สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: กราฟิกดีไซน์มัณฑนศิลป์ลุดวิก มีส ฟาน เดอร์ โรห์วอลเตอร์ โกรเปียสสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนสถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ไวมาร์เบอร์ลิน
- การออกแบบกราฟิก
- การออกแบบเชิงอุตสาหกรรม
- ขบวนการศิลปะ
- สถาปัตยกรรมสมัยใหม่
- สถาปัตยกรรมเยอรมัน
- แหล่งมรดกโลกในประเทศเยอรมนี
- โรงเรียนสถาปัตยกรรม
กราฟิกดีไซน์
กราฟิกดีไซน์ (Graphic design) คือการออกแบบสื่อสัญลักษณ์ที่มองเห็นด้วยตา (เป็นทัศนศิลป์อย่างหนึ่ง) ทำหน้าที่เพื่อสื่อความหมาย กราฟิกดีไซน์ เป็นการทับศัพท์มาจากภาษาอังกฤษ graphic design คำว่า graphic มีคำในภาษาไทยที่ใช้แทนได้คือ เรขศิลป์, เลขนศิลป์ หรือ เรขภาพ ส่วน design แปลว่า การออกแบบ เมื่อรวมกันแล้ว กราฟิกดีไซน์จึงมีหมายความว่า การออกแบบเรขศิลป์ หรือ การออกแบบเลขนศิลป์ ผู้ออกแบบกราฟิกจะทำการสร้าง และ/หรือ รวมส่วนประกอบทางศิลป์อย่าง สัญลักษณ์ รูปภาพ ตัวอักษร มาผ่านกระบวนการทางการออกแบบอย่างหนึ่งอย่างใดหรือมากกว่าหนึ่งกระบวนการทางการออกแบบ เช่น การออกแบบตัวอักษร การวาดภาพประกอบ การจัดองค์ประกอบ เพื่อใช้ในการสื่อสารบางอย่าง มักมีการเข้าใจผิดว่ากราฟิกดีไซน์เป็นงานที่ทำด้วยคอมพิวเตอร์หรือเป็นการสร้างแอนิเมชันสามมิติเพียงอย่างเดียว ซึ่งในความเป็นจริง คอมพิวเตอร์เป็นเพียงเครื่องมือชิ้นหนึ่งที่ช่วยในการสร้างงานกราฟิกดีไซน์ได้ เช่นเดียวกับ ดินสอ ปากกา พู่กัน.
มัณฑนศิลป์
มัณฑนศิลป์ หรือ การออกแบบภายใน (interior design) เป็นการออกแบบการตกแต่งพื้นที่ภายในอาคาร โดยใช้ความสำคัญของ จิตวิทยาสิ่งแวดล้อม สถาปัตยกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ เข้าด้วยกัน สถาบันแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนก็คือ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งเดิมใช้ชื่อว่า ศิลปะตกแต่ง เปิดตั้งแต่วันที่ 18 พฤษภาคม 2499 ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนเกี่ยวกับด้านนี้ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ม.เกษมบัณฑิต ม.ธรรมศาสตร์ ม.รังสิต ม.อัสสัมชัญ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ม.เทคโนโลยีพระจอบเกล้าคุณทหารลาดกระบัง ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ม.เทคโนโลยีราชมงคล.
ลุดวิก มีส ฟาน เดอร์ โรห์
ลุดวิก มีส ฟาน เดอร์ โรห์ (Ludwig Mies van der Rohe) (27 มีนาคม ค.ศ. 1886 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1969) เป็นสถาปนิกชาวเยอรมัน เขามักรู้จักในชื่อ มีส ฟาน เดอร์ โรห์ ซึ่งเป็นนามสกุลของเขา โดยนักศึกษาอเมริกันและอื่น ๆ ลุดวิก มีส ฟาน เดอร์ โรห์ รวมถึงวอลเตอร์ โกรเปียส และเลอกอร์บูซีเย ได้รับการนับถืออย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้บุกเบิกแห่งวงการสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ มีสก็เป็นคนหนึ่งในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่สนใจที่เสาะแสวงหารูปแบบทางสถาปัตยกรรมแบบใหม่ ๆ ที่สามารถสื่อถึงยุคใหม่ เฉกเช่นที่ในยุคคลาสสิกหรือยุคกอธิค ที่มีมาก่อน เขาสร้างสรรค์รูปแบบสถาปัตยกรรมในศตวรรษที่ 20 ที่เห็นชัดถึงความโปร่งและความเรียบง่าย อาคารออกแบบของเขาจะใช้วัสดุสมัยใหม่ อย่างเช่น เหล็ก แผ่นกระจก เพื่อแสดงขอบเขตสถาปัตยกรรมภายใน เขามุ่งมั่นในการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมที่ใช้โครงสร้างน้อยชิ้นในการจัดระเบียบโครงสร้างอย่างสมดุล ต่อพื้นที่เปิดโล่งอิสระ เขาเรียกอาคารของเขาว่า สถาปัตยกรรม "ผิวหนังและกระดูก" เขายังเสาะหาเหตุผล ในการออกแบบที่เป็นแนวทางกับขั้นตอนการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ที่เป็นที่รู้จักในวิธีที่เรียกว่า "น้อยดีกว่ามาก" (less is more) และ God is in the details.
ดู เบาเฮาส์และลุดวิก มีส ฟาน เดอร์ โรห์
วอลเตอร์ โกรเปียส
วอลเตอร์ โกรเปียส (ค.ศ. 1920) วอลเตอร์ โกรเปียส (Walter Gropius) (18 พ.ค. 1883 — 5 ก.ค. 1969) เป็นสถาปนิกชาวเยอรมันและผู้ก่อตั้งเบาเฮาส์ เขาร่วมกับ ลุดวิก มีส ฟาน เดอ โรห์ (Ludwig Mies van der Rohe) และ เลอ กอร์บูซีเย (Le Corbusier) นั้นได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้บุกเบิกสถาปัตยกรรมสมัยใหม.
ดู เบาเฮาส์และวอลเตอร์ โกรเปียส
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) (Office of the Private Education Commission: OPEC) เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เดิมมีชื่อว่า "สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน" ในปี พ.ศ.
ดู เบาเฮาส์และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สถาปัตยกรรม
ปัตยกรรม (architecture) หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่มาจากการออกแบบของมนุษย์ ด้วยศาสตร์ทางด้านศิลปะ การจัดวางที่ว่าง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ใช้สอย สถาปัตยกรรมยังเป็นสื่อความคิด และสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมในยุคนั้นๆด้ว.
สถาปัตยกรรมสมัยใหม่
สะพานพระราม 8 วิหารยูนิตี (Unity Temple) โดย แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์ ปี ค.ศ. 1906 ตึกเกอเธนนุมที่ 2 ใกล้เมืองบาเซล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ออกแบบโดย รูดอล์ฟ สไตน์เนอร์ ตึกบัทโล (Casa Batllo) โดยแอนโทนี กอดี สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ คือสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะที่เรียกว่า “สมัยใหม่” ซึ่งมิได้หมายถึงวิวัฒนาการล่าสุดของสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมสมัยใหม่มิใช่สถาปัตยกรรมร่วมสมัยแต่เป็นคำที่ใช้บรรยายสิ่งก่อสร้างที่มีองค์ประกอบคล้ายคลึงกันตามคำจำกัดความ ซึ่งโดยทั่วไปคือรูปทรงจะเกลี้ยงเกลาและปราศจากการตกแต่ง ลักษณะนี้เริ่มใช้กันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่โดยทั่วไปแล้วลักษณะเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในปัจจุบันก็ยังสรุปกันไม่ได้และยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ สิ่งก่อสร้างตามแบบสมัยไหม่ที่ว่านี้มิได้เริ่มสร้างกันอย่างจริงจังจนกระทั่งครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่าสถาปัตยกรรมสมัยใหม่อยู่ในชื่อหนังสือโดย ออตโต วากเนอร.
ดู เบาเฮาส์และสถาปัตยกรรมสมัยใหม่
ไวมาร์
วมาร์ (Weimar) เป็นนครในประเทศเยอรมนี ซึ่งมีชื่อเสียงด้านมรดกทางวัฒนธรรม ตั้งอยู่ในรัฐเทือริงเงิน ประชากรปัจจุบันประมาณ 65,000 คน บันทึกเก่าแก่ที่สุดของนครย้อนหลังไปถึง..
เบอร์ลิน
อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.
ดูเพิ่มเติม
การออกแบบกราฟิก
- จิตวิทยาเกสทัลท์
- ตราสินค้า
- ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์
- ภาพพิมพ์หิน
- ระเบียบงานสารบรรณ
- อินโฟกราฟิก
- เบาเฮาส์
- ใบปิด
การออกแบบเชิงอุตสาหกรรม
- การพิมพ์ 3 มิติ
- การออกแบบเชิงอุตสาหกรรม
- อนุสัญญาปารีสว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม
- เครื่องเรือน
- เบาเฮาส์
ขบวนการศิลปะ
- กลุ่มนาบี
- กลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล
- คตินิยมเปลี่ยนแนว
- คติโฟวิสต์
- ดาดา
- นวยุคนิยม
- นวศิลป์
- บารอก
- บาศกนิยม
- ลัทธิคลาสสิกใหม่
- ลัทธิประทับใจ
- ลัทธิประทับใจยุคหลัง
- ลัทธิสัญลักษณ์นิยม
- ลัทธิเริงรมณ์
- ลัทธิเหนือจริง
- ศิลปะจินตนิยม
- ศิลปะตามหลักวิชา
- ศิลปะนามธรรม
- ศิลปะลวงตา
- ศิลปะสมถะ
- ศิลปะสัจนิยม
- ศิลปะเค้าโครง
- สัจนิยมแบบภาพถ่าย
- สุนทรียนิยม
- อลังการศิลป์
- เบาเฮาส์
- แนวคิดหลังยุคนวนิยม
- โรโกโก
สถาปัตยกรรมสมัยใหม่
สถาปัตยกรรมเยอรมัน
- เบาเฮาส์
แหล่งมรดกโลกในประเทศเยอรมนี
- บัมแบร์ค
- พระราชวังซ็องซูซี
- รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเยอรมนี
- ลือเบ็ค
- อาสนวิหารอาเคิน
- อาสนวิหารโคโลญ
- เกาะไรเชอเนา
- เควดลินบวร์ค
- เทรียร์
- เบาเฮาส์
- เรเกินส์บวร์ค
- เอาคส์บวร์ค
- แหล่งที่อยู่อาศัยแบบเรือนยกพื้นยุคก่อนประวัติศาสตร์โดยรอบเทือกเขาแอลป์
- โบสถ์วีส
- ไวมาร์
โรงเรียนสถาปัตยกรรม
- เบาเฮาส์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Bauhausสถาบันเบาเฮาส์