะสถาบัน” หรือ “L'art pompier” และ “คตินิยมสรรผสาน” (eclecticism) ซึ่งบางครั้งก็จะพยายามดึงลักษณะเด่นๆ มาจากศิลปกรรมในประวัติศาสตร์มาวิวัฒนาการเข้าด้วย นอกจากนั้นศิลปะที่ได้รับอิทธิพลจากสถาบันหรือมหาวิทยาลัยศิลปะก็เรียกกันว่า “ศิลปะสถาบัน” เช่นกัน หรือ ศิลปะใหม่ๆ ที่สถาบันยอมรับก็อาจจะใช้คำว่า “ศิลปะสถาบัน” เป็นการเรียกก็ได้.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะตามหลักวิชา · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะประชานิยม

หนังป๊อปอาร์ต หรือ ศิลปะประชานิยม (pop art) เป็นขบวนการหนึ่งของศิลปะที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ประมาณ..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะประชานิยม · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะและสถาปัตยกรรมคริสเตียนเริ่มแรก

ลปะและสถาปัตยกรรมคริสเตียนเริ่มแรก คือศิลปะที่สร้างโดยผู้นับถือคริสต์ศาสนาหรือโดยผู้ได้รับการอุปถัมภ์จากผู้นับถือคริสต์ศาสนาที่เริ่มตั้งแต่ราวปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะและสถาปัตยกรรมคริสเตียนเริ่มแรก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะใต้ดิน

ลปะใต้ดิน (Lowbrow movement หรือ lowbrow art หรือ Lowbrow) คือความเคลื่อนไหวทางทัศนศิลป์ใต้ดิน (underground visual art) ซึ่งเฟื่องฟูขึ้นในบริเวณลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนี่ย สหรัฐอเมริกา ในปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 โลวโบรว คือ ศิลปะป๊อปอาร์ต ที่มีต้นกำเนิดมาจาก คอมมิกซ์ใต้ดิน, พังค์ร็อค, hot-rod วัฒนธรรมข้างถนน และ วัฒนธรรมอื่นๆ อีกมากมาย โลวโบรว (lowbrow art) มีชื่อเรียกชื่อว่า ป๊อป เซอเรียลลิสซึ่ม (pop surrealism)ศิลปะประเภทนี้นั้นเต็มไปด้วยอารมณ์ขัน บ้างก็ร่าเริงแจ่มใส ซุกซน และ ประชดประชัน ศิลปะโลวโบรว ส่วนมากเป็นรูปวาด และ ระบายสี แต่อาจมีของเล่น ศิลปะดิจิตอล และ หุ่นปั้นอยู่บ้าง ศิลปินคนแรกๆที่สร้างงานศิลปะแนวนี้ที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาในวงการlowbrow คือ underground cartoonist ชื่อ Robert Williams และ Gary Panter งานแสดงศิลปะล่าสุดแสดงอยู่ที่ แกลอรี่ในนิวยอร์ก และ ลอสแอนเจลิส เช่น Psychedelic Solutions Gallery ใน Greenwich Village LaLuz de Jesus และ 01 gallery ใน Hollywood ความเคลื่อนไหวทางศิลปะนี้ค่อยๆงอกเงยจากยุคเริ่มต้น จนมีศิลปินที่นำแนวความคิดนี้ไปปรับใช้หลายร้อยชีวิต เมื่อจำนวนศิลปินเพิ่มขึ้น งานแสดงผลงานทางศิลปะแนวโลวโบรว ก็มากขึ้นตามไปด้วย Julie Rico และ Bess Cutler Gallery เป็น ผู้เผยแพร่ผลงานชิ้นสำคัญ และ เผยแพร่ความเคลื่อนไหวทางศิลปะนี้ ให้เป็นที่รู้จักในวงการศิลปะ นิตยสาร Juxtapoz โดย Robert Williams ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1994 และ เป็นแกนนำในการเขียนวิจารณ์ หรือ ถกแถลงกันเกี่ยวกับ Lowbrow art ซึ่งช่วยชี้แนวทาง และ สนับสนุนการเติบโตขึ้นของความเคลื่อนไหวนี้ นักเขียนได้กล่าวไว้ว่าตอนนี้ลักษณะพิเศษของ Lowbrow art สามารถบ่งเบิกต้นกำเนิดของมันได้อย่างชัดเจน อเมริกาฝั่งตะวันตก นั้นได้รับอิทธิพลจาก underground commix และ hot rod car-culture มากกว่าที่อื่น เมื่อ lowbrow art ได้กระจายไปทั่วโลก มันได้หลอมรวมวัฒนธรรมในสถานที่นั้นๆเข้ากับศิลปะแนวนี้ทำให้เกิดเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น ศิลปะชนิดนี้ยังสามารถแบ่งแยกออกเป็นหลากหลายสาขา หรือแม้กระทั่งความเคลื่อนไหวทางศิลปะใหม่ๆอีกแนวหนึ่งก็เป็นได้ ต้นกำเนิดของคำว่า “Lowbrow” ในบทความเดือน กุมภาพันธ์ 2006 ในฟัวข้อหนึ่งของนิตยสาร Juxtapoz Robert Williams ได้ประกาศว่าเป็นผู้บัญญัติศัพท์นี้ขี้นมา เขาได้เขียนหนังสือชื่อว่า, "The Lowbrow Art of Robt.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะใต้ดิน · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะโรมันโบราณ

ลปะโรมัน (พ.ศ. 340 - พ.ศ. 870) แบบอย่างศิลปะโรมันปรากฏลักษณะชัดเจนในช่วงพุทธศตวรรษที่ 4 เรื่อยมาจนกระทั่งประมาณ พ.ศ. 1040 โดยในช่วงเวลาหลังได้เปลี่ยนสาระเรื่องราวใหม่เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาคริสต์ สืบต่อมาเป็นเวลาอีกนานมาก จนกระทั่งเมื่อกรุงคอนสะแตนติโนเปิลได้กลายเป็นเมืองหลวงใหม่ของจักรวรรดิโรมัน ในปี พ.ศ. 870 ทำให้สมัยแห่งโรมันต้องสิ้นสุดลง แหล่งอารยธรรมสำคัญของโรมัน คือ อารยธรรมกรีกและอีทรัสกัน.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะโรมันโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะโรมาเนสก์

วัดเซ็นต์ออสเตรมอยน์, อิซัว, ฝรั่งเศส ศิลปะโรมาเนสก์ (Romanesque art) หรือเรียกกันว่า ศิลปะนอร์มัน หมายถึงศิลปะที่เกิดขึ้นในยุโรป ราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงปลายคริสต์ศตวรรษ 12 ศิลปะแบบโรมาเนสก์พื้นฐานของศิลปะกอธิคซึ่งเริ่มมีบทบาทเมื่อประมาณคริสต์ศตวรรษ 13 การศึกษาเรื่องศิลปะยุคกลาง เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษ 19 ทำให้มีการจัดแบ่งศิลปะเป็นสมัยๆ คำว่า โรมาเนสก์ เป็นคำที่ใช้บรรยายศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะ สถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษ 11 ถึง 12 คำนี้ทั้งมีประโยชน์และทำให้มีความเข้าใจผิด คำนี้มาจากการที่ ช่างปั้นจากประเทศฝรั่งเศสทางไต้ไปจนถึงประเทศสเปนมีความรู้เรื่องอนุสาวรีย์แบบโรมัน แต่ศิลปะแบบโรมาเนสก์ไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับความคิดของศิลปะแบบโรมัน นอกจากเป็นการฟื้นฟูวิธีการก่อสร้างแบบโรมัน เช่นเสาที่ใช้ในอาราม Saint-Guilhem-le-Désert หัวเสาที่วัดนี้แกะเป็นรูปใบอาแคนธัส (acanthus) ตกแต่งด้วยรอบปรุซึ่งจะพบตามอนุสาวรีย์แบบโรมัน อีกตัวอย่างหนึ่งคือเพดานวัดที่ Fuentidueña ประเทศสเปนเป็นแบบโค้งเหมือนถังไม้ (barrel vault) ซึ่งใช้กันทั่วไปในสิ่งก่อสร้างของโรมัน แม้จะเน้นความเกี่ยวข้องกับวิธีการก่อสร้างแบบโรมัน นักประวัติศาสตร์ศิลปะมืได้กล่าวถึงอิทธิพลอื่นๆที่มีต่อศิลปะแบบโรมาเนสก์ เช่นศิลปะทางตอนเหนือของทวีปยุโรป และ ศิลปะไบแซนไทน์ หรือการวิวัฒนาการของ ศิลปะโรมาเนสก์เอง.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะโรมาเนสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะไบแซนไทน์

มเสก ศิลปะไบแซนไทน์ ที่สุเหร่าโซเฟีย ศิลปะคริสเตียนยุคแรก (พ.ศ. 640 - 1040) และ ศิลปะไบแซนไทน์ (พ.ศ. 1040 - 1996) ศิลปะคริสเตียนยุคแรก รับอิทธิพลมาจากศิลปะกรีกโบราณ ศิลปะไบแซนไทน์ หมายถึงศิลปะของรัฐที่นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ซึ่งอยู่ในระยะเวลาเดียวกับอาณาจักรไบแซนไทน์แต่มิได้เป็นอยู่ใต้การปกครองของอาณาจักรไบแซนไทน์ เช่น ประเทศบัลแกเรีย เซอร์เบีย หรือรุส รวมทั้งศิลปะของรัฐอาณาจักรเวนิส และราชอาณาจักรซิซิลี ศิลปะของผู้นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ที่อาศัยอยู่ในจักรวรรดิออตโตมันมักจะเรียกว่า ศิลปะหลังไบแซนไทน์ ศิลปะไบแซนไทน์บางลักษณะที่เริ่มจากอาณาจักรไบแซนไทน์โดยเฉพาะการเขียนภาพแบบที่เรียกว่า รูปสัญลักษณ์ (icon) และสถาปัตยกรรมการสร้างศาสนสถานยังคงทำกันอยู่จนถึงปัจจุบันนี้ในประเทศกรีซ ประเทศรัสเซีย และบางประเทศที่อยู่ในเครืออีสเติร์นออร์โธด็อกซ.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะเชิงแนวคิด

ลปะเชิงแนวคิด (Conceptual art) คือศิลปะที่กรอบความคิด (concept) หรือ ความคิดที่เกี่ยวกับงานมีความสำคัญกว่าความงามและวัสดุที่ใช้ ฉะนั้นงานหลายชิ้นที่สร้างขึ้นที่บางครั้งก็เรียกว่า “ศิลปะจัดวาง” ของศิลปิน ซอล เลวิทท์จึงเป็นงานที่สามารถประกอบขึ้นได้โดยผู้ใดก็ได้โดยการทำตามคำสั่งที่ซอลระบุไว้ให้ วิธีการสร้างงานศิลปะนี้เป็นพื้นฐานของงานของคำนิยามของ “ศิลปะเชิงแนวคิด” ของซอลที่ว่า.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะเชิงแนวคิด · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะเคลต์

อร์แลนด์ ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10 ศิลปะเคลต์ (Celtic art) เกี่ยวข้องกับกลุ่มชนที่เรียกว่าเคลต์ ผู้พูดภาษากลุ่มเคลต์ในทวีปยุโรป เริ่มตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์จนถึงยุคกลางและต่อมา รวมทั้งงานของชนโบราณที่เราไม่ทราบภาษาพูดแต่มีวัฒนธรรมและลักษณะคล้ายคลึงที่ทำให้สรุปได้ว่าอาจจะเกี่ยวข้องกับชาวเคลต์ และยังรวมถึงยุคฟื้นฟูศิลปะเคลต์จนถึงปัจจุบันซึ่งชาวเคลต์สมัยใหม่พยายามอนุรักษ์เพื่อความรักษาความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ศิลปะเคลต์เป็นศิลปะตกแต่ง หลีกเลี่ยงการใช้เส้นตรง และไม่ค่อยใช้ความสมมาตร และมิได้พยายามเลียนแบบธรรมชาติหรือจินตนิยมของธรรมชาติซึ่งเป็นหัวใจของศิลปะคลาสสิก เท่าที่เข้าใจกันจะเป็นศิลปะที่ซับซ้อนไปด้วยสัญลักษณ์ มีลักษณะหลายแบบและมักจะผสมลักษณะของวัฒนธรรมท้องถิ่นเข้าไปด้วย ตัวอย่างที่เห็นคือการใช้ลายสอดประสานซ้อนบนและล่าง (over-and-under interlacing) ซึ่งนำมาใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 6 หลังจากที่ลักษณะนี้เป็นที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้วโดยชาวเจอร์มานิค ศิลปะเคลต์แบ่งเป็นสามสมัย สมัยแรกเป็นศิลปะแผ่นดินใหญ่ยุโรปในสมัยยุคเหล็กซึ่งเกี่ยวกับศิลปะของวัฒนธรรมลาแตน ซึ่งมีอิทธิพลมาจากศิลปะท้องถิ่น ศิลปะคลาสสิก และอาจจะมาจากศิลปะตะวันออกที่มาทางเมดิเตอร์เรเนียน สมัยที่สองเป็นสมัยยุคเหล็กในอังกฤษและไอร์แลนด์ ซึ่งมีอิทธิพลมาจากศิลปะแผ่นดินใหญ่ยุโรปผสมกับศิลปะท้องถิ่นต่าง ๆ สมัยที่สามเป็นสมัยเคลต์ "เรอแนซ็องส์" เมื่อต้นยุคกลางที่ไอร์แลนด์ และบางส่วนของอังกฤษหรือที่เรียกว่า "ศิลปะเกาะ" ซึ่งมาจากคำว่า "เกาะ" ในภาษาละติน สมัยที่สามเป็นรากฐานของ "ศิลปะเคลต์ฟื้นฟู" ที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะเคลต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะเค้าโครง

นอม กาโบ ศิลปะเค้าโครง (Constructivism) เป็นขบวนการทางศิลปะและสถาปัตยกรรมที่เริ่มขึ้นในรัสเซียตั้งแต..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะเค้าโครง · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะเฉพาะที่

รเบิร์ต สมิธสันที่โรเซลพอยน์ทในยูทาห์http://www.robertsmithson.com/earthworks/spiral_jetty.htm "Spiral Jetty" ศิลปะเฉพาะที่ (Site-specific art) คืองานศิลปะที่สร้างขึ้นบนตำแหน่งที่เฉพาะเจาะจง ที่ศิลปินจะคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่จะสร้างงานศิลปะประกอบกับการออกแบบและการสร้างตัวงานศิลปะเองด้วย คำว่าศิลปะเฉพาะที่เป็นคำที่ได้รับการเผยแพร่และนิยามโดยศิลปินชาวแคลิฟอร์เนียโรเบิร์ต เออร์วิน แต่อันที่จริงแล้วเป็นคำที่ใช้กันมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 โดยประติมากรหนุ่มสาวเช่นลอยด์ แฮมโรล และเอธีนา ทาชาผู้เริ่มสร้างงานจ้างสำหรับสาธารณชนสำหรับที่ตั้งขนาดใหญ่ในเมือง ศิลปะเฉพาะที่ได้รับการกล่าวถึงครั้งแรกโดยนักวิพากษ์สถาปัตยกรรมแคทเธอรีน เฮาเวทท์ และนักวิพากษ์ศิลป์ลูซี ลิพพาร์ด ศิลปะเฉพาะที่ภายนอกมักจะเป็นสวนภูมิทัศน์ที่รวมสวนประติมากรรมที่ตั้งอย่างถาวรเป็นองค์ประกอบ ซึ่งทำให้เกี่ยวข้องกับ “ศิลปะผสานสิ่งแวดล้อม” (Environmental art) นอกจากนั้นก็ยังอาจจะมีการแสดง, การเต้นรำที่สร้างขึ้นเฉพาะที่ การออกแบบการเต้นก็มักจะคำนึงถึงลักษณะรูปทรงของสิ่งแวดล้อมเข้าไปด้วยไม่ว่าจะเป็นทางด้านประวัติศาสตร์, สังคม และ/หรือ สิ่งแวดล้อม โดยพยายามทำความเข้าใจความหมายที่ซ่อนเร้นของสถานที่ที่ใช้และนำมาขยายความเพิ่มขึ้น ศิลปินบางท่านถึงกับจ้างคีตกวีท้องถิ่นให้เขียนบทเพลงสำหรับการเต้นรำเฉพาะที่ ส่วนศิลปะเฉพาะที่ภายอาจจะสร้างขึ้นร่วมกับสถาปนิกผู้สร้างอาคาร ถ้าพูดกันอย่างกว้างๆ แล้วศิลปะเฉพาะที่หมายถึงศิลปะใดก็ตามที่สร้างขึ้นสำหรับตั้งแสดง ณ ที่ใดที่หนึ่งอย่างถาวร ฉะนั้นตามความหมายนี้สถาปัตยกรรมที่มีองค์ประกอบที่น่าสนใจก็อาจจะถือว่าเป็นงานศิลปะเฉพาะก็ได้ ศิลปินผู้สร้างศิลปะเฉพาะที่ก็ได้แก่ โรเบิร์ต สมิธสัน, แอนดี โกลด์สเวิร์ทธี, คริสโต, แดน เฟลวิน, ริชาร์ด เซอร์รา, โอลกา คิสเซเลวา, แพทริเชีย โจฮันสัน, เอธีนา ทาชา, แอลิซ แอดัมส์, แมรี มิสส์, แจ็คคี เฟอร์รารา, แนนซี โฮลท์, โรวัน กเลสปี, มาเรียน ซาซีลา, Guillaume Bijl, เบ็ตตี โบมอนท์ และศิลปินรุ่นเด็กกว่าที่รวมทั้ง เอเบอร์ฮาร์ด บอสส์เล็ท, มาร์ค ดิโว, จอห์น เค. เมลวิน, เลนเนิร์ด ฟาร มุนสเตอร์, ลูนา เนรา, ซิมพาร์ค, แซราห์ เซ, เสตฟาโน คาโก และ เซ็ท วุลซิน.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและศิลปะเฉพาะที่ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

สังเคราะห์นิยม

อล เซรูสิเยร์ซึ่งเป็นงานชิ้นหลักของศิลปะสังเคราะห์นิยม ศิลปะสังเคราะห์นิยม (Synthetism) เป็นคำที่ใช้โดยศิลปินอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลังเช่นพอล โกแกง, อีมิล แบร์นาร์ด และ หลุยส์ อันเคแตงเพื่อแยกงานของตนเองจาก “ศิลปะอิมเพรสชันนิสม์” ศิลปินสังเคราะห์นิยมในระยะแรกมีความเกี่ยวข้องกับ “ลัทธิคลัวซอนนิสม์” และต่อมากับ “ลัทธิสัญลักษณ์นิยม” “Synthetism” มาจากคำกิริยาภาษาฝรั่งเศสว่า “synthétiser” ที่แปลว่าสังเคราะห์ หรือ เพื่อรวมเพื่อทำให้สร้างสิ่งที่มีรูปทรงใหม่และซับซ้อน พอล โกแกง, อีมิล แบร์นาร์ด และ หลุยส์ อันเคแตง และจิตรกรผู้อื่นเป็นผู้ริเริ่มแนวทางศิลปะนี้ระหว่างปลายคริสต์ทศวรรษ 1880 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1890 ศิลปินสังเคราะห์นิยมมีวัตถุประสงค์ในการ “สังเคราะห์” อยู่สามสิ่ง.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและสังเคราะห์นิยม · ดูเพิ่มเติม »

สุนทรียนิยม

“ห้องนกยูง” ออกแบบโดย เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์ซึ่งเป็นตัวอย่างที่มีชื่อเสียงที่สุดของขบวนการสุนทรียนิยมของการออกแบบตกแต่งภายใน ลัทธิสุนทรียนิยม (Aestheticism) คือขบวนการทางปรัชญาของยุโรปของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่เน้นคุณค่าทางความงามที่เหนือกว่าหัวใจของความมีจริยธรรมหรือสังคมที่เกี่ยวข้องกับวรรณกรรม, วิจิตรศิลป์, the ศิลปะตกแต่ง และการออกแบบภายใน โดยทั่วไปแล้วลัทธิสุนทรียนิยมเป็นความคิที่ใกล้เคียงกับแนวโน้มของปรัชญาลัทธิสัญลักษณ์นิยม หรือ ขบวนการเริงรมณ์ (Decadent movement) ของฝรั่งเศส หรือ ลัทธิเริงรมณ์ (Decadentismo) ในอิตาลี และอาจจะถือว่าเป็นสาขาเดียวกับขบวนการเดียวกันในอังกฤษ ขบวนความคิดนี้เป็นการกระบวนการคิดที่เป็นปฏิกิริยาต่อคุณค่าทางปรัชญาของสมัยวิคตอเรียที่มีรากฐานมาจากสมัยโรแมนติคสมัยหลัง ซึ่งก็เท่ากับว่าเป็นแนวคิดที่เป็นที่มาของลัทธิสมัยใหม่นิยม ลัทธิสุนทรียนิยมเริ่มขึ้นในตอนปลายของสมัยวิคตอเรียตั้งแต่ราว..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและสุนทรียนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สีฝุ่นเทมเพอรา

ระแม่มารีและพระบุตรโดยดุชโช, เทมเพอราและทองบนไม้, ค.ศ. 1284, เซียนา นิคโคโล เซมิเทโคโล ค.ศ. 1367 สีฝุ่นเทมเพอรา (tempera, egg tempera) เป็นสิ่งที่ใช้ในการเขียนภาพที่แห้งง่ายและถาวรที่ประกอบด้วยรงควัตถุผสมกับของเหลวที่เป็นตัวเชื่อม (มักจะใช้สารกลูเตน (Gluten)) เช่นไข่แดงหรือสารที่เป็นตัวเชื่อม (Sizing) อื่นๆ นอกจากนั้นเทมเพอราก็ยังหมายถึงจิตรกรรมที่เขียนด้วยสารผสมดังกล่าวด้วย การเขียนด้วยวิธีนี้เป็นวิธีที่ทำให้ภาพที่เขียนมีอายุยืนนานเช่นภาพที่เขียนในคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งก็ยังมีอยู่ให้เห็น เทมเพอราที่ผสมด้วยไข่เป็นวิธีที่ใช้ในการเขียนภาพโดยทั่วไปมาจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อมาแทนที่ด้วยการเขียนด้วยสีน้ำมัน เทมเพอราอีกประเภทหนึ่งที่ผสมระหว่างรงควัตถุกับสารที่เป็นกาวที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและมักจะเรียกโดยผู้ผลิตในสหรัฐอเมริกาว่าสีโปสเตอร.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและสีฝุ่นเทมเพอรา · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก

วัดโวทิฟ (Votivkirche) เป็นวัดกอทิกใหม่ที่ เวียนนา หอวิคตอเรียที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ (Victoria Tower, Palace of Westminster) ลอนดอน รายละเอียดกอทิกโดยออกัสตัส พิวจิน (Augustus Pugin สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก (Neo-Gothic architecture หรือ Gothic Revival architecture) หรีอ สถาปัตยกรรมวิกตอเรีย (Victorian architecture) เป็นสถาปัตยกรรมที่เริ่มราวปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์

แบบอิตาลี” เข้าไปบ้าง คฤหาสน์วอลลาทันฮอลล์ที่สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1588 สถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ หรือบางครั้งก็เรียกสั้นๆ ว่า ฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ หรือ เรอแนซ็องส์ใหม่ (Renaissance Revival architecture หรือ Neo-Renaissance) คือลักษณะสถาปัตยกรรมที่รวมลักษณะต่างๆ ของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่ไม่เชิงกรีก (ดูบทความ สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีก) หรือ กอธิค (ดูบทความ สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิค) แต่เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับแรงบันดาลใจจากสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิกอิตาลีต่างๆ ตามความหมายอย่างกว้างๆ ของสถาปนิกและนักวิพากษ์ “สถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์” ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 มิได้ใช้แต่เพียงสถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์ที่เริ่มขึ้นในฟลอเรนซ์และตอนกลางของอิตาลีของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่เป็นเครื่องมือในการแสดงออกของลัทธิมนุษยนิยม แต่ยังรวมไปถึงลักษณะสถาปัตยกรรมที่มารู้จักกันว่าแมนเนอริสม์ และ บาโรก นอกจากนั้นลักษณะของตนเองก็ยังปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายในคริสต์ศตวรรษที่ 19: “เรอแนซ็องส์ใหม่” ตามความหมายของผู้ร่วมสมัยจึงหมายถึงสิ่งก่อสร้างที่เป็น “แบบอิตาลี” (Italianate) หรือสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะบาโรกฝรั่งเศสเข้าไปผสม (สถาปัตยกรรมจักรวรรดิฝรั่งเศสที่สอง) ลักษณะอันเป็นที่ต่างกันของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ในบริเวณต่างๆ ของยุโรป โดยเฉพาะในฝรั่งเศสและอิตาลีเป็นการเพิ่มอุปสรรคในการบ่งลักษณะของสถาปัตยกรรมที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ยิ่งขึ้นไปอีก ที่จะเห็นได้จากคฤหาสน์วอลลาทันฮอลล์ในอังกฤษ วังพิตติในอิตาลี, พระราชวังชองบอร์ดในฝรั่งเศส และ วังฟาเซต์ในรัสเซีย — ซี่งต่างก็จัดอยู่ในกลุ่ม “สถาปัตยกรรมเรอแนซ็องส์” — ที่ต่างก็มีลักษณะภายนอกที่แตกต่างกันออกไปแม้ว่าจะจัดว่าเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันก็ตาม.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

อลังการศิลป์

ตึกเทศบาลเมืองบัฟฟาโลซิตีในนิวยอร์ก อลังการศิลป์ หรือ ศิลปะตกแต่ง หรือ อาร์ตเดโค (Art Deco) เป็นขบวนการการออกแบบนานาชาติระหว่าง ค.ศ. 1925 ถึง ค.ศ. 1939 ที่มีผลต่อศิลปะการตกแต่งเช่น สถาปัตยกรรม การออกแบบภายใน และการออกแบบอุตสาหกรรม รวมทั้งทัศนศิลป์เช่นแฟชั่น, จิตรกรรม, เลขนศิลป์ (graphic arts) และภาพยนตร์ ขบวนการนี้เป็นการผสมผสานระหว่างลักษณะศิลปะกับขบวนการหลายแบบในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งได้แก่ลัทธิคลาสสิกใหม่, ลัทธิเค้าโครง (Constructivism), ลัทธิบาศกนิยม, ลัทธิสมัยใหม่, นวศิลป์ และลัทธิอนาคตนิยม อลังการศิลป์นิยมกันอย่างสูงสุดในยุโรปและสหรัฐอเมริกาในสมัยรู้จักกันว่า "Roaring Twenties" และนิยมกันอย่างกว้างขวางในสหรัฐอเมริกาตลอดคริสต์ทศวรรษ 1930 แม้ว่าขบวนการออกแบบหลายขบวนการเริ่มจากความคิดทางการเมืองหรือทางปรัชญา แต่อลังการศิลป์มีรากมาจากการตกแต่งเท่านั้น ในขณะนั้นทัศนคติต่ออลังการศิลป์ถือกันว่าเป็นศิลปะของความหรู ความมีประโยชน์ทางการใช้สอย และความเป็นสมัยใหม่ ความนิยมในอลังการศิลป์เริ่มลดถอยลงในปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1940 และในที่สุดก็หมดความนิยมไปจนมาในคริสต์ทศวรรษ 1980 ก็เริ่มมีความนิยมกันขึ้นอีกครั้งหนึ่ง อลังการศิลป์มีอิทธิพลลึกซึ้งต่อขบวนการศิลปะหลายขบวนการต่อมาเช่นกลุ่มเมมฟิส (Memphis Group) และศิลปะประชานิยม (pop art) ตัวอย่างของงานยังเห็นได้ทั่วไปในเกือบทุกประเทศตั้งแต่สหรัฐอเมริกา, สหราชอาณาจักร, สเปน, คิวบา, ฟิลิปปินส์, โรมาเนีย และบราซิล ตัวอย่างที่เด่นยังเห็นได้จากสถาปัตยกรรมตามเมืองใหญ่ ๆ เช่นตามนครนิวยอร์ก อาทิ ตึกไครสเลอร์ที่ออกแบบโดยวิลเลียม แวน แอเลน (William Van Alen) และตึกเอ็มไพร์สเตต.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและอลังการศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

จริตนิยม

ในภาพเขียน “แม่พระพระศอยาว” (Madonna with the Long Neck)-(ค.ศ. 1534-1540) โดยปาร์มีจานีโน แมนเนอริสม์แสดงโดยการทำให้สัดส่วนยาวขึ้นซึ่งทำให้มีผลต่อการวางรูปและบิดเบือนทัศนมิติไม่กระจ่างแจ้ง จริตนิยม (Mannerism) คือยุคของศิลปะของจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่ง ที่เริ่มตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยทึ่รุ่งเรืองที่สุดราวปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจริตนิยม · ดูเพิ่มเติม »

จลนศิลป์

A whirligig by Lyman Whitaker จลนศิลป์ เป็นศิลปะที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนเคลื่อนที่หรือขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเพื่อให้ชิ้นงานนั้น 'ออกฤทธิ์' สร้างผลกระทบ ชิ้นส่วนเคลื่อนไหวมักได้รับพลังจากลม มอเตอร์ หรือจากผู้สังเกต.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจลนศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรม

มนาลิซา เป็นหนึ่งในภาพจิตรกรรมที่เป็นที่จดจำได้มากที่สุดในโลกตะวันตก โดย นายชัยยะนุช จิตรกรรม (painting) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น เพื่อให้เกิดภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ได้ให้ความหมายของจิตรกรรมไว้ว่า จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของสีลงบนพื้นระนาบรองรับ เป็นการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท์ อธิบายว่า เป็นการสร้างงานทัศนศิลป์บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ จิตรกรรมลงบนพื้นระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักอยู่ที่ถ้ำ Chauvet ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประวัติศาสตร์บางคนอ้างว่ามีอายุราว 32,000 ปีเป็นภาพที่สลักและระบายสีด้วยโคลนแดงและสีย้อมดำ แสดงรูปม้า แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษย์ ซึ่งมักจะกำลังล่าสัตว.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ. 1968 (470 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จิตรกรรมฝาผนังจากอจันตา (Ajanta) คริสต์ศตวรรษที่ 6 จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100 จิตรกรรมฝาผนัง (ภาษาอังกฤษ: Mural painting) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน เทคนิคที่นิยมกัน คือ การวาดภาพบนผนังปูนปลาสเตอร์เปียก (fresco) โดยที่คำว่า “fresco” มาจากภาษาอิตาลี “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจิตรกรรมฝาผนัง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมภูมิทัศน์

“เดินเล่นในฤดูใบไม้ผลิ” (Strolling About in Spring) ราว ค.ศ. 600 คนเกี่ยวข้าว” (The Harvesters) โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล ค.ศ. 1565 “ร้อนผิดฤดูที่เวอร์มอนท์” (Indian Summer) โดยวิลลาร์ด ลีรอย เมทคาลฟ ซึ่งเป็นภาพเขียนนอกสถานที่ จิตรกรรมภูมิทัศน์ (ภาษาอังกฤษ: Landscape art) เป็นจิตรกรรม ที่แสดงทิวทัศน์เช่นภูเขา, หุบเขา, ต้นไม้, แม่น้ำ, และป่า และมักจะรวมท้องฟ้า นอกจากนั้นสภาวะอากาศก็อาจจะมีส่วนสำคัญในการวางองค์ประกอบของภาพด้วย ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 ชาวโรมันตกแต่งห้องด้วยจิตรกรรมฝาผนังที่เป็นภาพภูมิทัศน์ซึ่งพบที่ปอมเปอีและเฮอร์คิวเลเนียม คำว่า “landscape” มาจากภาษาดัทช์ landscape “landschap” ซึ่งหมายถึงบริเวณที่เก็บเกี่ยวแล้ว และนำเข้ามาใช้ในภาษาอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อต้น คริสต์ศตวรรษที่ 15 การเขียนภาพภูมิทัศน์เป็นศิลปะการเขียนแบบหนึ่งในยุโรป ซึ่งใช้เป็นฉากหลังของกิจการต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็นศิลปะคริสต์ศาสนา เช่น ภาพในหัวเรื่อง “พระเยซูหนีไปอียิปต์”, หรือฉากการเดินทางของแมไจเพื่อนำของขวัญมาให้พระเยซู หรือ ภาพเขียนเกี่ยวกับนักบุญเจอโรมเมื่อไปจำศีลอยู่ในทะเลทราย การเขียนภาพภูมิทัศน์ของจีนจะเป็นภูมิทัศน์ล้วนๆ ถ้ามีคนอยู่ในรูปก็จะเป็นส่วนประกอบที่ไม่สำคัญหรือเพียงเป็นสิ่งเทียบถึงขนาดของธรรมชาติ และเป็นการเชิญชวนให้ผู้ชมภาพมีความรู้สึกว่ามีส่วนร่วมในภาพเขียน การเขียนภาพลักษณะนี้มีลักษณะสมบูรณ์แบบมาตั้งแต่การเขียนภาพด้วยหมึก ในยุโรปจอห์น รัสคิน และ เซอร์เค็นเน็ธ คลาคกล่าวว่าการเขียนภาพภูมิทัศน์เป็นศิลปะที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้คนเกิดความซาบซึ้งในความสวยงามของธรรมชาติ คลาคกล่าวว่าในการเขียนภาพภูมิทัศน์ตั้งอยู่บนพื้นฐานสี่อย่าง: การยอมรับในสัญลักษณ์ที่เห็น, ความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับธรรมชาติ, การสร้างจินตนิยมที่มึพี้นฐานมาจากความกลัวธรรมชาติ และ ความเชื่อที่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างจะลงเอยด้วยดีที่เป็นสิ่งที่สามารถทำให้เกิดขึ้นได้ ในสหรัฐอเมริกาช่างเขียนภาพสกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสันที่รุ่งเรื่องราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีชื่อเสียงในการวิวัฒนาการเขียนภาพภูมิทัศน์ นักเขียนภาพกลุ่มนี้สร้างภาพเขียนขนาดยักษ์เพื่อจะสามารถพยายามแสดงความยิ่งใหญ่ของภูมิทัศน์ตามที่เห็น ปรัชญาของงานของทอมัส โคลซึ่งถือกันว่าเป็นผู้ก่อตั้งตระกูลการเขียนนี้ก็เช่นเดียวกับปรัชญาการเขียนภาพภูมิทัศน์ในยุโรป — เป็นความศรัทธาของมนุษย์ที่ทำให้มีความรู้สึกดีขึ้นจากการซาบซึ้งในคุณค่าของความสวยงามและความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ งานของศิลปินตระกูลแม่น้ำฮัดสันรุ่นหลังเช่นงานของ แอลเบิร์ต เบียร์สตัดท์จะสร้างงานที่สร้างความน่ากลัวขึ้นโดยการเน้นอำนาจของธรรมชาติ นักสำรวจ, นักธรรมชาติวิทยา, ชาวทะเล, พ่อค้า, หรือผู้ตั้งถิ่นฐานที่มาถึงแผ่นดินแคนาดาเมื่อสมัยแรกๆ ในการสำรวจต้องเผชิญกับธรรมชาติที่ค่อนข้างจะอันตรายจากทะเล นักสำรวจเหล่านี้พยายามปรับปรุงสถานการณ์โดยการทำแผนที่, บันทึก, และตั้งหลักแหล่ง ความเข้าใจธรรมชาติจากการสังเกตของแต่ละคนก็ต่างกันไป บันทึกจากความรู้สึกเหล่านี้มีตั้งแต่ถูกต้องตามความเป็นจริงไปจนการจินตนาการที่เกินความจริงเอามากๆ และการสังเกตเหล่านี้ก็ถูกบันทึกในรูปของภาพภูมิทัศน์ ภาพเขียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีของการเขียนภาพภูมิทัศน์คานาดาคือภาพจากจิตรกรใน “กลุ่มเจ็ดคน” (Group of Seven) ที่มีชื่อเสียงในคริสต์ทศศตวรรษ.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจิตรกรรมภูมิทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสีน้ำ

ตรกรวาดภาพสีน้ำโดยใช้พู่กัน จิตรกรรมสีน้ำ (ภาษาอังกฤษ: Watercolor painting หรือ Watercolour painting; ภาษาฝรั่งเศส: Aquarelle) เป็นวิธีการเขียนภาพวิธีหนึ่งที่ใช้สีน้ำเป็นอุปกรณ์การเขียนหรือมีผลเหมือนภาพที่เขียนด้วยสีน้ำที่เขียนด้วยสีที่ทำด้วย สารสี (pigments) ที่ละลายในของเหลวในภาชนะ สิ่งที่ใช้เขียนส่วนใหญ่จะเป็นกระดาษ แต่ก็อาจจะเป็นวัสดุอื่นเช่นกระดาษพาไพรัส, กระดาษที่ทำจากเปลือกไม้, พลาสติก, กระดาษหนังสัตว์ (Vellum) หรือ หนังสัตว์, ผ้า, ไม้ และผ้าใบ ในเอเชียตะวันออกจิตรกรรมสีน้ำเขียนด้วยหมึกที่เรียกว่าจิตรกรรมแปรง (Brush painting) หรือ จิตรกรรมม้วน (scroll painting) จิตรกรรมสีน้ำเป็นวิธีการเขียนจิตรกรรมที่นิยมกันมากที่สุดในจิตรกรรมจีน, จิตรกรรมเกาหลี หรือจิตรกรรมญี่ปุ่น ที่มักจะเป็นสีเดียวที่เป็นสีดำหรือน้ำตาล.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจิตรกรรมสีน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสีน้ำมัน

"โมนาลิซา" โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ราว ค.ศ. 1503-1506 จิตรกรรมสีน้ำมัน หรือ ภาพเขียนสีน้ำมัน (oil painting) คือการเขียนภาพโดยใช้สีฝุ่นที่ผสมกับน้ำมันแห้ง (drying oil) — โดยเฉพาะในตอนต้นของยุโรปสมัยใหม่, น้ำมันลินสีด (linseed oil) ตามปกติแล้วก็จะต้มน้ำมันเช่นลินสีดกับยางสนหรือยางสนหอม (frankincense) ส่วนผสมนี้เรียกว่า "น้ำมันเคลือบ" (varnish) ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ภาพเขียนมีความหนาและเป็นเงา น้ำมันอื่นที่ใช้ก็มีน้ำมันเม็ดฝิ่น, น้ำมันวอลนัต, และน้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันแต่ละอย่างก็มีคุณภาพต่าง ๆ กัน เช่นอาจจะทำให้สืเหลืองน้อยลง หรือใช้เวลาแห้งไม่เท่ากัน บางครั้งก็จะเห็นความแตกต่างจากเงาของภาพเขียนแล้วแต่ชนิดของน้ำมัน จิตรกรจะใช้น้ำมันหลายชนิดในภาพเขียนเดียวกันเพื่อให้ได้ลักษณะของภาพเขียนออกมาตามที่ต้องการ การแสดงออกของสีก็จะต่างกันตามแต่วัสดุที่ใช้เขียน.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจิตรกรรมสีน้ำมัน · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมประวัติศาสตร์

“วันสุดท้ายของปอมเปอี” (ค.ศ. 1833) เป็นตัวอย่างที่ดีของภาพเขียนประวัติศาสตร์ จิตรกรรมประวัติศาสตร์ (History painting) เริ่มเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ ค.ศ. 1667 โดยอันเดร เฟลิเบียน (André Félibien) จิตกรประวัติศาสตร์, สถาปนิก, นักทฤษฎีคลาสสิกซิสม์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นลักษณะที่ระบบ “การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ” (Hierarchy of genres) ถือว่าเป็นประเภทการเขียนภาพที่มีคุณค่าสูงที่สุดในบรรดาการเขียนภาพประเภทต่าง.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจิตรกรรมประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมแผง

"ฉากแท่นบูชาเกนต์" โดยยัน ฟัน ไอก์ และพี่ชาย, ค.ศ. 1432. ฉากแท่นบูชา (altarpiece) บนแผ่นไม้ เขียนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง จิตรกรรมแผง (panel painting) คือการเขียนภาพบนแผ่นไม้ อาจจะเป็นแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นเชื่อมต่อกันเป็นเนื้อเดียว ซึ่งแตกต่างกับบานพับภาพที่จะแยกจากกัน (บานพับภาพ มักรวมเรียกเป็นส่วนหนึ่งของจิตรกรรมแผง) แผ่นไม้ใช้เป็นพื้นสำหรับวาดภาพจนกระทั่งถูกแทนที่ด้วยผ้าใบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นอกเหนือไปจากการวาดบนผนัง หรือบนหนังสัตว์ ซี่งวัสดุชนิดหลังนี้นิยมใช้ในการวาดหนังสือวิจิตร หรือเขียนภาพสำหรับใส่กรอ.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจิตรกรรมแผง · ดูเพิ่มเติม »

จุลศิลป์

ลจิตรกรรมเป็นภาพเหมือนของศิลปินเป็นภาพของนักบุญลูคกำลังเขียนภาพพระแม่มารี, ค.ศ. 1533 จุลศิลป์ (Miniature art) คือประเภทของศิลปะที่เน้นขนาดว่าเป็นขนาดเล็กที่รวมทั้งจิตรกรรม, งานพิมพ์, ประติมากรรม และ อื่นๆ สมาคมจุลศิลป์เช่นสหพันธจุลศิลป์โ ลก (World Federation of Miniaturists - WFM) ต่างก็ให้คำนิยามต่างกันไปแต่หลายองค์การกำหนดว่างานศิลปะที่ถือว่าเป็นจุลศิลป์ไม่ควรจะใหญ่กว่า 100 ตารางเซนติเมตร เสน่ห์ส่วนหนึ่งของจุลศิลป์คือขนาดที่สามารถถือไว้ในอุ้งมือได้ จุลศิลป์เป็นงานศิลปะที่ทำกันมากว่า 1000 ปีและเป็นงานสำหรับการสะสม (Collector items) ทั้งทำเนียบขาว และ พิพิธภัณฑ์สมิธโซเนียนศิลปะอเมริกัน ต่างก็มีงานสะสมจุลศิลป์ และพิพิธภัณฑ์เฉพาะทางก็มีเช่นพิพิธภัณฑ์จุลศิลป์แห่งสหรัฐอเมริกาในเทกซั.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจุลศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

จุลจิตรกรรม

ลจิตรกรรม อาจจะหมายถึง.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจุลจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

จุลจิตรกรรมภาพเหมือน

ันส์ โฮลไบน์ ราว ค.ศ. 1540 จุลจิตรกรรมภาพเหมือน (Portrait miniature) คือภาพเหมือนขนาดจิ๋วที่มักจะเขียนด้วยสีน้ำทึบหรือสีน้ำหรือเป็นกระเบื้องเคลือบ จุลจิตรกรรมภาพเหมือนที่เริ่มมารุ่งเรืองในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในยุโรปและต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 ต่อมา เป็นศิลปะอันมีค่าสำหรับการแนะนำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลกันได้ทำความรู้จักหรือเห็นหน้าเห็นตากัน ขุนนางที่เสนอการสมรสของบุตรีอาจจะส่งภาพเหมือนของบุตรีไปกับผู้เดินสาส์นไปให้ผู้หมายปองต่างๆ หรือ ทหารหรือกะลาสีก็อาจจะพกภาพเหมือนของบุคคลผู้เป็นที่รักติดตัวไปในระหว่างการเดินทาง หรือภรรยาอาจจะมีภาพเหมือนของสามีขณะที่สามีเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกล จุลจิตรกรรมภาพเหมือนในสมัยแรกเป็นภาพที่เขียนด้วยสีน้ำบนหนังลูกสัตว์ (vellum) ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 การเขียนด้วยกระเบื้องเคลือบที่เหมือนแก้วบนทองแดงก็กลายมาเป็นที่นิยมกันมากขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 จุลจิตรกรรมภาพเหมือนจะเขียนด้วยสีน้ำบนงาช้าง ความที่มีขนาดเล็กราว 40 × 30 มิลลิเมตรทำให้จุลจิตรกรรมภาพเหมือนใช้เป็นของที่ระลึกส่วนตัว หรือ เป็นเครื่องประดับ หรือใช้ในการประดับฝาปิดตลับตกแต่ง การวิวัฒนาการตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ของดาแกโรไทป์และภาพถ่ายทำให้ความนิยมในการมีจุลจิตรกรรมภาพเหมือนลดน้อยลง.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจุลจิตรกรรมภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

จุลจิตรกรรมในเอกสารตัวเขียนสีวิจิตร

อเนอิด''” (Aeneid) โดยเวอร์จิลของคริสต์ศตวรรษที่ 5 จุลจิตรกรรมสำหรับหนังสือวิจิตร (Miniature (illuminated manuscript)) คำว่า “Miniature” มาจากภาษาละตินว่า “Minium” ที่หมายถึงสารสี “เลดเทโทรไซด์” หรือ “ตะกั่วแดง” (Lead tetroxide) คือหนังสือวิจิตรโบราณหรือจากยุคกลาง หรือ ลายตกแต่งอย่างง่ายๆ ของกฎบัตรที่ตกแต่งด้วยสารสีตะกั่วแดงดังกล่าว การที่ภาพโดยทั่วไปจากยุคกลางมักจะมีขนาดเล็กทำให้สับสนกับจิตรกรรมขนาดเล็กโดยเฉพาะภาพเหมือนขนาดเล็ก (portrait miniature) ที่พัฒนามาจากลักษณะการวาดที่มีประวัติคล้ายคลึงกัน นอกไปจากธรรมเนียมการวาดจุลจิตรกรรมทางตะวันตกและไบแซนไทน์แล้ว ทางตะวันออกก็มีการเขียนจุลจิตรกรรมที่มักจะเป็นภาพที่มีเนื้อหามากกว่าทางตะวันตก และจากที่เป็นงานที่เขียนสำหรับหนังสือก็พัฒนาไปเป็นงานเขียนเป็นแผ่นๆ ที่ใช้เก็บในอัลบัมได้ ที่เรียกว่าจุลจิตรกรรมเช่นเดียวกับทางตะวันตก แต่มีลักษณะเดียวกับภาพเขียนสีน้ำ จุลจิตรกรรมทางตะวันออกก็รวมทั้งจุลจิตรกรรมเปอร์เซีย และ จุลจิตรกรรมโมกุล, จุลจิตรกรรมออตโตมัน และ จุลจิตรกรรมอินเดี.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจุลจิตรกรรมในเอกสารตัวเขียนสีวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จุลประติมากรรม

ลประติมากรรมพหุรงค์ของนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์จากคริสต์ศตวรรษที่ 18 จุลประติมากรรม (Figurine) “Figurine” เป็นคำที่แผลงมาจากคำว่า “Figure” ที่หมายถึงประติมากรรมขนาดเล็ก (Statuette) ในรูปของมนุษย์, เทพ หรือ สัตว์ จุลประติมากรรมจะเป็นได้ทั้งสัจศิลป์ หรือ สัญลักษณศิลป์ (icon) ขึ้นอยู่กับความชำนาญ/ความสามารถ หรือความตั้งใจของผู้สร้าง งานจุลประติมากรรมในสมัยแรกทำจากหินหรือดินเหนียว แต่เมื่อมาถึงสมัยต่อมาก็อาจจะเป็นเซอรามิค, โลหะ, แก้ว, ไม้ หรือ พลาสติกก็ได้ จุลรูปที่มีส่วนที่เคลื่อนไหวได้เช่นแขน หรือ ขามักจะเรียกว่าตุ๊กตา, หุ่นจัดท่า หรือ action figure; หรือ หุ่นยนต์ หรือ หุ่นกล (Automaton) ถ้าเคลื่อนไหวเองได้ จุลประติมากรรม หรือ จุลรูป บางครั้งก็ใช้ใน เกมกระดาน เช่น หมากรุกเป็นต้น.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและจุลประติมากรรม · ดูเพิ่มเติม »

คติโฟวิสต์

ติโฟวิสต์ (Les Fauves) เป็นลัทธิของจิตรกรรมลัทธิหนึ่ง ลัทธินี้ใช้สีสดใส ตัดกันอย่างรุ่นแรง นำลีลาของเส้นมาใช้ใหม่ รูปแบบง่าย เรียบ สีที่นิยมใช้ คือ สีเขียว สีม่วง สีแดงอิฐ สีส้ม เกิดขึ้นและนิยมในประเทศฝรั่งเศสเท่านั้น อ็องรี มาติส (Henri Matisse) เป็นผู้นำที่สำคัญของคติโฟวิสต..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและคติโฟวิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

งานกระจกสี

หน้าต่างประดับกระจกสีเป็นรูปอีแวนเจลลิสทั้งสี่ที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ หน้าต่างประดับกระจกสี (รายละเอียด) เป็นรูปพระเยซูปรากฏตัวต่อนักบุญทอมัสที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ การทำแก้วมงกุฏ งานกระจกสี (Stained glass) คำว่า งานกระจกสี หมายถึงงานที่ใช้กระจกสีตกแต่งหรืองานการทำกระจกสี ซึ่งไม่แต่เฉพาะแต่หน้าต่างเท่านั้น ยังรวมถึงศิลปะอื่นๆ ที่ใช้กระจกสีตกแต่งด้วยเช่น บานกระจกที่ทำเพื่อการตกแต่งโดยเฉพาะ หรือโคมตะเกียงเป็นต้น ตลอดระยะพันปีการตกแต่งด้วยกระจกสีจะหมายถึงหน้าต่างประดับกระจกสีของวัด หรือ มหาวิหารทางคริสต์ศาสนา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยเดิมจะแต่งบนแผงแบนสำหรับใช้ทำหน้าต่าง แต่วิธีการตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยปัจจุบันจะรวมไปถึงโครงสร้างกระจกสีแบบสามมิติและงานแกะสลักกระจกสีด้วย และจะรวมไปถึงบานกระจกสีสำหรับที่อยู่อาศัยที่เรียกกันว่า “leadlight” ด้วย หรืองานศิลปะที่ทำจากกระจกสีและเชื่อมต่อกันด้วยตะกั่วอย่างเช่น โคมกระจกสีที่มีชื่อเสียงที่ทำโดย หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (Louis Comfort Tiffany) เมื่อพูดถึงวัสดุคำว่า “กระจกสี” โดยทั่วไปจะหมายถึงแก้วที่ทำให้เป็นสีโดยการเติม Metallic salts ระหว่างการผลิต ช่างจะใช้กระจกสีในการสร้าง “หน้าต่างประดับกระจกสี” โดยการเอากระจกสีชิ้นเล็กๆ มาจัดให้เป็นลวดลายหรือภาพภายในกรอบโดยเชื่อมชิ้นกระจกด้วยกันด้วยเส้นตะกั่ว เมื่อเสร็จแล้วก็อาจจะทาสีและย้อมสีเหลืองตกแต่งอีกเล็กน้อยเพื่อให้ลวดลายเด่นขึ้น นอกจากนั้นคำว่า “กระจกย้อมสี” (Stained glass) จะหมายถึงหน้าต่างกระจกที่วาดทาสีเสร็จแล้วเผาในเตาหลอมก่อนที่จะทิ้งไว้ให้เย็น “งานกระจกสี” เป็นงานฝีมือที่ศิลปินต้องมีพรสวรรค์ทางศิลปะเพื่อที่จะออกแบบได้ และต้องมีความรู้ทางวิศวกรรมเพี่อที่สามารถประกอบบานกระจกที่ทำใว้ให้แน่นหนาภายในกรอบสิ่งก่อสร้าง โดยเฉพาะกระจกบานใหญ่ๆ ที่จะต้องรับน้ำหนักของตัวบานกระจกเองและสามารถทนทานต่อสภาวะอากาศภายนอกได้ หน้าต่างบานใหญ่เหล่านี้ยังอยู่รอดมาให้เราชมบ้างตั้งแต่สมัยยุคกลางโดยไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ในยุโรปตะวันตกหน้าต่างประดับกระจกสีเป็นจักษุศิลป์ชนิดเดียวที่เหลือมาตั้งแต่ยุคกลาง จุดประสงค์ของหน้าต่างประดับกระจกสีมิใช่ให้ผู้ดูมองออกไปดูโลกภายนอกหรือให้แสงส่องเข้ามาในสิ่งก่อสร้างแต่จะควบคุมผู้อยู่ภายใน จากเหตุผลนี้หน้าต่างประดับกระจกสีจึงอาจจะเรียกได่ว่าเป็น “การตกแต่งผนังส่องแสง” (“illuminated wall decorations”) มากกว่าจะเป็นหน้าต่างอย่างตามความหมายทั่วไปของหน้าต่างที่ใช้มองออกสู่ภายนอก การออกแบบหน้าต่างวัดอาจจะเป็นได้ทั้งอุปมาอุปไมยหรือไม่ก็ได้ หน้าต่างอาจจะเป็นตำนานจากคัมภีร์ไบเบิล ประวัติศาสตร์ หรือ วรรณคดี หรือ ชีวิตของนักบุญ หรือผู้อุปการะวัด หรืออาจจะเป็นลวดลายสัญญลักษณ์ เช่นตราประจำตระกูล การตกแต่งภายในสิ่งก่อสร้างหนึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวในหัวข้อเดียวกันเช่นถ้าเป็นวัดก็อาจจะเป็นเรื่องราวชีวประวัติของพระเยซู หรือนักบุญ หรือผู้สร้างวัด ถ้าเป็นภายในวิทยาลัยกระจกอาจจะมีสัญลักษณ์สำหรับศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ หรือภายในบ้านอาจจะเป็นลวดลายแบบใดแบบหนึ่งที่เจ้าของเลือก.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและงานกระจกสี · ดูเพิ่มเติม »

งานโมเสก

งานโมเสก (Mosaic.) เป็นศิลปะการตกแต่งด้วยชิ้นแก้ว, หิน, หรือกระเบื้องชิ้นเล็กๆ ซึ่งใช้เป็นการตกแต่งภายในเช่นภายในมหาวิหาร การตกแต่งลวดลายหรือภาพทำจากชิ้นกระเบื้องหรือเศษจากเครื่องปั้นดินเผาที่เรียกว่า “tesserae” หรือ กระจกสี หรือแก้วใสเคลือบด้วยโลหะข้างหลัง งานโมเสก.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและงานโมเสก · ดูเพิ่มเติม »

ประติมากรรม

ผลงานประติมากรรมนูนต่ำ(ภาพแกะสลัก)ที่ปราสาทนครวัด โรแด็ง ประติมากรชาวฝรั่งเศส ผลงานประติมากรรมลอยตัว ของโรแด็ง ประติมากรชาวฝรั่งเศส ประติมากรรม (Sculpture) เป็นงานศิลปะแสดงออกด้วยการปั้น แกะสลัก หล่อ และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น ลงบนสื่อต่างๆ เช่น ไม้ หิน โลหะ สัมฤทธิ์ ฯลฯ เพื่อให้เกิดรูปทรง 3 มิติ มีความลึกหรือนูนหนา สามารถสื่อถึงสิ่งต่างๆ สภาพสังคม วัฒนธรรม รวมถึงจิตใจของมนุษย์โดยชิ้นงาน ผ่านการสร้างของประติมากร ประติมากรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานประติมากรรม มักเรียกว่า ประติมากร งานประติมากรรมที่เกี่ยวกับศาสนามักสะกดให้แตกต่างออกไปว่า ปฏิมากรรม ผู้ที่สร้างงานปฏิมากรรม เรียกว่า ปฏิมากร.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและประติมากรรม · ดูเพิ่มเติม »

ประติมากรรมจลดุล

“ประติมากรรมจลดุล” โดย อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ ประติมากรรมจลดุล หรือ โมบายล์ (mobile) เป็นส่วนหนึ่งของจลนศิลป์ที่สร้างขึ้นเพื่อสร้างขึ้นเพื่อแสดงความมีดุลยภาพ องค์ประกอบของประติมากรรมจะประกอบวัตถุห้อยลงมาจากเส้นโลหะหลายเส้นที่ไขว้กันไปมา วัตถุที่ห้อยจะวางให้มีความสมดุลระหว่างกันซึ่งตัวเส้นลวดที่ใช้แขวนไขว้จะมีลักษณะตามแนวนอน เส้นแต่ละเส้นก็จะเป็นเพียงเส้นเดียวเพื่อให้มีอิสระในเคลื่อนไหวไปรอบๆ ได้.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและประติมากรรมจลดุล · ดูเพิ่มเติม »

นวยุคนิยม

ก้าอี้วาสซิลี (Wassily) ผลงานของมาร์แซล บรอยเยอร์ นวยุคนิยม, นวนิยม, ทันสมัยนิยม หรือ สมัยใหม่นิยม (modernism) อธิบายชุดของขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม ซึ่งมีรากฐานมาจากการเปลี่ยนแปลงในสังคมตะวันตก ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำดังกล่าวครอบคลุมชุดต่อเนื่องของขบวนการปฏิรูปในศิลปะ, สถาปัตยกรรม, ดนตรี, วรรณกรรม, และศิลปะประยุกต์ซึ่งอุบัติขึ้นในระหว่างช่วงนี้.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและนวยุคนิยม · ดูเพิ่มเติม »

นวศิลป์

นวศิลป์ หรือ อาร์นูโว ("ศิลปะใหม่") รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า ยูเกินท์ชตีล ("แบบอย่างของวารสารศิลปะที่มีชื่อว่ายูเกินท์") เป็นลักษณะศิลปะ สถาปัตยกรรม และศิลปะประยุกต์ ซึ่งได้รับความนิยมสูงสุดในช่วง..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและนวศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

ใบปิด

ใบปิด หรือ โปสเตอร์ (poster) คือภาพขนาดใหญ่พิมพ์บนกระดาษออกแบบเพื่อใช้ติดหรือแขวนบนผนังหรือกำแพง ใบปิดอาจจะเป็นภาพพิมพ์และภาพเขียน หรืออาจจะเป็นอย่างเดียวอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ จุดประสงค์ก็เพื่อทำให้เตะตาผู้ดูและสื่อสารข้อมูล ใบปิดอาจจะใช้สอยได้หลายประการแต่ส่วนใหญ่มักจะใช้ในการเผยแพร่เพื่อการประชาสัมพันธ์โดยเฉพาะการโฆษณางานแสดงศิลปะ, งานดนตรี หรือภาพยนตร์; การโฆษณาชวนเชื่อ; หรือในการสื่อสารของผู้ประท้วงที่ต้องการสื่อสารความเชื่อต่อคนกลุ่มใหญ่ ประโยชน์ของใบปิดอาจมีหลายจุดประสงค์ โดยส่วนมากจะเป็นเครื่องมือในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ไม่ว่าจะเป็นงานต่างๆ งานดนตรี ภาพยนตร์ และในบางครั้งก็ผลิตมาเพื่อใช้ในการศึกษา หรือเป็นสื่อการสอนต่างๆ นอกจากนั้นใบปิดก็ยังใช้ในการพิมพ์ภาพจิตรกรรมของศิลปินคนสำคัญๆหรือภาพถ่าย เพื่อใช้ในการตกแต่ง ซึ่งกลายมาเป็นศิลปะการค้าที่ทำรายได้ดีให้ทั้งพิพิธภัณฑ์และบริษัทการค้าหรือร้านทางอินเทอร์เน็ต เช่นภาพเขียนของโคลด โมเนท์ หรือ เลโอนาร์โด ดา วินชี หรืองานของช่างภาพอเมริกันโรเบิร์ต เมเปิลธอร์พ (Robert Mapplethorpe) งานศิลปะการสร้างใบปิดเริ่มเมื่อราวคริสต์ทศวรรษ 1890 โดยจิตรกรชาวฝรั่งเศสและเผยแพร่ไปทั่วยุโรป ศิลปินคนสำคัญที่สุดที่ริเริ่มความนิยมในการสร้างใบปิดก็คืออองรี เดอ ทูลูส-โลเทรค และ จูลส์ เชเรท์ (Jules Chéret) เชเรท์ถือกันว่าเป็นบิดาแห่งการโฆษณาด้วยป้าย คนส่วนใหญ่ที่สะสมใบปิด และใบปิดที่มีชื่อเสียง นักสะสมใบปิดจะเก็บใบปิดเก่าโดยมักจะใส่กรอบรูปและมีแผ่นรองหลังด้วย โดยขนาดใบปิดที่เป็นที่นิยมกันโดยทั่วไปอยู่ที่ 24x36 นิ้ว แต่ใบปิดก็มีหลายขนาดหลากหลาย และใบปิดขนาดเล็กที่ไว้โฆษณาจะเรียกว่า แฮนด์บิลล์ หรือ “ใบปลิว” (flyer).

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและใบปิด · ดูเพิ่มเติม »

โรโกโก

้านเหนือของวังแคทเธอรีนที่ Tsarskoye Selo - ลานราชรถ: เป็นลวดลายปูนปั้นปิดทองมาจนสมัยพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ทรงสั่งให้ติดช่อมะกอกแทน ท้องพระโรงของวังแคทเธอรีนที่ Tsarskoye Selo ศิลปะโรโกโก (Rococo) หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า "ศิลปะแบบหลุยส์ที่ 14" (Louis XIV Style) ศิลปะโรโกโกเริ่มพัฒนามาจากศิลปะฝรั่งเศส และการตกแต่งภายในเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 ห้องที่ออกแบบแบบโรโกโกจะเป็น เอกภาพ คือทุกสิ่งทุกอย่างในห้อง ไม่ว่าจะเป็นผนัง เครื่องเรือน หรือเครื่องประดับ จะออกแบบเพื่อให้กลมกลืนกันอันหนึ่งอันเดียวกันมิใช่จะอิสระต่อกัน คือไม่มีสิ่งใดในห้องนั้นที่นอกแบบออกมา ภายในห้องจะมีเครื่องเรือนที่หรูหราและอลังการ รูปปั้นเล็ก ๆ แบบประดิดประดอย ภาพเขียนหรือกระจกก็จะเป็นกรอบลวดลาย และพรมแขวนผนัง ที่ถ้าแยกอะไรออกมาก็จะทำให้ห้องนั้นไม่สมบูรณ์แบบ ศิลปะโรโกโกมาแทนด้วยสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก คำว่าโรโกโกมาจากคำสองคำผสมกัน คำว่า rocaille จากภาษาฝรั่งเศส ซึ่งหมายถึงศิลปะการตกแต่งที่ใช้ลวดลายคล้ายหอยหรือใบไม้ และคำว่า barocco จากภาษาอิตาลี หรือที่เรียกว่า ศิลปะบาโรก ศิลปินโรโกโกจะนิยมเล่นเส้นโค้งตัวซีและตัวเอส (S และ C curves) แบบเปลือกหอย หรือการม้วนตัวของใบไม้เป็นหลัก และจะเน้นการตกแต่งประดิดประดอย จนทำให้นักวิจารณ์ศิลปะค่อนว่าเป็นศิลปะของความฟุ้งเฟ้อและเป็นเพียงศิลปะสมัยนิยมเท่านั้น คำว่าโรโกโกเมื่อเริ่มใช้เป็นครั้งแรกที่ประเทศอังกฤษเมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและโรโกโก · ดูเพิ่มเติม »

เบาเฮาส์

การออกแบบตัวอักษาโดยเฮอร์เบิร์ต เบเยอร์ เหนือทางเข้าเบาเฮาส์ ในเดสโซ ถ่ายปี 2005 เบาเฮาส์ (Bauhaus) คือโรงเรียนในประเทศเยอรมนี ที่สอนเรื่องศิลปะและวิจิตรศิลป์ และถือเป็นแนวทางที่โด่งดังในเรื่องการออกแบบที่เผยแพร่ออกไปและแนวคิดการสอน เปิดระหว่างปี 1919 ถึง 1933 โรงเรียนเบาเฮาส์ก่อตั้งโดยวอลเตอร์ โกรเปียสในเมืองไวมาร์ แม้ว่าชื่อของโรงเรียน รวมถึงความจริงที่ผู้ก่อตั้งเป็นสถาปนิก แต่โรงเรียนไม่มีแผนกการสอนด้านสถาปัตยกรรมในช่วงแรกที่ก่อตั้ง ถึงกระนั้นก็ได้ก่อตั้งในแนวความคิดที่จะสร้างสรรผลงานศิลปะที่เป็นศิลปะทุกแขนง รวมถึงสถาปัตยกรรมด้วย สไตล์ของเบาเฮาส์เป็นอิทธิพลให้กับสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ และการออกแบบสมัยใหม่ เบาเฮาส์ได้มีอิทธิพลอย่างมากในการพัฒนาในด้านศิลปะ สถาปัตยกรรม กราฟิกดีไซน์ การออกแบบภายใน การออกแบบอุตสาหกรรมและการออกแบบตัวอักษร โรงเรียนมีอยู่ใน 3 เมืองของเยอรมนี (ไวมาร์ จากปี 1919 ถึง 1925, เดสโซ จากปี 1925 ถึง 1932 และเบอร์ลิน จากปี 1932 ถึง 1933) ภายใต้ผู้บริหารสถาปนิกที่แตกต่างกัน 3 คน คือ วอลเตอร์ โกรเปียส จากปี 1919 ถึง 1927, ฮานส์ เมเยอร์ จากปี 1927 ถึง 1930 และลุดวิก มีส ฟาน เดอร์ โรห์ จากปี 1930 จนปี 1933 จนโรงเรียนปิดตัวไปเพราะระบอบนาซี การเปลี่ยนสถานที่สอนและผู้บริหาร ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงบ้างทั้งด้าน เทคนิก ครูสอน และด้านการเมือง เช่นร้านขายศิลปะการปั้นเครื่องปั้นดินเผาปิดไปเมืองย้ายโรงเรียนจากไวมาร์ไปเดสโซ หรือแม้กระทั่งเมื่อมีส ฟาน เดอร์ โรห์เปลี่ยนโรงเรียนไปเป็นโรงเรียนเอกชน เมื่อเขาบริหารในปี 1930 และยังไม่อนุญาตให้ผู้สนับสนุนในฮานส์ เมเยอร์เข้าร่วมด้ว.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและเบาเฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร

Aberdeen Bestiary) (folio 4v) การตกแต่งตัวพยัญชนะตัวแรกและขอบอย่างวิจิตรใน “หนังสือกำหนดเทศกาล” ของฝรั่งเศส ราวปี ค.ศ. 1400 เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร (Illuminated manuscript) หรือหนังสือตัวเขียนสีวิจิตร คือเอกสารตัวเขียนที่ตัวหนังสือตกแต่งเพิ่มเติมด้วยสีสรรค์เช่นตัวหนังสือตัวแรกที่ขยายใหญ่ขึ้นและเล่นลายอย่างวิจิตร หรือเขียนขอบคัน หรือทำเป็นจุลจิตรกรรม ตามความหมายตรงตัวจะหมายถึงต้นฉบับที่ตกแต่งด้วยเงินและทอง แต่การใช้กันโดยทั่วไปโดยนักวิชาการสมัยใหม่ในปัจจุบันจะหมายถึงต้นฉบับใดก็ได้ที่มีการตกแต่งหรือหนังสือประกอบภาพจากทั้งทางตะวันตกและทางศาสนาอิสลาม งานเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรฉบับแรกที่สุดที่มีการตกแต่งพอประมาณมาจากสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงที่ 7 ส่วนใหญ่ทำในไอร์แลนด์, อิตาลี และประเทศอื่นๆ บนผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ความสำคัญของเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรมิใช่เพียงคุณค่าทางวรรณกรรมแต่ยังมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ด้วย ซี่งจะเห็นได้จากต้นฉบับเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรที่ทำให้เราเรียนรู้ถึงประวัติศาสตร์ โรมันและ กรีกที่ตกแต่งโดยผู้บันทึกและตกแต่งหนังสือตามอาราม เอกสารตัวเขียนสีวิจิตรส่วนใหญ่ที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบันมาจากยุคกลางแม้ว่าการสร้างเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจะทำกันมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เนื้อหาของงานส่วนใหญ่ในสมัยแรก ๆ จะเป็นงานศาสนา แต่ต่อมาโดยเฉพาะในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก็เริ่มมีงานทางโลกเพิ่มขึ้น และเกือบทั้งหมดจะทำเป็นหนังสือแต่ก็มีบ้างที่เป็นม้วนหรือเป็นแผ่นเดียวเขียนบนหนัง (อาจจะเป็นหนังลูกวัว, แกะ, หรือแพะ) ที่มีคุณภาพดี หลังปลายยุคกลางวัสดุที่ใช้เขียนก็เปลี่ยนมาเป็นกระดาษ เมื่อวิวัฒนาการพิมพ์เพิ่งเริ่มใหม่ๆ ผู้พิมพ์ก็อาจจะทิ้งช่องว่างไว้สำหรับพยัญชนะตัวแรก, ขอบ หรือ ภายเขียนย่อส่วนแต่การพิมพ์ทำให้ ศิลปะการทำเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรเสื่อมความนิยมลง แต่ก็ทำกันต่อมาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 แต่น้อยลงมากและทำสำหรับผู้มีฐานะดีจริงๆ เท่านั้น นอกจากเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจะเป็นตัวอย่างของสิ่งที่หลงเหลือมาจากยุคกลางแล้วก็ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมที่มาจากยุคกลางด้วย และบางครั้งก็เป็นจิตรกรรมอย่างเดียวที่เหลืออยู่จากยุคนั้น.

ใหม่!!: ศิลปะตะวันตกและเอกสารตัวเขียนสีวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Western art historyศิลปะยุโรปประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตกประวัติศิลปะตะวันตกปรัชญาศิลปะตะวันตก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »