โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาพเหมือนตนเอง

ดัชนี ภาพเหมือนตนเอง

หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..

188 ความสัมพันธ์: บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโยบารโธโลมิวอัครทูตชาลส์ เดมัธชาวดัตช์ชาวโปแลนด์บาคคัส (คาราวัจโจ)ฟรันซิสโก โกยาฟรันซิสโก เด ซูร์บารันฟรันเชสโก โซลีเมนาฟรีดา คาห์โลฟร็องซัว บูเชฟลอเรนซ์ฟาโรห์แอเคนาเทนฟินเซนต์ ฟัน โคคฟีลิปปีโน ลิปปีพ.ศ. 2418พ.ศ. 2426พ.ศ. 2432พ.ศ. 2436พ.ศ. 2441พ.ศ. 2443พ.ศ. 2449พ.ศ. 2462พ.ศ. 2466พ.ศ. 2477พ.ศ. 2543พระราชวังวินด์เซอร์พระเยซูพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพลูทาร์กพาร์มิจานิโนพาร์เธนอนพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์พิพิธภัณฑ์ออร์แซพิพิธภัณฑ์ปราโดพิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งอัมสเตอร์ดัมกระจกกริสโตฟาโน อัลโลรีกรีซโบราณกามีย์ ปีซาโรการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเองการาวัจโจการคืนพระชนม์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)กาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซินกุสตาฟว์ กูร์แบภาพชีวิตประจำวันภาพเหมือนภาพเหมือนอาร์นอลฟีนีภาพเหมือนผู้อุทิศภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)...ภาพเหมือนตนเอง (ดือเรอร์)มอริส ก็องแต็ง เดอ ลา ตูร์มักซ์ ลีเบอร์มันน์มารี บาชเคิร์ทเซฟฟ์มารี เอลเลนรีเดอร์มารี-กีย์มีน เบอนัวมารี-เดอนีซ วีแลร์มารีย์ (มารดาพระเยซู)มาร์ก ชากาลมาซัชโชมิยะโมะโตะ มุซะชิมีเกลันเจโลยัน ฟัน ไอก์ยัน เดอ ไบรรอยัลอะคาเดมีออฟอาตส์ระบอบนาซีระบอบเก่าราฟาเอลลัทธิคลาสสิกใหม่ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสารลูคัส ครานัคสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีสมาคมช่างนักบุญลูกาสหรัฐสงครามโลกครั้งที่สองหอศิลป์บอร์เกเซหอศิลป์อุฟฟีซีหอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)หอศิลป์แห่งชาติ (วอชิงตัน ดี.ซี.)หอศีลจุ่มซันโจวันนีออร์กัญญาอักษรวิจิตรอัลเบร็ชท์ ดือเรอร์อัลเทอพีนาโคเทคอันโตน ฟัน ไดก์อันเจลิคา คอฟมันน์อันเดรอา มันเตญญาอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีอาร์นอลด์ เบิคคลินอาร์เตมีเซีย เจนตีเลสกีอาดัม คราฟท์อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์อิสราเฮล ฟาน เม็คเคอเน็มอุมแบร์โต บอชโชนีอุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)อีกอน ชีเลออียิปต์โบราณอ็องรี มาติสอ็องรี รูโซอ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็กฌัก-หลุยส์ ดาวีดฌ็อง ฟูแกฌ็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็งฌ็อง-ฟร็องซัว มีแลฌ็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์จอร์โจ วาซารีจอร์โจเนจอห์น คอนสตาเบิลจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์จอตโต ดี บอนโดเนจิตรกรชั้นครูจิตรกรรมฝาผนังจิตรกรรมสีน้ำมันจิตรกรรมประวัติศาสตร์จิตรกรรมแผงจุลจิตรกรรมภาพเหมือนจูดิธ เลย์สเตอร์จูเซปเป อาร์ชิมโบลโดทอมัส เอคินส์ทิเชียนดานเต เกเบรียล รอสเซ็ตติดิเอโก เบลัซเกซคะสึชิกะ โฮะกุไซคิกุชิ โยไซค่าต่างแสงตระกูลกอนซากาซัลบาโด ดาลีซัลวาตอร์ โรซาซันโดร บอตตีเชลลีซามูไรประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาประสาทวิทยาประเทศญี่ปุ่นประเทศอิตาลีปอล โกแก็งปอล เซซานปารีสปาโบล ปีกัสโซปาโอโล เวโรเนเซปีแยร์ บอนาร์ปีแยร์ มีญาร์ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกาปีเอโตร ดา กอร์โตนาปีเอโตร เปรูจีโนปีเตอร์ พาร์เลอร์ปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ)นักบุญดันสตันนักบุญเวโรนีกานาดาร์นิโคลัส ฮิลเลียร์ดนีกอลา ปูแซ็งแฟลนเดอส์แมรี เคแซตแม็ทธิว แพริสแม็ทธิว เบรดีแร็มบรันต์แอนดี วอร์ฮอลแท่นบูชาโบสถ์น้อยบรันกัชชีโบสถ์น้อยซิสทีนโมะโตริ โนะรินะงะโมนาลิซาโยฮันน์ โซฟฟานีโรคใคร่เด็กโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดินโลวิส โครินธ์โลเรนโซ กีแบร์ตีโอดิสเซียสโจชัว เรย์โนลส์โคเปนเฮเกนโซโฟนิสบา อังกิสโซลาเบนอซโซ กอซโซลีเกเมลเดกาเลรีอัลเทอไมสเทอร์เลโอนาร์โด ดา วินชีเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรเอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริงเอลเกรโกเออแฌน เดอลาครัวเอดัวร์ มาแนเอ็ดเวิร์ด มุงค์เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์เจนตีเล เบลลีนีเดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-โรม)เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์เนือร์นแบร์ค ขยายดัชนี (138 มากกว่า) »

บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย

“เด็กขายผลไม้” (The Little Fruit Seller) - ค.ศ. 1670 บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย (Bartolomé Esteban Murillo) รับศีลล้างบาปเมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 1618 ที่เซบิยา ประเทศสเปน และเสียชีวิตที่เซบิยาเช่นกันเมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1682 เป็นจิตรกรสมัยศิลปะบาโรกคนสำค้ญของประเทศสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน แม้ว่ามูริโยจะมีชื่อเสียงในการเขียนภาพทางศาสนาแต่ก็ได้เขียนภาพชีวิตชาวบ้านทั้งผู้หญิงและเด็กร่วมสมัยไว้มาก เป็นภาพของเด็กขายดอกไม้ เด็กเกเร ขอทาน ซึ่งทำให้เราเห็นภาพชีวิตประจำวันในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและบาร์โตโลเม เอสเตบัน มูริโย · ดูเพิ่มเติม »

บารโธโลมิวอัครทูต

รโธโลมิวอัครทูต (Bartholomew the Apostle; Βαρθολομαίος (Bartholomaios)) เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เสียชีวิตที่ประเทศอาร์มีเนีย บารโธโลมิวเป็นหนึ่งในอัครทูตของพระเยซู ชื่อ “บารโธโลมิว” มาจากภาษาแอราเมอิก “bar-Tôlmay” (תולמי‎‎‎‎‎-בר‎‎) หมายความว่า “ลูกของโทลเม” (โทเลมี) หรืออาจจะเป็น “ลูกของคนไถนา” บางครั้งก็เชื่อกันว่าเป็นนามสกุลมากกว่าจะเป็นชื่อตัวEncyclopedia Britannica, micropedia.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและบารโธโลมิวอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ เดมัธ

ลส์ เดมัธ (Charles Demuth) (8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1883 - 23 ตุลาคม ค.ศ. 1935) เป็นจิตรกรสีน้ำผู้หันไปเขียนด้วยสีน้ำมันในตอนปลายอาชีพการเขียน เดมัธเป็นศิลปินชาวอเมริกันผู้วิวัฒนาการลักษณะการเขียนที่เรียกว่า Precisionism.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและชาลส์ เดมัธ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวดัตช์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและชาวดัตช์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโปแลนด์

วโปแลนด์ หรือ ชาวโปล(Polacy เอกพจน์ Polak, Polish people หรือ Poles) ชาวโปลเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในกลุ่มชนสลาฟตะวันตกที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในปัจจุบันคือโปแลนด์ ชาวโปแลนด์บางครั้งก็จะได้รับการบรรยายว่าเป็นผู้ที่มีวัฒนธรรมโปแลนด์ร่วมกัน และสืบเชื้อสายโปแลนด์ ศาสนาส่วนใหญ่เป็นโรมันคาทอลิก ชาวโปแลนด์อาจจะมหาหมายถึงทั้งผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในโปแลนด์เองที่มีเชื้อสายโปแลนด์หรือชาติพันธุ์อื่น นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มชนชาวโปแลนด์พลัดถิ่น (Polonia) ที่ไปตั้งหลักแหล่งทั่วไปในยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันออก ทวีปอเมริกา และออสเตรลี.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและชาวโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

บาคคัส (คาราวัจโจ)

ัส (ภาษาอังกฤษ: Bacchus) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจจิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเร็นซ์ในประเทศอิตาลี ภาพ “บาคคัส” เขียนราวปี ค.ศ. 1595 เป็นภาพของเทพบาคคัสหนุ่มสวมช่อใบองุ่นบนหัวมีผ้าห่มหลวมๆ นอนเอนท่าแบบคลาสสิกมือขวาเล่นชายผ้าผูกเอว บนโต๊ะหน้าตัวแบบมีชามผลไม้และขวดไวน์ขวดใหญ่ตั้งอยู่ ในมือซ้ายของตัวแบบถือแก้วไวน์ที่เทจากขวดไวน์ยื่นออกมาจากตัวมายังผู้ดูเหมือนกับจะชวนผู้ชมภาพเข้าไปร่วมด้วย “เทพบาคคัส” ซึ่งเป็นภาพที่เขียนไม่นานหลังจากที่คาราวัจโจเข้าไปพำนักอาศัยกับคาร์ดินัลฟรานเชสโค มาเรีย เดล มอนเต ผู้เป็นผู้อุปถัมภ์สำคัญคนแรก เป็นงานที่สะท้อนให้เห็นความสนใจในลัทธิมนุษยนิยมของผู้มีการศึกษาในแวดวงของคาร์ดินัลเดล มอนเต ไม่ว่าคาราวัจโจจะตั้งใจหรือไม่ก็ตามภาพนี้แสดงความมีอารมณ์ขันที่เห็นได้จากใบหน้าอันแดงก่ำของบาคคัส และเป็นภาพของเด็กหนุ่มที่ห่มตัวด้วยผ้าผืนหลวมๆ นอนเอนสลึมสลือท่าทางมึนในพาลัซโซของคาร์ดินัลเดล มอนเตในกรุงโรม ลักษณะของบาคคัสที่แสดงในภาพนี้มิได้ทำให้ผู้ชมภาพเชื่อว่าเป็นเทพบาคคัสจริงๆ นอกจากนั้นริ้วในแก้วไวน์ทำให้ดูเหมือนว่าบาคคัสคงจะถืออยู่ได้ไม่นานก่อนที่หกลงมาจากแก้ว ผลไม้และขวดไวน์เป็นสิ่งที่นักวิชาการสนใจกันมานานกว่าตัวเทพบาคคัสเอง นักวิชาการตีความหมายว่าผลไม้ที่อยู่ในสภาพที่กินไม่ได้อาจจะหมายถึงความเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนของสิ่งต่างๆ ในโลก หลักจากภาพได้รับการทำความสะอาดก็พบว่ามีเงาของจิตรกรกำลังเขียนภาพสะท้อนอยู่บนขวดไวน์ เทพบาคคัสยื่นแก้วให้ด้วยมือซ้ายทำให้สันนิษฐานกันว่าคาราวัจโจใช้กระจกส่องช่วยในการเขียนโดยตรงบนผืนผ้าใบแทนที่จะเขียนลายเส้นหรือร่างก่อน แต่แขนหรือมือซ้ายที่เห็นอันที่จริงเป็นมือขวา ที่ตรงกับที่นักชีวประวัติจิโอวานนิ บากลิโอเนกล่าวว่าคาราวัจโจใช้กระจกช่วยในการเขียนภาพในสมัยต้นๆ จิตรกรอังกฤษเดวิด ฮ็อคนีย์ (David Hockney) ศึกษาวิธีเขียนของคาราวัจโจในวิทยานิพนธ์ที่รู้จักกันในชื่อวิทยานิพนธ์ฮ็อคนีย์-ฟาลโค (Hockney-Falco thesis) ที่ตั้งสมมุติฐานว่าจิตกรยุคเรอเนสซองซ์ และต่อมาใช้กล้องลูซิดา (camera lucida) เป็นอุปกรณ์ช่วยในการเขียน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและบาคคัส (คาราวัจโจ) · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซิสโก โกยา

ฟรันซิสโก โกยา ฟรันซิสโก โกยา (Francisco Goya) ชื่อเต็ม ฟรันซิสโก โคเซ เด โกยา อี ลูเซียนเตส (Francisco José de Goya y Lucientes) 30 มีนาคม พ.ศ. 2289 (ค.ศ. 1746) - 16 เมษายน พ.ศ. 2371 (ค.ศ. 1828) จิตรกรและศิลปินภาพพิมพ์แนวศิลปะจินตนิยม (Romanticism) ชาวสเปน ได้รับการยกย่องว่าทั้งเป็น "Old Master" คนสุดท้ายและเป็นศิลปินแนวสมัยใหม่คนแรก เขาวาดทิวทัศน์งดงามในสไตล์โรโคโคได้อย่างสมบูรณ์แบบไม่เหมือนจิตรกรชาวสเปนท่านอื่น ฟรันซิสโก โกยา เป็นแรงบันดาลใจให้กับศิลปินรุ่นหลังในแนวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น แนวสำแดงพลังอารมณ์ (Expressionist) หรือ แนวเหนือจริง (Surrealist) ต่างได้รับแรงบันดาลใจจากฟรานซิสโก เด โกยาทั้งสิ้น เขาถูกแต่งตั้งให้เป็นจิตรกรราชสำนักคนแรกของสเปน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฟรันซิสโก โกยา · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซิสโก เด ซูร์บารัน

นักบุญลูกาผู้นิพนธ์พระวรสารที่อาจจะเป็นภาพเหมือนของซูร์บารันเอง ราว ค.ศ. 1635-1640http://www.humanitiesweb.org/human.php?s.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฟรันซิสโก เด ซูร์บารัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันเชสโก โซลีเมนา

ฟรานเชสโค โซลิเมนา (Francesco Solimena) (4 ตุลาคม ค.ศ. 1657 - 3 เมษายน ค.ศ. 1747) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีของสมัยบาโรกของคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โซลิเมนาเกิดที่คานาเลดิแซริโนไม่ไกลจากอเวลลิโน ได้รับการฝึกเบื้องต้นจากบิดาอันเจโล โซลิเมนา ที่โซลิเมนาร่วมเขียนงานชื่อ “สวรรค์” ด้วยกันที่มหาวิหารโนแซรา และ “มโนทัศน์ของเซนต์ซิริลแห่งอเล็กซานเดรีย” สำหรับวัดซานโดเมนนิโคที่โซโลฟรา โซลิเมนาไปตั้งหลักแหล่งอยู่ที่เนเปิลส์ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฟรันเชสโก โซลีเมนา · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดา คาห์โล

ฟรีดา คาห์โล (Frida Kahlo) (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2450 – 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2497) จิตรกรชาวเม็กซิโกแนวผสมแบบเหมือนจริง สัญลักษณนิยม และเหนือจริง เป็นผู้สนับสนุนคอมมิวนิสต์ ภรรยาของจิตรกรชาวเม็กซิกัน ดิเอโก ริเวรา (Diego Rivera) ฟรีดา คาห์โล มีลักษณะเด่นเป็นที่สังเกตได้จากไรหนวดและขนคิ้วดกชนกัน ชอบแต่งกายด้วยชุดฟูฟ่องแบบชุดเม็กซิกัน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฟรีดา คาห์โล · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว บูเช

ฟร็องซัว บูเช (François Boucher; 29 กันยายน ค.ศ. 1703 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1770) เป็นจิตรกรสมัยโรโคโคคนสำคัญชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีชื่อเสียงในงานเขียนที่เป็นอุดมคติและอวบอิ่ม (voluptuous) ของภาพประเภทคลาสสิก อุปมานิทัศน์ และท้องทุ่ง (pastoral) นอกจากนั้นบูเชก็ยังเขียนภาพเหมือนหลายภาพของมาดาม เดอ ปงปาดูร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฟร็องซัว บูเช · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์

ฟลอเรนซ์ (Florence) หรือ ฟีเรนเซ (Firenze) เป็นเมืองหลวงของแคว้นทัสกานีและมณฑลฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ระหว่าง..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฟลอเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์แอเคนาเทน

รูปสลักฟาโรห์แอเคนาเทน แอเคนาเทน (Akhenaten, Ikhnaton, Akhenaton, Ikhnaton, Khuenaten) หรือ แอเมนโฮเทปที่ 4 (Amenhotep IV) หรือ อาเมโนฟิสที่ 4 (Amenophis IV) เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 10 แห่งราชวงศ์ที่สิบแปดแห่งอียิปต์ (Eighteenth dynasty) ฟาโรห์แอเคนาเทน มีพระมเหสีที่เป็นราชินีที่มีชื่อเสียงโด่งดัง คือ ราชินีเนเฟอร์ติติ (Nefertiti) และพระราชโอรสที่มีชื่อเสียงอีกเช่นกัน คือ ฟาโรห์ทุตอังค์อามุน (Tutankhamun) ฟาโรห์แอเคนาเทน ขึ้นครองราชย์ระหว่าง 1350 ปีก่อนคริสต์ศักราช และครองราชย์อยู่นาน 17 ปี ปัจจุบัน นักประวัติศาสตร์เชื่อว่า พระองค์เป็นฟาโรห์องค์แรกที่ปฏิวัติความเชื่อในอาณาจักรอียิปต์ พระองค์ทรงนับถือพระเจ้าเพียงองค์เดียว คือ อาเตน (Aten) (สุริยเทพ สันนิษฐานว่าเป็นไปได้ว่าอาจเป็นองค์เดียวกับ รา) ถึงขนาดสร้างเมืองใหม่ที่ชื่อ อมาน่า (Amarna) ที่มีศาสนสถานขนาดใหญ่เพื่อบูชาเทพอาเตน พร้อมกับเปลี่ยนพระนามใหม่เป็น แอเคนาเทน ด้วย เพื่อให้เชื่อมโยงกับคำว่า อาเตน (แอเคนาเทน แปลว่า "มีประโยชน์ต่ออาเตน") ซึ่งนักประวัติศาสตร์เชื่อว่า การที่นับถือเทพเจ้าเพียงองค์เดียวของพระองค์นั้น เป็นแรงบันดาลใจให้โมเสสเป็นกบฏต่อฟาโรห์แรเมซีสที่สอง (Ramesses II) ในอีกราว 50 ปี ต่อมา ที่วิหารและราชวังในเมือง อะมานา พระองค์ได้สร้างศิลปกรรมฝาผนังไว้อย่างงดงาม ที่มีบทสรรเสริญเทพอาเตน แต่เมื่อพระองค์สวรรคตลง เมืองอมาน่าแห่งนี้ก็ได้ถูกทิ้งร้างทันที ทายาทรุ่นหลังได้ทำลายวิหารและบทสรรเสริญเหล่านี้เสีย รวมทั้งได้ประนาณพระองค์และทำลายรูปสลักพระพักตร์ของพระองค์ด้วย ซึ่งเชื่อว่า ทั้งนี้เป็นเพราะต้องการทำลายหลักความเชื่อของการนับถือเทพเจ้าองค์เดียว (Monotheism) ภาพฝาผนังที่แสดงถึงฟาโรห์แอเคนาเทน พระนางเนเฟอร์ติติ และพระธิดา 3 องค์ ที่แสดงถึงความนับถือต่อเทพอาเตน (เทพเจ้าทรงฉายแสงอยู่ข้างบน).

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฟาโรห์แอเคนาเทน · ดูเพิ่มเติม »

ฟินเซนต์ ฟัน โคค

ฟินเซนต์ วิลเลิม ฟัน โคค (Vincent Willem van Gogh; 30 มีนาคม ค.ศ. 1853 — 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1890)คำอ่านในภาษาอังกฤษบริติชมีทั้ง แวน โกค หรือบ้าง แวน กอฟ พจนานุกรมสหรัฐลงว่า แวน โก คนไทยมักเรียก วินเซนต์ แวน โก๊ะ เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในลัทธิประทับใจยุคหลัง ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้มีชื่อเสียงและอิทธิพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก เขาสร้างสรรค์งานศิลป์กว่า 2,100 ชิ้นในเวลาเพียงสิบปีกว่า ในจำนวนนี้เป็นภาพสีน้ำมัน 860 ชิ้น ซึ่งส่วนใหญ่ผลิตขึ้นในสองปีสุดท้ายของชีวิตเขา ผลงานของเขามีทั้งภาพภูมิประเทศ ภาพนิ่ง ภาพคนเหมือน และภาพเหมือนตนเอง ซึ่งล้วนมีลักษณะเด่นเป็นสีสันจัดจ้านและงานพู่กันที่ฉวัดเฉวียนแฝงอารมณ์ชวนประทับใจอันช่วยสร้างรากฐานให้แก่ศิลปะสมัยใหม่ หลังทนทุกข์เพราะไข้ใจและความจนมานานหลายปี เขาปลิดชีวิตตนเองเมื่ออายุได้ 37 ปี เขาเกิดในครอบครัวชนชั้นกลางค่อนไปทางชั้นสูง เขาเป็นเด็กที่เคร่งขรึม พูดน้อย แต่คิดมาก เมื่อโตเป็นหนุ่ม เขาทำงานเป็นนายหน้าขายศิลปกรรม จึงเดินทางบ่อย แต่เมื่อต้องย้ายบ้านไปอยู่ลอนดอน เขาก็ตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า จึงหันไปหาศาสนา ปฏิบัติศาสนกิจในฐานะมิชชันนารีแห่งโปรเตสแตนต์ทางภาคใต้ของเบลเยียม ชีวิตเขาล่องลอยไปมาระหว่างสุขภาพอันทรุดโทรมกับความโดดเดี่ยวอ้างว้าง กระทั่งมาจับงานวาดเขียนเอาใน..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฟินเซนต์ ฟัน โคค · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปปีโน ลิปปี

| สี.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฟีลิปปีโน ลิปปี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2418

ทธศักราช 2418 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1875.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2418 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2426

ทธศักราช 2426 ตรงกั.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2426 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2441

ทธศักราช 2441 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1898 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2441 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2443 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2466 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังวินด์เซอร์

ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพระราชวังวินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พลูทาร์ก

ลูทาร์ก (Plutarch) เมื่อเกิดมีชื่อว่า ปลูตาร์โคส (Πλούταρχος) ต่อมาเมื่อเป็นพลเมืองโรมันได้เปลี่ยนชื่อเป็น ลูกิอุส แม็สตริอุส ปลูตาร์คุส (Lvcivs Mestrivs Plvtarchvs; ราว ค.ศ. 46 – ราว ค.ศ. 120) เป็นนักประวัติศาสตร์ นักเขียนชีวประวัติ นักเขียนบทความ และนักปรัชญาเพลโตชาวชาวโรมันเชื้อสายกรีกผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการเขียนชีวประวัติและสาขาวิชาต่าง ๆ ''Moralia'', 1531 งานเขียนที่สำคัญของพลูทาร์กก็คือ ชีวิตของชาวกรีกและโรมันชนชั้นขุนนาง (Parallel Lives) และ โมราเลีย (Moralia) พลูทาร์กเกิดในครอบครัวจากตระกูลสูงในเคโรเนียที่อยู่ทางตะวันออกของเดลฟีราว 20 ไมล.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพลูทาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พาร์มิจานิโน

รลาโม ฟรานเชสโค มาเรีย มัซโซลา หรือ ฟรานเชสโค มัซโซลา (Parmigianino หรือ Girolamo Francesco Maria Mazzola หรือ Francesco Mazzola) (11 มกราคม ค.ศ. 1503 - 24 สิงหาคม ค.ศ. 1540) เป็นจิตรกรยุคแมนเนอริสม์คนสำคัญของอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมสีน้ำมัน มัซโซลารู้จักกันสั้นๆ ว่า “พาร์มิจานิโน” งานของพาร์มิจานิโนมีลักษณะยาวที่รวมทั้งภาพ “มโนทัศน์ของนักบุญเจอโรม” ที่เขียนในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพาร์มิจานิโน · ดูเพิ่มเติม »

พาร์เธนอน

วิหารพาร์เธนอน (Παρθενών) คือวิหารโบราณบนเนินอะโครโพลิสในกรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ สร้างเพื่อเป็นศาสนสถานบูชาเทพีอาธีน่า หรือเทพีแห่งปัญญา ความรอบรู้ ในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสต์ศักราช เป็นสิ่งก่อสร้างสถาปัตยกรรมกรีกโบราณที่มีชื่อเสียงที่สุด แสดงให้เห็นถึงความเฉลียวฉลาดของสถาปนิกในสมัยนั้นและถือได้ว่าเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก มีขนาดกว้าง 101.4 ฟุต หรือ 30.9 เมตร และ ยาว 228.0 ฟุต หรือ 69.5 เมตร คำว่า พาร์เธนอน นั้นน่าจะมาจากประติมากรรมที่เคยตั้งอยู่ภายในวิหาร คือ Athena Parthenos ซึ่งมีความหมายว่า เทพีอันบริสุท.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพาร์เธนอน · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์

ัณฑ์ลูฟวร์ (Musée du Louvre) หรือในชื่อทางการว่า the Grand Louvre เป็นพิพิธภัณฑ์ทางศิลปะตั้งอยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงที่สุด เก่าแก่ที่สุด และใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งได้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้เมื่อปี พ.ศ. 2336 (ค.ศ. 1793) มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่สมัยราชวงศ์กาเปเซียง ตัวอาคารเดิมเคยเป็นพระราชวังหลวง ซึ่งปัจจุบันเป็นสถานที่ที่จัดแสดงและเก็บรักษาผลงานทางศิลปะที่ทรงคุณค่าระดับโลกเป็นจำนวนมากกว่า 35,000 ชิ้น จากตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงศตวรรษที่ 19 อย่างเช่น ภาพเขียนโมนาลิซา, The Virgin and Child with St.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ออร์แซ

ัณฑ์ออร์แซ (Musée d'Orsay) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะ พิพิธภัณฑ์การออกแบบ/สิ่งทอ และสถานที่ทางประวัติศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ในกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ออร์แซก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1986 บนฝั่งซ้ายแม่น้ำเซนในสถานที่ที่เดิม เคยเป็นสถานีรถไฟออร์แซ ที่สร้างในแบบสถาปัตยกรรมแบบโบซาร์โดยสถานีรถไฟแห่งนี้ถูกสร้างระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพิพิธภัณฑ์ออร์แซ · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ปราโด

ัณฑ์ปราโด (Museo del Prado) เป็นพิพิธภัณฑ์และหอศิลปะที่ตั้งอยู่ที่กรุงมาดริด ประเทศสเปน พิพิธภัณฑ์ปราโดสะสมงานศิลปะยุโรปจากคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่มาจากพื้นฐานของงานสะสมของพระราชวงศ์สเปน เดิมก่อตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์สำหรับจิตรกรรมและประติมากรรม แต่ก็มีงานสะสมประเภทอื่นเช่นภาพวาดเส้น 5,000 ภาพ, ภาพพิมพ์ 2,000 ภาพ, เหรียญ 1,000 เหรียญ, และงานตกแต่งอีกเกือบ 2,000 ชิ้น ประติมากรรมมีด้วยกันกว่า 700 ชิ้นรวมทั้งชิ้นส่วน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพิพิธภัณฑ์ปราโด · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งอัมสเตอร์ดัม

ัณฑ์แห่งชาติแห่งอัมสเตอร์ดัม (Rijksmuseum Amsterdam หรือ Rijksmuseum) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่ที่อัมสเตอร์ดัมในประเทศเนเธอร์แลนด์ ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1800 พิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งอัมสเตอร์ดัมเป็นพิพิธภัณฑ์สำหรับงานศิลปะ งานหัตถกรรม และประวัติศาสตร์ นอกจากนั้นก็ยังมีงานสะสมจำนวนมากจากยุคทองของเนเธอร์แลนด์และศิลปะเอเชี.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและพิพิธภัณฑ์แห่งชาติแห่งอัมสเตอร์ดัม · ดูเพิ่มเติม »

กระจก

กระจกมักถูกใช้ในงานสถาปัตยกรรม กระจก หมายถึงวัสดุที่ทำมาจากแก้ว ซึ่งมีองค์ประกอบหลักทางเคมีคือซิลิคอน ซึ่งสามารถหลอมและนำไปขึ้นรูปได้ เมื่อเย็นตัวแล้วมีลักษณะ โปร่งใส และเป็นของแข็งโดยไม่จับผลึก (มีค่าความหยัดตัวสูง) กระจกจึงสามารถแตกได้เหมือนแก้ว และมีความคมมากกว่าแก้วเมื่อแตกเพราะมีความบางในการผลิต ความแตกต่างในการใช้คำเมื่อเทียบกับคำว่าแก้วคือ กระจกจะใช้เรียกแก้วที่นำมาทำให้เป็นแผ่น โดยมีลักษณะแบนราบและมีความหนาประมาณหนึ่งเป็นส่วนใหญ่ กระจกเป็นลักษณะการผลิตวัสดุประเภทแก้วที่ทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้งานต่างๆ เช่น เพื่อเป็นวัสดุกั้นขวางที่ไม่ทึบแสง ใช้เพื่อเป็นฉนวนกั้น ใช้เพื่อประดับตบแต่งอาคาร ฯลฯ ในบางความต้องการใช้ กระจกถูกนำไปปรับคุณสมบัติต่อเพื่อให้มีคุณลักษณะบางอย่าง เช่น ฉาบปรอทที่ด้านๆหนึ่งเพื่อให้มีคุณสมบัติสะท้อนแสงเรียกว่า กระจกเงา หรือผสมสารชนิดอื่นลงไปในเนื้อสารให้มีสีสันหรือความทึบแสงบางส่วนหรือทั้งหมดเรียกว่า กระจกสี กระจกทึบ หรือกระจกควัน หรือนำไปพ่นทรายลงบนพื้นผิวเพื่อให้เกิดความไม่สม่ำเสมอของความเรียบบนผิวทำให้แสงผ่านได้แต่มีลักษณะมัวๆเรียกว่า กระจกฝ้า เนื่องจากกระจกคือวัสดุประเภทแก้วซึ่งมีความโปร่งใสมากและยังมีค่าดรรชนีหักเหของแสงที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ จึงมีการนำไปสร้างเป็นวัสดุที่มีความหนาไม่สม่ำเสมอแต่มีลักษณะเฉพาะ เรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า เลนส์ (lens) เช่น มีสัณฐานกลมเหมือนเหรียญที่เว้าเข้าตรงกลางทั้งสองด้านเรียกว่า เลนส์เว้า หรือเว้าเข้าด้านเดียวอีกด้านหนึ่งแบนราบและฉาบปรอทมักเรียกว่า กระจกเว้า มีสัณฐานกลมเหมือนเหรียญที่ป่องออกตรงกลางทั้งสองด้านเรียกว่า เลนส์นูน หรือนูนออกด้านเดียวอีกด้านหนึ่งแบนราบและฉาบปรอทมักเรียกว่า กระจกนูน ซึ่งเลนส์คือประเภทการผลิตวัสดุประเภทแก้วในรูปแบบของกระจกเพื่อการใช้งานในลักษณะของการหักเหแสงนั่นเอง กระจกบางประเภทถูกนำไปประกอบสร้างแบบพิเศษ เช่น เคลือบเนื้อสารบางประเภทเช่นพลาสติกด้านเดียวหรือทั้งสองด้าน (เนื้อสารที่นำมาเคลือบเรียกว่าฟิล์ม) เพื่อให้ทึบแสงหรือเพื่อให้ไม่แตกร่วนหรือเพื่อให้เมื่อแตกแล้วไม่มีความคมคล้ายเมล็ดข้าวโพด เช่น กระจกรถยนต์ ฟิล์มบางประเภทที่นำมาเคลือบเช่น เคฟลาร์ มีลักษณะทางโครงสร้างเคมีที่สามารถกระจายแรงที่มากระทบด้านหน้าออกไปทางด้านข้างได้ จึงทำให้สามารถผลิตเป็นกระจกนิรภัย ที่สามารถทนทานต่อแรงกระแทกได้ และในบางกรณีการผลิตแบบเคลือบด้านนอก อาจปรับเป็นการผลิตแบบสอดไส้ข้างใน หรือ ผสมลงไปเป็นเนื้อเดียวกัน ในบางกรณีกระจกอาจสร้างจากวัสดุที่มีความใสไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันกับแก้วแต่เป็นวัสดุประเภทอื่นไปเลย แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตามกระจกจะมีความหมายในลักษณะ ใส บาง เป็นแผ่น มีผิวราบเรียบอย่างมาก อาจหมายรวมไปถึง สะท้อนแสงได้ รวมหรือเบี่ยงเบนแสงได้ หรือ เป็นเงา เสมอๆ วัสดุประเภทกระจกนั้น หากมีค่าความยอมให้ผ่านของแสงมากจะเรียกว่า โปร่งใส หากมีค่าน้อยจะเรียกว่า โปร่งแสง และหากไม่มีค่าเลยจะเรียกว่า ทึบแสง ความหมายโดยปริยายของกระจก มักจะหมายถึงกระจกเงา ถ้าพูดโดยไม่ระบุว่าเป็นกระจกใส เช่นในประโยคว่า "ส่องกระจกชะโงกดูเงา" (เพี้ยนมาจาก "ส่องกะโหลกชะโงกดูเงา" โดยกะโหลกคำนี้แปลว่ากะลา) หรือ "น้ำใสราวกับกระจก" (ส่องลงไปเห็นใบหน้าได้) หมวดหมู่:วัสดุ หมวดหมู่:กระจก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและกระจก · ดูเพิ่มเติม »

กริสโตฟาโน อัลโลรี

ริสโตฟาโน อัลลอริ (Cristofano Allori) (17 ตุลาคม ค.ศ. 1577 - 1 เมษายน ค.ศ. 1621) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีของการเขียนแบบปลายแมนเนอริสม์ของฟลอเรนซ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน อัลลอริเกิดที่ฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ได้รับการศึกษาทางจิตรกรรมเบื้องต้นจากบิดาอเลสซานโดร อัลลอริ แต่ไม่พึงพอใจกับการเน้นการเขียนภาพร่างกายและการใช้สีเย็น ต่อมาอัลลอริก็เข้าทำงานกับห้องเขียนภาพของเกรกอริโอ พากานิ (ค.ศ. 1558-ค.ศ. 1605) ผู้เป็นจิตรกรชั้นนำของตระกูลการเขียนแบบฟลอเรนซ์ ที่พยายามแสวงหาการผสานการใช้สีอันเรืองรองของเวนิสกับการเน้นการวาดรายละเอียดของฟลอเรนซ์ นอกจากนั้นก็ดูเหมือนว่าอัลลอริจะมีโอกาสได้ทำงานกับชิโกลิด้วย ภาพเขียนของอัลลอริมีลักษณะเด่นจากการวาดแบบธรรมชาตินิยมและความละเอียดอ่อนของวิธีการวาด ความสามารถทางเทคนิคของอัลลอริเห็นได้ชัดจากงานก็อปปีงานของอันโตนิโอ ดา คอร์เรจจิโอที่มีฝีมือจนทำให้เข้าใจกันผิดๆ ว่าเป็นงานก็อปปีที่ทำโดยคอร์เรจจิโอเอง งานชิ้นเอกของอัลลอริคือภาพ “จูดิธและหัวโฮโลเฟอร์นีส” ที่มีด้วยกันสองภาพๆ หนึ่งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์พิตติที่ฟลอเรนซ์ และอีกภาพหนึ่งเป็นของหอศิลป์ควีนในลอนดอน ผู้เป็นแบบในภาพคือภรรยาน้อยของอัลลอริเองมาซซาเฟียร์รา และหัวของโฮโลเฟอร์นีสเชื่อกันว่าเป็นภาพเหมือนของอัลลอริเอง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและกริสโตฟาโน อัลโลรี · ดูเพิ่มเติม »

กรีซโบราณ

กรีซโบราณ (Ancient Greece) เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่างๆซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและกรีซโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

กามีย์ ปีซาโร

“ภาพเหมือนตนเอง” ค.ศ. 1898 “Avenue de l'Opera” ค.ศ. 1898 “Bäuerin” ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กามีย์ ปีซาโร (Camille Pissarro) หรือ ฌากอบ-อาบราอาม-กามีย์ ปีซาโร (Jacob-Abraham-Camille Pissarro; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1830 - 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1903) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์แบบฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ความสำคัญของกามีย์ ปีซาโรมิใช่เพียงการเขียนภาพแบบอยู่ที่อิมเพรสชันนิสม์แต่ยังเป็นศิลปินคนสำคัญของขบวนการที่รวมทั้งปอล เซซาน และปอล โกแก็ง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและกามีย์ ปีซาโร · ดูเพิ่มเติม »

การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง

การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง หรือ อัตกาม (masturbation) หรือที่มักเรียกว่าการช่วยตัวเอง คือการกระตุ้นอวัยวะเพศของตนเองเพื่อให้เกิดอารมณ์ทางเพศหรือความพอใจอื่น ๆ ปกติจะทำจนถึงความเสียวสุดยอดทางเพศ การกระตุ้นอาจใช้มือ นิ้วมือ วัตถุในชีวิตประจำวัน เซ็กซ์ทอย หรือหลายอย่างร่วมกัน การสำเร็จความใคร่ร่วมกัน (กระตุ้นทางเพศด้วยตนเองร่วมกับผู้อื่น) สามารถแทนการสอดใส่ได้ จากการศึกษาพบว่าการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเองพบมากในมนุษย์ทุกเพศ และทุกวัย กิจกรรมการสำเร็จความใคร่นับว่ามีประโยชน์ทางการแพทย์และจิตวิทยา ยังไม่มีความสัมพันธ์เหตุภาพระหว่างการสำเร็จความใคร่กับความผิดปกติทางจิตหรือทางร่างกายใด ๆ มีการพรรณนาถึงการสำเร็จความใคร่ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และมีการพูดถึงและอภิปรายถึงในงานเขียนยุคแรก ๆ ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 นักเทววิทยาและหมอชาวยุโรปมองว่า "น่าเกลียด" "น่าตำหนิ" และ "น่ากลัว" แต่ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ข้อห้ามดังกล่าวเริ่มลดความสำคัญลง มีการอภิปรายและพรรณนาถึงการสำเร็จความใคร่ในงานศิลปะ ดนตรีสมัยนิยม โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และวรรณกรรม ในปัจจุบัน ศาสนาต่าง ๆ มีมุมมองต่อการสำเร็จความใคร่ที่แตกต่างกัน บางศาสนามองว่าเป็นกิจกรรมที่เป็นภัยต่อจิตใจ บางศาสนามองว่าไม่เป็นภัยดังกล่าว และบางศาสนามองต่างกันตามสถานการณ์ การสำเร็จความใคร่ในทางกฎหมายมีความแตกต่างตามช่วงประวัติศาสตร์ และการสำเร็จความใคร่ในที่สาธารณะในหลายประเทศนับเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย ในโลกตะวันตก การช่วยตัวเองคนเดียวหรือกับคู่รักนับถือเป็นเรื่องปกติและนับเป็นส่วนหนึ่งของการมีความสุขทางเพศ การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเองยังถูกพบในสัตว์หลายสายพันธุ์ทั้งในถิ่นที่อยู่และในกรงขัง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

การาวัจโจ

ูรายชื่องานที่ รายชื่อภาพเขียนโดยการาวัจโจ; มีเกลันเจโล เมรีซี ดา การาวัจโจ (Michelangelo Merisi da Caravaggio ค.ศ. 1571 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1610) เป็นจิตรกรสมัยบาโรกคนสำค้ญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้มีผลงานส่วนใหญ่ที่ โรม เนเปิลส์ ซิซิลี และประเทศมอลตา ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและการาวัจโจ · ดูเพิ่มเติม »

การคืนพระชนม์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)

ระเยซูคืนชีพ (Resurrection) เป็นภาพที่เขียนโดยเปียโร เดลลา ฟรานเชสกา จิตรกรสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ที่เมืองซานเซพอลโครในประเทศอิตาลี “พระเยซูคืนชีพ” เป็นจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนราวปี ค.ศ. 1460 ชื่อภาพเป็นนัยถึงชื่อของเมืองซานเซพอลโครที่เป็นชื่อที่ตั้งตาม “วัดโฮลีเซพัลเครอ” (Church of the Holy Sepulchre) ที่เมืองเยรุซาเล็มที่เชื่อกันว่าเป็นที่ฝังพระศพของพระเยซู เพราะเมืองซานเซพอลโครเป็นเจ้าของวัตถุมงคลสองชิ้นที่นักแสวงบุญสองคนไปนำมาจากกรุงเยรุซาเล็มในคริสต์ศตวรรษที่ 9 และพระเยซูเองก็เป็นส่วนหนึ่งของตราประจำเมือง ในภาพพระเยซูยืนตรงกลางภาพในขณะที่ทรงฟื้นจากความตายซึ่งจะเห็นได้จากท่าที่ทรงก้าวขึ้นมาโดยมีพระบาทข้างหนึ่งบนวางอยู่บนระเบียงเตี้ยๆ ลักษณะพระวรกายเป็นแบบไอคอนที่แข็งนิ่ง ทรงยืนเหนือทหารสี่คนที่นอนหลับใหลอยู่ ทำให้เห็นถึงของความแตกต่างระหว่างมวลมนุษย์และเทพ (หรือความตายที่ถูกพิชิตโดยความสว่างจากพระเยซู) ภูมิทัศน์ที่เป็นแสงตอนรุ่งอรุณก็มีคุณค่าทางสัญลักษณ์ ความแตกต่างอย่างอื่นในภาพก็คือความแตกต่างระหว่างต้นไม้ที่มีใบสะพรั่งทางขวาและต้นไม้ที่ไม่มีใบทางซ้ายซึ่งหมายถึงการฟื้นตัวของมนุษย์ที่เกิดจากแสงแห่งการฟื้นตัวของพระเยซู เชื่อกันว่าทหารใส่เสื้อเกราะสีน้ำตาลทางขวาของพระเยซูเป็นภาพเหมือนตนเองของเปียโร หัวของเปียโรสัมผัสกับคธาที่พระเยซูทรงถือซึ่งอาจจะหมายถึงการสัมผัสระหว่างเปียโรกับพระเจ้า ซานเซพอลโครรอดมาจากการถูกระเบิดระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะผู้บัญชาการกองทหารอังกฤษที่มีหน้าที่ในการระเบิดจำได้ว่าได้อ่านบทความของอัลดัส ฮักซลีย์ที่บรรยายภาพ “พระเยซูคืนชีพ” ว่าเป็นภาพเขียนที่งดงามที่สุดในโลก แม้ไม่เคยเห็นรูปที่ว่ากัปตันแอนโทนี คล้าคก็ห้ามการระเบิดเมืองซานเซพอลโคไว้ทัน แต่อันที่จริงแล้วในขณะนั้นทหารเยอรมันก็ถอยตัวไปแล้ว ถ้าระเบิดเมืองก็เป็นการกระทำที่ไร้ประโยชน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและการคืนพระชนม์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา) · ดูเพิ่มเติม »

กาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซิน

กาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซิน (Caterina van Hemessen; ค.ศ. 1528 - หลังจาก ค.ศ. 1587) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน กาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซินเป็นจิตรกรสตรีเฟลมิชคนแรกที่มีหลักฐานทางการเขียน และเช่นเดียวกับจิตรกรสตรีของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนอื่น ๆ ที่เป็นบุตรีของจิตรกรยัน ซันเดิร์ส ฟัน เฮเมิสเซิน (Jan Sanders van Hemessen) ผู้คงจะเป็นครูผู้สอนให้กาเตรีนาเขียน กาเตรีนาเขียนภาพเหมือนของผู้คนผู้มีฐานะดีทั้งหญิงและชายที่มักจะมีฉากหลังเป็นสีมื.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและกาเตรีนา ฟัน เฮเมิสเซิน · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟว์ กูร์แบ

็อง เดซีเร กุสตาฟว์ กูร์แบ (Jean Désiré Gustave Courbet; 10 มิถุนายน ค.ศ. 1819 - 31 ธันวาคม ค.ศ. 1877) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสผู้นำของขบวนการสัจนิยมของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นขบวนการที่เชื่อมระหว่างขบวนการโรแมนติก (ที่พบในภาพเขียนของเตออดอร์ เฌรีโก (Théodore Géricault) และเออแฌน เดอลาครัว) กับ ตระกูลการเขียนบาร์บิซง (Barbizon School) กูร์แบมีบทบาทสำคัญในจิตรกรรมฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในฐานะที่เป็นผู้ริเริ่ม และในฐานะศิลปินผู้เต็มใจที่จะแสดงความคิดทัศนคติเกี่ยวกับสังคมในผลงานที่ทำ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและกุสตาฟว์ กูร์แบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพชีวิตประจำวัน

“ชาวบ้านเต้นรำ” โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ)ราว ค.ศ. 1568 ภาพชีวิตประจำวัน (ภาษาอังกฤษ: Genre works หรือ Genre scenes หรือ Genre views) เป็นภาพที่ใช้สื่อหลายอย่างเช่นจิตรกรรมหรือการถ่ายภาพในการแสดงฉากจากชีวิตประจำวันเช่น ฉากตลาด, ฉากภายในบ้าน, ฉากงานเลี้ยง หรือฉากถนนหนทาง การแสดงฉากก็อาจจะเหมือนจริง, เป็นการจินตนาการ หรือเป็นภาพแบบอุดมคติ สื่อที่เขียนก็เรียกว่า “จิตรกรรมชีวิตประจำวัน”, “ภาพพิมพ์ชีวิตประจำวัน” หรือ “ภาพถ่ายชีวิตประจำวัน” ซึ่งก็แล้วแต่สื่อ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและภาพชีวิตประจำวัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือน

หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนอาร์นอลฟีนี

หมือนอาร์นอลฟีนี (Arnolfini Portrait), การแต่งงานของอาร์นอลฟีนี (The Arnolfini Wedding) หรือ ภาพเหมือนของโจวันนี อาร์นอลฟีนี และภรรยา (Portret van Giovanni Arnolfini en zijn vrouw; Portrait of Giovanni Arnolfini and his Wife) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันบนไม้โอ๊กที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ จิตรกรเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ยัน ฟัน ไอก์เขียนภาพ "ภาพเหมือนอาร์นอลฟีนี" ในปี ค.ศ. 1434 เป็นภาพที่เชื่อกันว่าเป็นภาพเหมือนของโจวันนี อาร์นอลฟีนี (Giovanni Arnolfini) พ่อค้าจากเมืองลุกกาในอิตาลีและภรรยาในห้องที่อาจจะเป็นที่บ้านที่พำนักอยู่ในเมืองบรูชในฟลานเดอส์ เป็นภาพที่ถือกันว่าเป็นภาพที่มีความเป็นต้นตอและความซับซ้อนมากที่สุดภาพหนึ่งของจิตรกรรมตะวันตก ฟัน ไอก์ลงชื่อและวันที่ว่าวาดในปี ค.ศ. 1434 ต่อมาหอศิลป์แห่งชาติแห่งลอนดอนซื้อภาพเขียนนี้ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและภาพเหมือนอาร์นอลฟีนี · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนผู้อุทิศ

“การชื่นชมของพระบุตร” ฌอง เฮย์ ผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางขวาและเป็นส่วนหนึ่งของของภาพ ภาพเหมือนผู้อุทิศ หรือ ภาพรวมผู้อุทิศ (donor portrait หรือ votive portrait) คือภาพเหมือนในจิตรกรรมหรืองานศิลปะแบบอื่นเช่นประติมากรรมที่แสดงภาพของเจ้าของภาพหรือผู้จ้างให้สร้างงานศิลปะชิ้นนั้นที่อาจจะรวมทั้งครอบครัว และญาติพี่น้องของผู้จ้าง หรือกลุ่มคนที่เกี่ยวกับผู้จ้างด้วย “ภาพรวมผู้อุทิศ” (votive portrait) มักจะภาพทั้งภาพที่รวมทั้งภาพหลักและผู้อุทิศที่อยู่ในภาพ แต่ “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” (donor portrait) มักจะหมายถึงภาพเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับผู้อุทิศเท่านั้น “ภาพเหมือนผู้อุทิศ” เป็นที่นิยมกันในการสร้างศิลปะคริสต์ศาสนา โดยเฉพาะในงานจิตรกรรมจากยุคกลาง และยุคเรอเนสซองซ์ที่มักจะแสดงผู้อุทิศคุกเข่าอยู่ทางด้านหน้าสองข้างของภาพ และบ่อยครั้งที่แม้แต่ในตอนปลายของยุคเรอเนสซองซ์ที่ผู้อุทิศโดยเฉพาะเมื่อแสดงทั้งครอบครัวจะมีขนาดเล็กกว่าตัวเอกในภาพมากที่ขัดกับทฤษฎีการวาดทัศนมิติ เมื่อมาถึงยุคเรอเนสซองซ์ผู้อุทิศก็เริ่มมีความสำคัญขึ้นและกลายเป็นส่วนสำคัญของภาพที่อาจจะเป็นผู้เห็นเหตุการณ์หรือบางครั้งก็อาจจะเป็นผู้ร่วมเหตุการณ์ไปเลยก็ได้.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและภาพเหมือนผู้อุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)

หมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?) (Portrait of a Man (Self Portrait?)) หรือ ภาพเหมือนของชายโพกหัวแดง (Man met de rode tulband; Portrait of a Man in Red Turban) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ จิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรก ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร มาตั้งแต..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนตนเอง (ดือเรอร์)

หมือนตนเอง หรือ ภาพเหมือนตนเองเมื่ออายุยี่สิบแปดปีสวมเสื้อคลุมปกขนสัตว์ (Self-Portrait หรือ Self Portrait at Twenty-Eight Years Old Wearing a Coat with Fur Collar) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยอัลเบรชท์ ดือเรอร์จิตรกรคนสำคัญชาวเยอรมันของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเดิม, มิวนิคในประเทศเยอรมนี “ภาพเหมือนตนเอง” ที่เขียนโดยอัลเบรชท์ ดือเรอร์ในปี ค.ศ. 1500 เป็นภาพที่เขียนบนแผงไม้ที่ถือกันโดยทั่วไปว่าเป็นงานจิตรกรรมภาพเหมือนตนเองชิ้นที่เด่นที่สุดชิ้นหนึ่ง การมองตรงมายังผู้ชมภาพโดยตรงทำให้เป็นภาพเขียนที่มีลักษณะไม่เหมือนภาพเหมือนตนเองที่เขียนกันมาก่อน ลักษณะของภาพเป็นภาพครึ่งตัวท่อนบน หน้าตรง และมีความสมมาตรสูง ฉากหลังที่ขาดหายไปทำให้ปราศจากขาดนัยยะถึงสถานที่และเวลา การวางคำจารึกในบริเวณที่มืดของภาพสองด้านของตัวแบบทำให้ดูเหมือนว่าเป็นคำจารึกที่ลอยตัว ซึ่งเป็นการเน้นจุดประสงค์ในการเป็นสัญลักษณ์ของภาพยิ่งขึ้นไปอีก ในภาพนี้ดือเรอร์แสดงตนเองอย่างสง่าเป็นทางการซึ่งเป็นการวางท่าที่เดิมใช้ในการวาดภาพพระเยซูเท่านั้น—นัยยะที่ทำให้เกิดการถกเถียงกันในหมู่นักวิพากษ์ศิลป์หัวโบราณก็จะกล่าวว่าการเขียนของดือเรอร์เป็นการตอบสนองธรรมเนียมการเขียนที่เรียกว่าเขียนลักษณะ “เลียนแบบพระเยซู” (Imitation of Christ) ส่วนผู้อื่นที่มีทัศนะที่สร้างความขัดแย้งมากกว่าก็จะตีความหมายว่าเป็นการประกาศความเป็นตัวของตัวเองหรือของความเป็นดือเรอร์ และ ความสำคัญในการเป็น “ผู้สร้าง” (creator (Creator.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและภาพเหมือนตนเอง (ดือเรอร์) · ดูเพิ่มเติม »

มอริส ก็องแต็ง เดอ ลา ตูร์

มอริส ก็องแต็ง เดอ ลา ตูร์ (Maurice Quentin de La Tour; 5 กันยายน ค.ศ. 1704 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1788) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของสมัยโรโคโคของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือนผู้เขียนงานส่วนใหญ่ด้วยสีเทียน งานเขียนชิ้นสำคัญก็ได้แก่ภาพเหมือนของวอลแตร์, พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส และมาดาม เดอ ปงปาดูร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมอริส ก็องแต็ง เดอ ลา ตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ ลีเบอร์มันน์

มักซ์ ลีเบอร์มันน์ (Max Liebermann; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1847 - 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1935) เป็นช่างพิมพ์ผู้มีชื่อเสียงทางด้านการแกะพิมพ์และภาพพิมพ์หินชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมักซ์ ลีเบอร์มันน์ · ดูเพิ่มเติม »

มารี บาชเคิร์ทเซฟฟ์

"ในห้องเขียนภาพ" (ค.ศ. 1881) บาชเคิร์ทเซฟฟ์เองนั่งอยู่ทางมุมล่างขวาของภาพ มารี บาชเคิร์ทเซฟฟ์ (Мария Константиновна Башкирцева, Marie Konstantinovna Bashkirtseff) (11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1858 - 31 ตุลาคม ค.ศ. 1884) เป็นจิตรกรและประติมากรชาวรัสเซียเชื้อสายยูเครนของคริสต์ศตวรรษที่ 19 บาชเคิร์ทเซฟฟ์เกิดมาในครอบครัวขุนนางผู้มีฐานะดีแต่ไปโตในต่างประเทศ และได้เดินทางร่วมกับมารดาไปทั่วยุโรป ได้รับการศึกษาส่วนตัวและศึกษาการเขียนภาพในฝรั่งเศสที่สถาบันฌูเลียนซึ่งสถาบันเพียงไม่กี่สถาบันที่รับสตรีเป็นนักเรียน ซึ่งทำให้มีสตรีมาเรียนจากทั่วยุโรปและสหรัฐอเมริกา เพื่อนร่วมรุ่นคนหนึ่งคือหลุยส์ เบรสเลา ที่บาชเคิร์ทเซฟฟ์ถือว่าเป็นคู่แข่ง เมื่อเรียนสำเร็จแล้วมารีก็สร้างผลงานอันเป็นงานที่มีฝีมือในช่วงอายุอันสั้น ภาพเขียนชิ้นสำคัญคือภาพเหมือนของเด็กในสลัมในปารีสชื่อ "การพบปะ" และ "ในห้องเขียนภาพ" ซึ่งเป็นภาพเหมือนของศิลปินร่วมสมัยขณะที่กำลังทำงานกันในห้องเขียนภาพ แต่เป็นที่น่าเสียดายที่งานของบาชเคิร์ทเซฟฟ์ส่วนใหญ่แล้วถูกทำลายไปโดยนาซีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมารี บาชเคิร์ทเซฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

มารี เอลเลนรีเดอร์

มารี เอลเลนรีเดอร์ (Marie Ellenrieder หรือ Anna Marie Ellenrieder) (20 มีนาคม ค.ศ. 1791 - 5 มิถุนายน ค.ศ. 1863) เป็นจิตรกรชาวเยอรมันของคริสต์ศตวรรษที่ 19 มารี เอลเลนรีเดอร์เกิดที่เมืองคอนสแตนซ์ในประเทศเยอรมนี เป็นลูกสาวของคอนราด และ อันนา มาเรีย แฮร์มันน์ มารีร่ำเรียนการเขียนภาพจากจุลจิตรกรโจเซฟ ไอน์เซิล ลักษณะการเขียนภาพเหมือนของมารีคล้ายคลึงกับงานเขียนของอันเจลิคา คอฟมันน์ มารีเป็นสตรีคนแรกที่ได้รับเข้าสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งมิวนิค (Academy of Fine Arts Munich) ระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมารี เอลเลนรีเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มารี-กีย์มีน เบอนัว

มารี-กีย์มีน เบอนัว (Marie-Guillemine Benoist) หรือ มารี-กีย์มีน เดอ ลาวีล-เลอรู (Marie-Guillemine de Laville-Leroux; 18 ธันวาคม ค.ศ. 1768 - 8 ตุลาคม ค.ศ. 1826) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของสมัยฟื้นฟูคลาสสิกของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมประวัติศาสตร์และภาพชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมารี-กีย์มีน เบอนัว · ดูเพิ่มเติม »

มารี-เดอนีซ วีแลร์

มารี-เดอนีซ วีแลร์ (Marie-Denise Villers,; ราว ค.ศ. 1774 - 19 สิงหาคม ค.ศ. 1821) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน มารี-เดอนีซ วีแลร์เกิดในตระกูลศิลปินมารี-วิกตัวร์ เลอมวน และมารี-เอลีซาแบ็ต กาบียู พี่และน้องสาวสองคนต่างก็เป็นศิลปินผู้มีความสามารถ ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมารี-เดอนีซ วีแลร์ · ดูเพิ่มเติม »

มารีย์ (มารดาพระเยซู)

มารีย์ (מרים, มัรยาม, มีเรียม) คริสต์ศาสนิกชนบางนิกายเรียกว่าพระแม่มารีย์ พระนางมารีย์พรหมจารี (Blessed Virgin Mary) หรือพระนางมารีย์พระชนนีพระเป็นเจ้า (Mary, Mother of God) (ในอัลกุรอานว่านางมัรยัม) เป็นสตรีชาวยิวจากเมืองนาซาเรธ แคว้นกาลิลี คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่และคัมภีร์อัลกุรอานระบุตรงกันว่านางได้เป็นมารดาของพระเยซูโดยอำนาจของพระเจ้า พระวรสารนักบุญมัทธิวและพระวรสารนักบุญลูการะบุว่ามารีย์เป็นหญิงพรหมจรรย์ (παρθένος, parthénos ในภาษากรีก) ชาวคริสต์เชื่อสืบกันมาแต่อดีตว่านางได้ตั้งครรภ์บุตรด้วยอำนาจพระวิญญาณบริสุทธิ์ขณะที่ยังเป็นหญิงพรหมจรรย์ ส่วนชาวมุสลิมก็เชื่อว่านางตั้งครรภ์ด้วยโองการของพระเจ้า เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อนางได้หมั้นหมายกับนักบุญโยเซฟแล้วและอยู่ระหว่างรอพิธีแต่งงาน เมื่อนางได้แต่งงานกับโยเซฟแล้วก็ย้ายไปอยู่ที่เมืองเบธเลเฮมซึ่งได้เป็นที่ประสูติพระเยซู ตามธรรมเนียมยิวการหมั้นน่าจะเกิดขึ้นเมื่อนางอายุราว 12 ปีแล้วให้กำเนิดพระเยซูในหนึ่งปีหลังจากนั้น คัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่เริ่มกล่าวถึงนางด้วยเหตุการณ์แม่พระรับสาร เมื่อทูตสวรรค์กาเบรียลมาปรากฏกายต่อหน้านาง แล้วแจ้งว่าพระเจ้าทรงเลือกนางให้เป็นมารดาของพระเยซู คริสตจักรและข้อเขียนนอกพระคัมภีร์ในยุคแรกยังระบุว่าบิดามารดาของนางเป็นคู่สามีภรรยาสูงอายุชื่อนักบุญโยอาคิมและนักบุญอันนา คัมภีร์ไบเบิลบันทึกถึงบทบาทของนางในชีวิตของพระเยซูตั้งแต่การตั้งครรภ์พระองค์จนถึงพระองค์เสด็จขึ้นสวรรค์ ข้อเขียนจากคัมภีร์นอกสารบบยังกล่าวว่าหลังจากมรณกรรมนางได้รับการยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณด้ว.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมารีย์ (มารดาพระเยซู) · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ก ชากาล

“มาร์ก ชากาล” (4 กรกฎาคม ค.ศ. 1941) โดย คาร์ล ฟาน เวคเทิน (Carl Van Vechten) มาร์ก ชากาล (Marc Chagall; מאַרק שאַגאַל; Марк Захарович Шага́л, Mark Zakharovich Shagal; Мойша Захаравіч Шагалаў, Mojša Zaharavič Šagałaŭ; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Moishe Shagal; 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1887 - 28 มีนาคม ค.ศ. 1985) เป็นจิตรกรชาวเบลารุส-ฝรั่งเศส (เดิมเป็นชาวยิว-เบลารุส) คนสำคัญในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชากาลเกิดที่เบลารุสซึ่งขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซีย เขาเป็นศิลปินผู้มีส่วนในขบวนการศิลปะสมัยใหม่หลังภายหลังสมัยศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ แต่งานของชากาลจะจัดเข้ากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้ยาก เป็นงานที่เต็มไปด้วยการใช้สัญลักษณ์ นอกจากงานจิตรกรรมแล้วชากาลยังมีงานกระจกสีและงานโมเสก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมาร์ก ชากาล · ดูเพิ่มเติม »

มาซัชโช

"ภาพเหมือนตนเอง" มาซัชชีโอ หรือ ตอมมาโซ มาซัชชีโอ (Masaccio; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Tommaso Cassai หรือ Tommaso di Ser Giovanni di Mone, 21 ธันวาคม ค.ศ. 1401 - ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1428) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทาง การเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และบานพับภาพ จิตรกรรมฝาผนังของมาซัชชีโอเป็นงานเชิงมนุษยนิยมซึ่งทำให้แสดงให้เห็นความยืดหยุ่นที่ไม่เคยเห็นกันมาก่อน ชื่อ “มาซัชชีโอ” เป็นสมญาของชื่อตัว “ตอมมาโซ” เพราะ “มาซัชชีโอ” แปลว่า ตอมมาโซ “ใหญ่” “อ้วน” “งุ่มง่าม” หรือ “เลอะเทอะ” สร้อยที่ให้นี้เพื่อให้แตกต่างจากจิตรกรที่มาซัชชีโอร่วมงานด้วยที่ชื่อ “ตอมมาโซ” เช่นกัน “ตอมมาโซ” หลังนี้มารู้จักกันในชื่อ “มาโซลีโน ดา ปานีกาเล” (Masolino da Panicale) หรือ “ตอมมาโซเล็ก” แม้ว่ามาซัชชีโอจะวาดภาพเพียงไม่นานแต่ก็มีอิทธิพลต่อจิตรกรคนอื่นๆ มาซัชชีโอเป็นจิตรกรคนแรกๆ ที่ใช้การเขียนแบบทัศนียภาพโดยเฉพาะการใช้จุดลับตา หรือจุดอันตธาน (Vanishing point) เป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมาซาชิโอก็ยังละทิ้งวิธีการเขียนแบบกอธิคและการใช้การตกแต่งอย่างเช่นจิตรกรเจนตีเล ดา ฟาบรีอาโน (Gentile da Fabriano) มาเป็นแบบที่เป็นธรรมชาติมากกว่าโดยใช้การวาดแบบทัศนียภาพเข้าช่ว.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมาซัชโช · ดูเพิ่มเติม »

มิยะโมะโตะ มุซะชิ

มิยะโมะโตะ มุซะชิ เกิดในช่วงปี พ.ศ. 2127 ที่เมืองฮะริมะ (Harima) เป็นซามูไร ที่มีชื่อเสียงเป็นอย่างมากคนหนึ่ง ว่ากันว่าเขาไม่เคยสู้แพ้ใคร โดยการสู้ที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขา คือ การสู้กับ ซะซะกิ โคะจิโร และรวมถึงมีอยู่ครั้งหนึ่งมุซาชิเคยถูกลูกศิษย์ในสำนักของโยชิโอกะตามไล่ฆ่า เพราะมุซาชิได้สังหารเจ้าสำนักของโยชิโอกะตายถึง 3 คนและได้ฆ่าลูกศิษย์ของโยชิโอกะที่ตามฆ่าไปถึง 70 กว่าคนภายในเวลาเพียงแค่ชั่วข้ามคืน มิยะโมะโตะ มุซะชิ เสียชีวิตในวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2188 ในเมืองฮิโงะ (Higo) ด้วยวัย 61 ปี มิยะโมโตะ มุซะชินั้นได้ชื่อว่าเป็นสุดยอดซามุไร ในยุคนั้นอีกด้วย อีกทั้งยังเป็นต้นแบบในการใช้ดาบ 2 มือ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมิยะโมะโตะ มุซะชิ · ดูเพิ่มเติม »

มีเกลันเจโล

มีเกลันเจโล หรือที่มักรู้จักกันในชื่อ ไมเคิลแองเจโล มีชื่อเต็มว่า มีเกลันเจโล ดี โลโดวีโก บูโอนาร์โรตี ซีโมนี (Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni, 6 มีนาคม ค.ศ. 1475 - 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564) เป็นจิตรกร สถาปนิก และประติมากรชื่อดัง ในช่วงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) มีเกลันเจโลเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1475 ที่หมู่บ้านคาปรีส (ปัจจุบันอยู่ในทัสกานี, อิตาลี) เขาเติบโตที่เมืองฟลอเรนซ์ หลังจากที่ไปอยู่ที่กรุงโรมเมื่ออายุ 21 ปี และใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นถึง 5 ปี มีเกลันเจโลสร้างประติมากรรมรูปสลัก เดวิด ตอนอายุ 26 ปี จากหินอ่อนก้อนมหึมาที่ถูกทิ้งไว้กลางเมืองฟลอเรนซ์เป็นเวลาหลายปี จึงกลายเป็นที่ฮือฮาของชาวเมือง ด้วยเหตุผลที่ว่า ไม่มีใครกล้าพอที่จะแตะต้องมัน ความสำเร็จหลังจากงานชิ้นนี้ ทำให้ชื่อเสียงของเขาโด่งดังไปทั่วอิตาลี มีเกลันเจโล เดิมทีเป็นคนที่เกลียดเลโอนาร์โด ดา วินชี ถึงแม้ว่าทั้งคู่จะมีอายุห่างกันถึง 23 ปี และไม่ค่อยได้พบกันบ่อยนัก ในช่วงนี้ (ค.ศ. 1497 - ค.ศ. 1500) เขาก็ได้สร้างประติมากรรมหินอ่อนอีกชิ้นหนึ่งที่มีชื่อว่า ปีเอตะ (Pietà) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในมหาวิหารนักบุญเปโตรที่กรุงโรม ตอนอายุได้ 30 ปี เขาได้ถูกเชิญให้กลับมาที่กรุงโรม เพื่อออกแบบหลุมฝังศพให้กับสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ซึ่งใช้เวลาประมาณ 40 ปี หลังจากแก้หลายครั้งหลายครา จนมาสำเร็จในปี ค.ศ. 1545 ต่อมาในปี ค.ศ. 1546 เขาเป็นสถาปนิกคนสำคัญในการสร้างมหาวิหารนักบุญเปโตรที่กรุงโรม ที่มีความยิ่งใหญ่และงดงามเป็นอย่างมาก ซึ่งถือเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นเอกของโลก โดยเฉพาะส่วนที่เป็นโดม เขาใช้ชีวิตในบั้นปลายอยู่ในกรุงโรม ตลอด 30 ปี ช่วงนี้นั้นเองที่เขาเขียนภาพระดับโลกไว้มากมาย โดยเฉพาะภาพ คำพิพากษาครั้งสุดท้าย (The Last Judgment) ซึ่งเขาใช้เวลาในการเขียนภาพขนาดยักษ์นี้นานถึง 6 ปี มีเกลันเจโล บูโอนาร์โรตี เสียชีวิตที่กรุงโรม เมื่อปี ค.ศ. 1564 รวมอายุได้ 88 ปี ซึ่งมีคำกล่าวจากสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ว่า "ทรงยินดีบั่นทอนชีวิตของท่านลง เพื่อแลกกับชีวิตของมิเกลันเจโลให้ยืนยาวออกไปอีก".

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและมีเกลันเจโล · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ฟัน ไอก์

หมือนของชายโพกหัวแดง" อาจจะเป็นภาพเหมือนตนเองของฟัน ไอก์ ที่เขียนเมื่อ ค.ศ. 1433 ยัน ฟัน ไอก์ (Jan van Eyck; ราวก่อน ค.ศ. 1395 - ก่อนวันที่ 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1441) เป็นจิตรกรสมัยเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ที่ทำงานที่บรูช และถือกันว่าเป็นจิตรกรคนสำคัญของยุโรปในคริสต์ศวรรษที่ 15 สิ่งหนึ่งที่มักจะเข้าใจผิดกันเกี่ยวกับ ฟัน ไอก์ ว่าเป็นผู้ริเริ่มการใช้สีน้ำมันในการวาดภาพ มาจากข้อเขียนของจอร์โจ วาซารี ผู้เขียน "ชีวิตจิตรกร" ในคริสต์ศวรรษที่ 16 แต่ที่แน่ ๆ คือฟัน ไอก์มีความสำเร็จเป็นอันมากจากการใช้วิธีการวาดภาพด้วยสีน้ำมัน ยัน ฟัน ไอก์มักจะมีชื่อเกี่ยวข้องกับฮือเบิร์ต ฟัน ไอก์ ผู้เป็นจิตรกรและเป็นพี่ชาย และทั้งสองคนมาจากมาไซก์ ในประเทศเบลเยียมในปัจจุบัน พี่ชายอีกคนหนึ่ง แลมเบิร์ตมีชื่อกล่าวในเอกสารของราชสำนักเบอร์กันดี และสันนิษฐานกันว่าคงเป็นจิตรกรด้วยและอาจจะเป็นผู้ที่ดูแลการปิดโรงฝึกงานของยัน ฟัน ไอก์ที่บรูช ฟัน ไอก์อีกผู้หนี่งคือ บาร์เตเลอมี ฟัน ไอก์ (Barthélemy van Eyck) ผู้ทำงานอยู่ทางใต้ของฝรั่งเศสก็เข้าใจว่าจะเป็นญาติกัน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและยัน ฟัน ไอก์ · ดูเพิ่มเติม »

ยัน เดอ ไบร

ัน เดอ ไบร (Jan de Bray; ราว ค.ศ. 1627 - 1 เมษายน ค.ศ. 1697) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 ยัน เดอ ไบรมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือนเชิงประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและยัน เดอ ไบร · ดูเพิ่มเติม »

รอยัลอะคาเดมีออฟอาตส์

รอยัลอะคาเดมีออฟอาตส์ หรือ ราชบัณฑิตยสถานศิลปะ (Royal Academy of Arts) เป็นสถาบันศิลปะ ตั้งอยู่ที่คฤหาสน์เบอร์ลิงตัน ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและรอยัลอะคาเดมีออฟอาตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบนาซี

นาซี (Nazism; บ้างสะกดว่า Naziism "JAPAN: Imitation of Naziism?"; Nationalsozialismus) หรือ ชาติสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์และวิถีปฏิบัติของพรรคนาซีและนาซีเยอรมนีPayne, Stanley G. 1995.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและระบอบนาซี · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบเก่า

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ในฐานะ “พระสุริยเทพ” ระบอบเก่า หรือ อองเซียงเรฌีม (Ancien Régime) โดยทั่วไปหมายถึงระบบแบบราชาธิปไตย อภิชนาธิปไตย สังคม และการเมืองที่ใช้ในฝรั่งเศสภายใต้ราชวงศ์วาลัวและราชวงศ์บูร์บงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 18 โครงสร้างทางการบริหารและทางการสังคมของระบอบเก่าเป็นผลมาจากระบบการบริหารของสถาบันพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในสมัยกลางที่สิ้นสุดในการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ. 1789 ระบอบเก่าของประเทศอื่น ๆ ในยุโรปก็มีประวัติความเป็นมาคล้ายคลึงกัน แต่มีผลบั้นปลายที่แตกต่างกันบางประเทศก็สิ้นสุดลงด้วยระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางประเทศก็แตกแยกออกไปจากสงครามและการปฏิวัติ อำนาจระบอบเก่าอยู่บนพื้นฐานสามประการ ได้แก่ พระมหากษัตริย์ นักบวช และชนชั้นขุนนาง ฐานันดรแห่งราชอาณาจักร (Estates of the realm) ก็แบ่งออกเป็นสามเช่นกัน คือ ฐานันดรที่หนึ่ง (First Estate) คือนักบวชโรมันคาทอลิก, ฐานันดรที่สอง (Second Estate) คือชนชั้นขุนนาง และ ฐานันดรที่สาม (Third Estate) คือสามัญชน โดยทั่วไปแล้วระบอบเก่าหมายถึงระบอบการปกครองใดใดที่มีลักษณะตามที่กล่าวแล้ว ระบอบเก่ารักษาลักษณะหลายประการของระบบเจ้าขุนมูลนายที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยเฉพาะในการใช้อภิสิทธิ์ของขุนนางและชนชั้นเจ้านายที่สนับสนุนโดยปรัชญาเทวสิทธิราชย์ ความแตกต่างอยู่ตรงที่อำนาจการปกครองที่เคยเป็นของเจ้าครองนครต่างๆ มาก่อนกลายเป็นอำนาจของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่เพิ่มมากขึ้น วลีนี้ใช้มาตั้งแต่ยุคเรืองปัญญา (พบในเอกสารครั้งแรกในภาษาอังกฤษในปี ค.ศ. 1794) ในความหมายในทางลบ เช่นเดียวกับการใช้คำว่า ยุคมืด ที่กลายมาเรียกกันว่า สมัยกลาง แนวคิดของการใช้คำว่าระบอบเก่าเป็นการแฝงความหมายเป็นนัยยะว่าเป็นระบอบที่ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติ และควรจะเปลี่ยนแปลงไปเป็น ระบอบใหม่ (New Order) คำว่า ระบอบเก่า คิดขึ้นโดยนักปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อเผยแพร่สร้างความเชื่อถือในเหตุผลของการปฏิวัติและทำลายชื่อเสียงของระบอบการปกครองที่เป็นอยู่ ซึ่งเป็นการใช้ในทางที่มีอคติในการบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ สำหรับนักประพันธ์บางคนคำนี้เป็นคำที่ทำให้เกิดความรำลึกถึงเหตุการณ์บางอย่าง เช่นที่ตาล์ลีย์รองด์ (Talleyrand) กล่าวว่า: ภาษาสเปนใช้คำว่า “Antiguo Régimen” แต่แม้ว่าสเปนจะได้รับผลกระทบกระเทือนจากการปฏิวัติฝรั่งเศสและผลที่ตามต่อมาแต่ความเปลี่ยนแปลงในสเปนไม่รุนแรงเท่ากับการเปลี่ยนแปลงในฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและระบอบเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ราฟาเอล

วาดตัวเองของราฟาเอล ราฟาเอล (Raphael) หรือ รัฟฟาเอลโล ซานซีโอ ดา อูร์บีโน (Raffaello Sanzio da Urbino; พ.ศ. 2026-2063) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีที่มีอาวุโสน้อยที่สุดในบรรดาจิตรกรผู้ยิ่งใหญ่ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีอายุน้อยกว่าเลโอนาร์โด ดา วินชี 31 ปี และอ่อนกว่ามีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี 8 ปี เมื่อ..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคลาสสิกใหม่

"แจกันเมดีชี" แจกันกระเบื้อง ตกแต่งด้วยสีปอมเปอีดำและแดง, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ราว ค.ศ. 1830 ลัทธิคลาสสิกใหม่ (neoclassicism, neo-classicism) เป็นชื่อที่ใช้สำหรับขบวนการทางวัฒนธรรมของศิลปะการตกแต่ง ทัศนศิลป์ วรรณคดี การละคร ดนตรี และสถาปัตยกรรมที่มาจากศิลปะคลาสสิกและวัฒนธรรมซึ่งส่วนใหญ่มาจากกรีกโบราณหรือโรมันโบราณ) ขบวนการเหล่านี้มีความนิยมระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษ 19.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและลัทธิคลาสสิกใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร

ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร (Luke the Evangelist; לוקא; Loukas) เกิดที่แอนติออก ประเทศตุรกีปัจจุบัน เสียชีวิตประมาณปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร · ดูเพิ่มเติม »

ลูคัส ครานัค

ลูคัส ครานัค ผู้อาวุโส (Lucas Cranach der Ältere; Lucas Cranach the Elder; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1472 - 16 ตุลาคม ค.ศ. 1553) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอแนซ็องส์คนสำค้ญของประเทศเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ผู้มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ทำภาพพิมพ์ ภาพพิมพ์แกะไม้ และสลักโลหะ (engraving) ชื่อเมื่อแรกเกิดของลูคัสคือ "ลูคัส ซุนเดอร์" หรือ "ซอนเดอร์" ที่โครนัคในอัปเปอร์ฟรังโคเนีย ต่อมาภายหลังชื่อก็ถูกรวมกับชื่อเมืองเกิดเป็นชื่อ "ลูคัส ครานัค" ลูคัสอาจจะเรียนศิลปะการเขียนภาพจากบิดาหรืออาจจะจากปรมาจารย์ทางภาคใต้ของเยอรมนี เช่นเดียวกับศิลปินร่วมสมัยเช่นมัททีอัส กรือเนวัลด์ ผู้ที่ทำงานที่บัมแบร์กและอาชัฟเฟินบูร์ก บัมแบร์กเป็นเมืองหลวงของสังฆมณฑลที่เมืองโครนัคตั้งอยู.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและลูคัส ครานัค · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

รูปสลักเดวิด เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี หนึ่งในประติมากรรมชิ้นเอกของยุคนี้ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance; Rinascimento; แปลว่า เกิดใหม่ หรือคืนชีพ) หรือ เรอแนซ็องส์ เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในทวีปยุโรป ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมยุคใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเป็นการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมที่กินเวลาตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึง 17 ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ศาสนาและการเมือง การฟื้นฟูการศึกษาโดยอาศัยผลงานคลาสสิก การพัฒนาจิตรกรรม และการปฏิรูปการศึกษาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้อาศัยพลังของนักมนุษยนิยมและปัจเจกชนนิยมเป็นเครื่องจูงใจ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเกิดขึ้นในฟลอเรนซ์ แคว้นทัสกานี ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

มัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (ภาษาอังกฤษ: Italian Renaissance) เป็นจุดแรกของการเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาซึ่งเป็นช่วงเวลาของความเจริญทางวัฒนธรรมที่สูงสุดในยุโรปที่เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ไปจนสิ้นสุดลงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นช่วงเวลาที่เชื่อมระหว่างยุคกลางของยุโรปกับยุโรปสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern Europe) คำว่า “เรอเนสซองซ์” เป็นคำสมัยใหม่ที่มาใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในงานของนักประวัติศาสตร์เช่นเจคอป เบิร์คฮาร์ดท์ (Jacob Burckhardt) ที่มาของขบวนการฟื้นฟูศิลปวิทยาจะเริ่มจากการวิวัฒนาการทางวรรณกรรมของผู้ก่อตั้งในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 14 แต่ วัฒนธรรมด้านอื่นๆของอิตาลีในขณะนั้นยังคงเป็นวัฒนธรรมของยุคกลาง ปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยามิได้แพร่หลายอย่างเต็มที่จนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 คำว่า “เรอเนสซองซ์” หรือ “Rinascimento” ในภาษาอิตาลีหมายความว่า “เกิดใหม่” และเป็นสมัยที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในการฟื้นฟูความสนใจในวัฒนธรรมของกรีกโรมันหลังจากสมัยที่นักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์ (Renaissance humanist) ตั้งชื่อว่ายุคมืด (Dark Ages) ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญแต่จำกัดอยู่แต่ในกลุ่มชนชั้นสูงและทิ้งให้ประชากรส่วนใหญ่ในยุโรปยังมีความเป็นอยู่ที่ไม่ต่างจากสมัยกลางที่ผ่านมา สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเริ่มในทัสเคนีโดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ฟลอเรนซ์และเซียนา และต่อมาในเวนิสที่มีผลเป็นอันมาก เพราะงานต่างๆ ของกรีกโบราณถูกนำไปรวบรวมไว้ที่เวนิสซึ่งทำให้กลายเป็นแหล่งความรู้ต่างๆ ที่ใหม่ๆ ให้แก่นักมนุษยนิยม ผู้คงแก่เรียนในเวนิสในขณะนั้น ต่อมาปรัชญาฟื้นฟูศิลปวิทยาก็มามีอิทธิพลในกรุงโรม ที่ทำให้เกิดการสร้างสิ่งก่อสร้างใหม่ๆ มากมายที่ส่วนใหญ่โดยการอุปถัมภ์ของพระสันตปาปาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรุ่งเรืองที่สุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 หลังจากนั้นก็ลดถอยลงหลังจากการรุกรานจากต่างประเทศที่ก่อสงครามในอิตาลี แต่การฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีก็มิได้หยุดนิ่งลงแต่เผยแพร่ไปทั่วยุโรปและเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือของยุโรปและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอังกฤษและประเทศอื่นๆ ในยุโรป สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในความสำเร็จทางด้านวัฒนธรรม วรรณกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีรวมนักมนุษยนิยมผู้มีชื่อเสียงเช่นเปตรากที่รู้จักกันดีในงานซอนเน็ต “Il Canzoniere”; จิโอวานนิ บอคคาซิโอ (Giovanni Boccaccio) ในงานเรื่องเล่า “Decameron” และนักมนุษย์วิทยาเรอเนสซองซ์เช่นโปลิซิอาโน (Poliziano), มาร์ซิลิโอ ฟิซิโน (Marsilio Ficino), โลเร็นโซ วาลลา (Lorenzo Valla), อัลโด มานูซิโอ (Aldo Manuzio), โพจจิโอ บราชชิโอลินิ (Poggio Bracciolini) นอกจากนั้นก็มีนักประพันธ์มหากาพย์เรอเนสซองซ์เช่นบัลดัสซาเร คาสติกลิโอเน (Baldassare Castiglione) (“The Book of the Courtier”), ลุโดวิโค อริโอสโต (Ludovico Ariosto) (“Orlando Furioso”) และทอร์ควาโท ทาสโซ (Torquato Tasso) (“Jerusalem Delivered”) และนักประพันธ์ร้อยแก้วเช่นนิคโคโล มาเคียเวลลี (“The Prince”) จิตรกรรมเรอเนสซองซ์อิตาลีเป็นจิตรกรรมที่มีอิทธิพลต่อจิตรกรรมตะวันตกต่อมาอีกหลายร้อยปี โดยมีจิตรกรเช่นไมเคิล แอนเจโล, ราฟาเอล, ซานโดร บอตติเชลลี, ทิเชียน และเลโอนาร์โด ดา วินชี และเช่นเดียวกันกับสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา โดยมีสถาปนิกเช่นอันเดรอา ปัลลาดีโอ และงานเช่นมหาวิหารฟลอเรนซ์ และมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ในกรุงโรม ในขณะเดียวกันนักประวัติศาสตร์ในปัจจุบันเห็นว่าเป็นสมัยของความหดตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมามีความก้าวหน้ามากกว่าในวัฒนธรรมของโปรเตสแตนต์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมช่างนักบุญลูกา

ูองค์การคล้ายคลึงกันที่ สถาบันเซนต์ลูค ภาพนักบุญลูควาดภาพพระแม่มารี โดย นิเคลาส์ มานูเอล (Niklaus Manuel) สมาคมช่างนักบุญลูกา (Guild of Saint Luke) เป็นชื่อที่ใช้กันโดยทั่วไปสำหรับสมาคมช่างจิตรกรและศิลปินอื่น ๆ ทางตอนเหนือของยุโรปโดยเฉพาะในบริเวณกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ เป็นชื่อที่ตั้งเป็นเกียรติแก่นักบุญลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร ที่ตำนานกล่าวกันว่าเป็นผู้วาดภาพเหมือนของพระแม่มารีย์ ฉะนั้นนักบุญลูกาจึงกลายมาเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์จิตรกรและศิลปินโดยทั่วไป สมาคมช่างนักบุญลูกาที่มีชื่อเสียงที่สุดก่อตั้งขึ้นที่อันทเวิร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและสมาคมช่างนักบุญลูกา · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

หอศิลป์บอร์เกเซ

หอศิลป์บอร์เกเซ (Galleria Borghese; Borghese Gallery) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่ตั้งอยู่ที่กรุงโรมในประเทศอิตาลี ที่ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1903 หอศิลป์บอร์เกเซตั้งอยู่ในสิ่งก่อสร้างที่เดิมเป็น “วิลลาบอร์เกเซพินชิอานา” ที่เดิมเป็นส่วนสำคัญของสวนแต่ในปัจจุบันสวนแยกเป็นอีกส่วนหนึ่งต่างหากเป็นสวนวิลลาบอร์เกเซ (Villa Borghese gardens) หอศิลป์บอร์เกเซเป็นที่ตั้งแสดงศิลปะของงานสะสมบอร์เกเซ ที่รวมทั้งจิตรกรรม, ประติมากรรม และศิลปะโบราณที่เริ่มสะสมโดยคาร์ดินัลสคิปิโอเน บอร์เกเซ (Scipione Borghese) หลานของสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 5 คฤหาสน์สร้างโดยสถาปนิกฟลามินิโอ พอนซิโอ (Flaminio Ponzio) จากร่างที่เขียนโดยสคิปิโอเนเอง ผู้ที่ใช้เป็นคฤหาสน์นอกเมืองสำหรับจัดงานเลี้ยง สคิปิโอเน บอร์เกเซเป็นผู้อุปถัมภ์คนแรกๆ ของจานโลเรนโซ แบร์นินี และเป็นผู้ชอบสะสมงานของคาราวัจโจ ที่ประกอบด้วย “เด็กชายกับตะกร้าผลไม้”, “นักบุญเจอโรมเขียนหนังสือ”, “บัคคัสไม่สบาย” และอื่นๆ ภาพเขียนอื่นๆ ที่สำคัญก็ได้แก่ “วีนัสและเจ้าสาว” โดยทิเชียน, “ชะลอร่างจากกางเขน” โดยราฟาเอล และงานของปีเตอร์ พอล รูเบนส์ และเฟเดอริโค บารอชชิ (Federico Barocci).

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและหอศิลป์บอร์เกเซ · ดูเพิ่มเติม »

หอศิลป์อุฟฟีซี

หอศิลป์อุฟฟิซิ (ภาษาอิตาลี: Galleria degli Uffizi) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี “หอศิลป์อุฟฟิซิ” เป็นพิพิธภัณฑ์ที่เก่าที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดในบรรดาพิพิธภัณฑ์ศิลปะในโลก ตัวพิพิธภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของ “พาลัซโซ เดกลิ อุฟฟิซิ” ซึ่งเป็นพาลัซโซ (Palazzo) ในเมืองฟลอเรนซ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและหอศิลป์อุฟฟีซี · ดูเพิ่มเติม »

หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)

หอศิลป์แห่งชาติ (National Gallery) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่ในกรุงลอนดอนในอังกฤษ ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1824 เป็นที่แสดงและเก็บรักษาจิตรกรรมกว่า 2,300 ภาพจากตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 จนถึงปี ค.ศ. 1900 หอศิลป์แห่งชาติเริ่มก่อตั้งเมื่อรัฐบาลซี้อภาพเขียน 36 ภาพจากนายธนาคาร จอห์น จูเลียส แองเกอร์สไตน์ (John Julius Angerstein) ในปี ค.ศ. 1824 หลังจากนั้นลักษณะการสะสมก็ขึ้นอยู่กับผู้อำนวยการของหอศิลป์ โดยเฉพาะชาลส์ ล็อก อีสต์เลค (Charles Lock Eastlake) และโดยการอุทิศเงินส่วนบุคคลซึ่งเป็นจำนวนประมาณสองในสามของภาพในหอศิลป์เจ็นทิลิ, ออกัสโต; บาร์แชม, วิลเลียม & ไวท์ลีย์, ลินดา (ค.ศ. 2000).

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและหอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน) · ดูเพิ่มเติม »

หอศิลป์แห่งชาติ (วอชิงตัน ดี.ซี.)

National Gallery of Art หอศิลป์แห่งชาติ (ภาษาอังกฤษ: National Gallery of Art) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติที่ตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.ในประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1938 โดยรัฐสภาคองเกรส พร้อมกับกองทุนสำหรับสิ่งก่อสร้างและงานศิลปะจำนวนพอสมควรที่อุทิศโดย แอนดรู ดับเบิลยู เมลลอน (Andrew W. Mellon) และงานศิลปะที่อุทิศโดย เลสซิง เจ โรเซ็นวอลด์ (Lessing J. Rosenwald), ศิลปะอิตาลีจากแซมูเอล เฮนรี เครสส์ (Samuel Henry Kress), ประติมากรรมและจิตรกรรมอีกมากกว่า 2,000 ชิ้น, และงานพอร์ซิเลนจากโจเซฟ อี ไวด์เนอร์ (Joseph E. Widener) การอุทิศงานศิลปะเช่นนี้ทำให้หอศิลป์แห่งชาติ (วอชิงตัน ดี.ซี.) เป็นหอศิลป์ที่เป็นเจ้าของงานศิลปะที่ดีที่สุดที่หนึ่งในโลก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและหอศิลป์แห่งชาติ (วอชิงตัน ดี.ซี.) · ดูเพิ่มเติม »

หอศีลจุ่มซันโจวันนี

หอศีลจุ่มซันโจวันนี หรือ หอศีลจุ่มฟลอเรนซ์ (Battistero di San Giovanni; Florence Baptistry) เป็นหอศีลจุ่มนิกายโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี และมีฐานะเป็นไมเนอร์บาซิลิกา ตัวหอเป็นทรงแปดเหลี่ยมที่ตั้งอยู่กลางจตุรัสเดลดูโอโมตรงกันข้ามกับมหาวิหารฟลอเรนซ์และหอระฆังของจอตโต ดี บอนโดเน (หอระฆังจอตโต) หอศีลจุ่มซันโจวันนีเป็นสิ่งก่อสร้างที่เก่าที่สุดสิ่งหนึ่งของฟลอเรนซ์ที่สร้างระหว่างปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและหอศีลจุ่มซันโจวันนี · ดูเพิ่มเติม »

ออร์กัญญา

อันเดรอา ออร์ชานยา หรือเรียกสั้นๆ ว่า ออร์ชานยา (Andrea Orcagna หรือ Andrea di Cione di Arcangelo) (ราว ค.ศ. 1308 - 25 สิงหาคม ค.ศ. 1368) เป็นจิตรกร, ประติมากร และ สถาปนิกของยุคกอธิคชาวอิตาลีของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง, ฉากแท่นบูชา ออร์ชานยาเป็นลูกศิษย์ของอันเดรอา ปิซาโนและจอตโต ดี บอนโดเน น้องชายจาโคโป ดิ โชเน (Jacopo di Cione) และ นาร์โด ดิ โชเน (Nardo di Cione) ต่างก็เป็นจิตรกร ดิ โชเนมักจะทำงานจิตรกรรมร่วมกัน งานของออร์ชานยารวมทั้ง “ฉากแท่นบูชารีดีมเมอร์” Orcagna's works include the "Altarpiece of the Redeemer" (ค.ศ. 1354-ค.ศ. 1357) ภายในชาเปลสโตรซซิภายในบาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลา และแท่นบูชาที่วัดออร์ซันมิเคเล (เสร็จ ค.ศ. 1359) ที่ถือกันว่าเป็น “งานชิ้นที่สมบูรณ์ที่สุดของงานกอธิคอิตาลี” จิตรกรรมฝาผนัง “ชัยชนะของความตาย” ที่เป็นแรงบันดาลใจให้แก่งานคีตกรรมชิ้นเอกของฟรานซ์ ลิซท์ “ระบำมรณะ” (Totentanz) ในบรรดาลูกศิษย์ของออร์ชานยาก็ได้แก่เนลโล ดิ วันนิ (Nello di Vanni) จิตรกรชาวปิซาของคริสต์ศตวรรษที่ 14 ผู้ที่มีงานเขียนที่แคมโปซานโตด้วย บางแหล่งก็ให้ความเห็นว่าเนลโลเป็นคนคนเดียวกับแบร์นาร์โด เนลโลหรือจิโอวานนิ ฟาลโคเน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและออร์กัญญา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรวิจิตร

อักษรวิจิตรภาษาจีนจากสมัยราชวงศ์ซ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 11 อักษรวิจิตรจากไบเบิลภาษาละติน ค.ศ. 1407 อักษรวิจิตร (calligraphy) เป็นทัศนศิลป์ชนิดหนึ่ง มักจะเรียกว่าศิลปะของการเขียน ความหมายในทางปฏิบัติคือ “ศิลปะแห่งการให้รูปแบบเพื่อแสดงถึงลักษณะความหมาย ความกลมกลืน และความชำนาญ” ประวัติของการเขียนอักษรวิจิตรเป็นประวัติของการพัฒนาที่มาจากความสามารถทางเทคนิค ความรวดเร็วในการเขียน ความจำกัดของวัตถุที่ใช้ สถานที่ที่ทำการเขียน และเวลาที่เขียน ลักษณะของการเขียนเช่นนี้เรียกว่า script, hand หรือ alphabet คำว่า calligraphy มาจากภาษากรีก κάλλος (kallos.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอักษรวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบร็ชท์ ดือเรอร์

หมือนตนเอง” ค.ศ. 1500 เมื่ออายุยี่สิบแปดปี อัลเบร็ชท์ ดือเรอร์ (Albrecht Dürer; 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2014 - 6 เมษายน พ.ศ. 2071)Mueller, Peter O. (1993) Substantiv-Derivation in Den Schriften Albrecht Durers, Walter de Gruyter.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอัลเบร็ชท์ ดือเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเทอพีนาโคเทค

อัลเทอพีนาโคเทค (Alte Pinakothek, "พิพิธภัณฑ์ศิลปะเก่า") เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่ตั้งอยู่ที่คุนสท์อาเรอาล เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี "อัลเทอพีนาโคเทค" ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1836 พิพิธภัณฑ์เดิมเป็นพิพิธภัณฑ์ที่เก่าที่สุดแห่งหนึ่งในโลกที่เป็นหนึ่งในสามพิพิธภัณฑ์ของกลุ่มพีนาโคเทค (Pinakothek) ได้แก่ "น็อยเออพีนาโคเทค" (Neue Pinakothek, "พิพิธภัณฑ์ศิลปะใหม่") ที่แสดงงานสะสมงานที่สร้างตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 และ "พีนาโคเทคเดอร์โมแดร์เนอ" (Pinakothek der Moderne, "พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่") ที่แสดงงานสะสมศิลปะสมัยใหม่ ทั้งสามพิพิธภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของ "คุนสท์อาเรอาล" (Kunstareal) หรือบริเวณพิพิธภัณฑ์ของมิวนิก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอัลเทอพีนาโคเทค · ดูเพิ่มเติม »

อันโตน ฟัน ไดก์

"ภาพเหมือนกับดอกทานตะวัน" แสดงให้เห็นเหรียญที่พระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระราชทานเมื่อ ค.ศ. 1633 ดอกทานตะวันอาจจะเป็นสัญลักษณ์ของพระเจ้าแผ่นดิน หรือการอุปถัมภ์หลวงSo Ellis Waterhouse (as refs below). But Levey (refs below) suggests that either van Dyck is the sun to which the sun-flower (of popular acclaim?) turns its face, or that it is the face of the King, on the medal he holds, as presented by van Dyck to the world ภาพเหมือนของครอบครัวโลเมลลี (Lomelli family) ค.ศ. 1623 ภาพเหมือนของลอร์ดจอห์น สจวต และน้องชายลอร์ดเบอร์นาร์ด สจวต--ลักษณะที่ผู้เป็นแบบมีเป็นความกันเองมากขึ้นที่ฟัน ไดก์มาวิวัฒนาการในอังกฤษ, ประมาณ ค.ศ. 1638 พระเจ้าชาลส์ที่ 1 (ราว ค.ศ. 1635) อันโตน ฟัน ไดก์ (Antoon van Dyck, Antoon van Dijck) หรือ แอนโทนี แวน ไดก์ (Anthony van Dyck; 22 มีนาคม ค.ศ. 1599 – 9 ธันวาคม ค.ศ. 1641) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาชาวเฟลมมิชซึ่งมาเป็นจิตรกรคนสำคัญประจำราชสำนักพระเจ้าชาลส์ที่ 1ที่อังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญในการเขียนภาพสีน้ำมัน โดยเฉพาะภาพเหมือน ภาพเขียนที่มีชื่อเสียงของฟัน ไดก์เป็นภาพเหมือนของพระเจ้าชาลส์ที่ 1 และครอบครัวซึ่งวางท่าลักษณะสบายแต่สง่าแบบที่กลายมาเป็นแบบที่ใช้ในการเขียนภาพเหมือนต่อมาในอังกฤษเป็นเวลาราว 150 ปี นอกจากภาพเหมือนแล้ว ฟัน ไดก์ยังเขียนภาพจากพระคัมภีร์และตำนานเทพ และเป็นจิตรกรคนสำคัญผู้ริเริ่มใช้สีน้ำและกลวิธีพิมพ์กัดกรด (etching).

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอันโตน ฟัน ไดก์ · ดูเพิ่มเติม »

อันเจลิคา คอฟมันน์

อันเจลิคา คอฟมันน์ (Angelica Kauffmann) (30 ตุลาคม ค.ศ. 1741 - 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1807) เป็นจิตรกรชาวสวิส-ออสเตรียของสมัยฟื้นฟูคลาสสิกของคริสต์ศตวรรษที่ 18 อันเจลิคา คอฟมันน์ผู้เกิดในประเทศสวิตเซอร์แลนด์แต่ไปเติบโตขึ้นในประเทศออสเตรียเป็นบุตรีของโยเซฟ โยฮันน์ คอฟมันน์ผู้มีฐานะไม่ค่อยดีนักแต่เป็นช่างเขียนผู้มีความชำนาญงานและมักจะเดินทางไปตามที่ได้รับการว่าจ้างเขียน และเป็นผู้ประสบความสำเร็จในการสอนบุตรีให้เป็นจิตรกร อันเจลิคามีพรสวรรค์ในการพูดภาษาต่างๆ ได้หลายภาษาตามมารดาเคลโอเฟีย ลุทซ์ และเป็นนักอ่านและเป็นนักดนตรีผู้มีความสามารถ แต่ความสามารถของอันเจลิคาอยู่ที่การเขียนภาพ และเริ่มมีชื่อเสียงตั้งแต่ยังมีอายุไม่มากเท่าใดนัก โดยมีนักบวชและผู้มีตระกูลเป็นแบบให้ ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอันเจลิคา คอฟมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

อันเดรอา มันเตญญา

“The Agony in the Garden” (ค.ศ. 1455) พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ, ลอนดอน, อังกฤษ เป็นลักษณะงานสมัยต้นของมานเทนยา อันเดรีย มานเทนยา (ภาษาอังกฤษ: Andrea Mantegna) (ราว ค.ศ. 1431 - 13 กันยายน ค.ศ. 1506) เป็นจิตรกรสมัยเรอเนซองส์ของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน มานเทนยาเป็นนักศึกษาโบราณคดีโรมัน เป็นลูกเขยของ จาคโคโป เบลลินี และพี่เขยของจิโอวานนี เบลลินี มานเทนยาก็เช่นกันกับศิลปินรุ่นเดียวกันที่ทดลองวิธีต่างๆในการเขียนแบบทัศนียภาพ เช่นลดระดับขอบฟ้าให้ต่ำลงเพื่อทำให้สิ่งที่อยู่ในภาพดูใหญ่ขึ้น ภาพของมานเทนยาจะมีลักษณะแข็ง และ เหมือนรูปทำจากหินทำให้เห็นว่ามานเทนยาเขียนภาพจากมุมมองของรูปสลัก ก่อนปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอันเดรอา มันเตญญา · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี

อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 43 (Archbishop of Canterbury) เป็นอัครมุขนายกและผู้นำหลักของคริสตจักรแห่งอังกฤษ เป็นประมุขเชิงสัญลักษณ์ของแองกลิคันคอมมิวเนียนทั่วโลกและบิชอปประจำมุขมณฑลแคนเทอร์เบอรี อัครมุขนายกแห่งแคนเทอร์เบอรีคนปัจจุบันคือศาสนาจารย์จัสติน เวลบี (Justin Welby) เป็นอัครมุขนายกคนที่ 105 ซึ่งสืบตำแหน่งที่ตกทอดมากว่า 1400 ปีจากนักบุญออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรีผู้ก่อตั้งคริสตจักรโรมันคาทอลิกในอังกฤษในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี · ดูเพิ่มเติม »

อาร์นอลด์ เบิคคลิน

อาร์นอลด์ เบิคคลิน (Arnold Böcklin) (16 ตุลาคม ค.ศ. 1827 - 16 มกราคม ค.ศ. 1901) เป็นจิตรกรชาวสวิสของตระกูลการเขียนแบบสัญลักษณ์นิยมของคริสต์ศตวรรษที่ 19 เบิคคลินเริ่มการศึกษาที่ดึสเซลดอร์ฟที่ได้ทำความรู้จักกับลุดวิก อันเดรียส์ ฟอยเออร์บาค เดิมเบิคคลินเป็นจิตรกรภูมิทัศน์ การเดินทางไปบรัสเซลส์, ซูริค, เจนีวา และ โรมทำให้ได้เห็นงานเขียนของสมัยคลาสสิกและสมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยา และทิวทัศน์เมดิเตอเรเนียน อิทธิพลใหม่นี้ทำให้เบิคคลินเริ่มใช้อุปมานิทัศน์และตัวแบบลึกลับในองค์ประกอบของภาพเขียน ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอาร์นอลด์ เบิคคลิน · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เตมีเซีย เจนตีเลสกี

“ภาพเหมือนตนเอง” (ราว ค.ศ. 1630) อาร์เทมิเซีย เจ็นทิเลสชิ (ภาษาอังกฤษ: Artemisia Gentileschi) (8 กรกฎาคม ค.ศ. 1593 - ค.ศ. 1651/1653) เป็นจิตรกรบาโรกสมัยต้นของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 17 อาร์เทมิเซียเกิดที่กรุงโรมและเสียชีวิตที่เนเปิลส์มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน อาร์เทมิเซียเป็นจิตรกรคนสำคัญคนหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลจากคาราวัจโจ และเป็นจิตรกรในสมัยที่ผู้หญิงยังไม่เป็นที่ยอมรับกันในกลุ่มนักเขียนภาพ อาร์เทมิเซียเป็นจิตรกรหญิงคนแรกที่ได้เป็นสมาชิกของสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งฟลอเรนซ์ (Accademia di Belle Arti Firenze) และเป็นสตรีคนแรกที่เขียนภาพเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และศาสนาในสมัยที่หัวข้อเช่นนี้เชื่อกันว่าเป็นสิ่งที่เกินกว่าผู้หญิงจะเข้าใจได้.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอาร์เตมีเซีย เจนตีเลสกี · ดูเพิ่มเติม »

อาดัม คราฟท์

อาดัม คราฟท์ (Adam Kraft หรือ Adam Krafft) (ราว ค.ศ. 1455 - มกราคม ค.ศ. 1509) เป็นประติมากรและมาสเตอร์ช่างก่อสร้างชาวเยอรมันของสมัยกอธิคของคริสต์ศตวรรษที่ 15 คราฟท์เกิดและเติบโตขึ้นที่เนือร์นแบร์กในประเทศเยอรมนี เป็นที่ทราบกันว่าเมื่อยังหนุ่มคราฟท์ได้มีโอกาสเดินทางไปอุล์ม และ สตราสบวร์ก และเชื่อกันว่าสมรสสองครั้งแต่ไม่ทราบว่ามีบุตรธิดาหรือไม่ งานชิ้นเอกของคราฟท์คืองานแกะแท่น (tabernacle) ที่สูงราว 18.7 เมตรสำหรับวัดเซนต์ลอเร็นซ์ในเนือร์นแบร์ก งานแกะรองรับด้วยตัวแบบสี่ตัวได้รับการบูรณะหลังจากที่ได้รับความเสียหายระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ผู้รองรับคนหนึ่งคือภาพเหมือนของคราฟท์เอง เชื่อกันว่าคราฟท์ทำงานแกะทั้งหมดในเนือร์นแบร์กและในบริเวณบาวาเรียระหว่าง..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอาดัม คราฟท์ · ดูเพิ่มเติม »

อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์

อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์ (Adélaïde Labille-Guiard; 11 เมษายน ค.ศ. 1749 - 24 เมษายน ค.ศ. 1803) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพขนาดเล็ก (minaturist) และภาพเหมือน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิสราเฮล ฟาน เม็คเคอเน็ม

อิสราเฮล ฟาน เม็คเคอเน็ม (Israhel van Meckenem) (ราว ค.ศ. 1445 - ค.ศ. 1503) เป็นช่างแกะพิมพ์ชาวเยอรมันผู้มีผลงานจำนวนมากในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการพิมพ์ภาพพิมพ์ของจิตรกรชั้นครู ฟาน เม็คเคอเน็มเริ่มงานอาชีพตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอิสราเฮล ฟาน เม็คเคอเน็ม · ดูเพิ่มเติม »

อุมแบร์โต บอชโชนี

อุมแบร์โต บ็อชชิโอนี (Umberto Boccioni) (19 ตุลาคม ค.ศ. 1882 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1916) เป็นจิตรกรและประติมากรชาวอิตาลีของขบวนการอนาคตนิยมของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 งานของบ็อชชิโอนีแสดงถึงความเคลื่อนไหว (dynamism), ความรวดเร็ว และ เทคโนโลยี.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอุมแบร์โต บอชโชนี · ดูเพิ่มเติม »

อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน)

อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ภาษาอังกฤษ: Allegory of Prudence) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยทิเชียนจิตรกรสมัยเรอเนซองส์คนสำคัญชาวอิตาลี ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์แห่งชาติใน กรุงลอนดอนในอังกฤษ ทิเชียนเขียนภาพ “อุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ” ระหว่างปี ค.ศ. 1565 ถึงปี ค.ศ. 1570 เป็นภาพศีรษะชายสามศีรษะหันหน้ากันไปสามทางเหนือสัตว์สามชนิด จากซ้ายเป็นหมาป่า, สิงห์โต และหมา ศีรษะชายสามคนเป็นอุปมานิทัศน์หรือสัญลักษณ์ของ “ชีวิตสามช่วงของมนุษย์” (ความเป็นหนุ่ม, ความเป็นผู้ใหญ่ และ ความมีอายุ) ซึ่งคล้ายกับการวางท่าของสฟิงซ์และต่อมาบรรยายโดยอริสโตเติล ใบหน้าของแบบเชื่อกันว่าเป็นภาพของทิเชียนเอง, โอราซิโอลูกชาย และหลานมาร์โค เวเชลลิโอซึ่งเช่นเดียวกับโอซาริโอ ทั้งสองคนพำนักและทำงานอยู่กับทิเชียน ทิเชียนเขียนภาพเหมือนตนเองอีกภาพหนึ่งในปี ค.ศ. 1567 ซึ่งใช้เป็นภาพที่ใช้เปรียบเทียบความคล้ายคลึงของทิเชียนกับภาพนี้ นอกจากนั้นใบหน้านี้ยังปรากฏในภาพเขียนของทิเชียนในสมัยเดียวกันอีกหลายภาพ ภาพนี้เป็นภาพเดียวที่ทิเชียนเขียนคำขวัญ: “EX PRAETERITO/PRAESENS PRUDENTER AGIT/NE FUTURA ACTIONẼ DETURPET” (จาก(ประสบการณ์ใน)อดีต, ปฏิบัติอย่างรอบคอบในปัจจุบัน, ไม่ทำลายอนาคต) เออร์วิน พานอฟสกีตีความหมายในความสัมพันธ์ของใบหน้าทั้งสามในภาพเขียนว่าเมื่อทิเชียนได้รับความสำเร็จในปี ค.ศ. 1569 ในการที่สามารถโอนใบ “Senseria” ซึ่งเป็นใบลิขสิทธิ์ที่ได้รับจากซินยอเรีย (Signoria) ให้แก่ลูกชายได้ ฉะนั้นทิเชียนจึงกลายเป็นอดีต, โอราซิโอเป็นสัญลักษณ์ของปัจจุบัน และ ความไม่มีหลาน, มาร์โคจึงเป็นสัญลักษณ์ของอนาคต.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอุปมานิทัศน์ของความรอบคอบ (ทิเชียน) · ดูเพิ่มเติม »

อีกอน ชีเลอ

อีกอน ชีเลอ (Egon Schiele) (12 มิถุนายน ค.ศ. 1890 - 31 ตุลาคม ค.ศ. 1918) เป็นจิตรกรชาวออสเตรียผู้ได้รับอิทธิพลจากกุสตาฟ คลิมต์ ชีเลอเป็นจิตรกรเขียนภาพคน (figurative painter) คนสำคัญของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สิ่งที่เด่นของงานของชีเลอคือความเข้มข้น (intensity) และงานเขียนภาพเหมือนตนเองหลายภาพที่เขียนขึ้น ร่างที่บิดเบือนและเส้นที่แสดงออกทางอารมณ์เป็นลักษณะของงานเขียน และ งานวาดเส้นของชีเลอทำให้เป็นจิตรกรคนแรกๆ ของลัทธิเอ็กซเปรสชันนิสม์แม้ว่าจะยังคงมีความเกี่ยวข้องกับขบวนการอาร์ตนูโวเป็นอย่างมากก็ตาม.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอีกอน ชีเลอ · ดูเพิ่มเติม »

อียิปต์โบราณ

มมฟิสและสุสานโบราณ อียิปต์โบราณ หรือ ไอยคุปต์ เป็นหนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ตั้งแต่ตอนกลางจนถึงปากแม่น้ำไนล์ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของประเทศอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์โบราณเริ่มขึ้นประมาณ 3150 ปีก่อนคริตศักราช โดยการรวมอำนาจทางการเมืองของอียิปต์ตอนเหนือและตอนใต้ ภายใต้ฟาโรห์องค์แรกแห่งอียิปต์ และมีการพัฒนาอารยธรรมเรื่อยมากว่า 5,000 ปี ประวัติของอียิปต์โบราณปรากฏขึ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า "ราชอาณาจักร" มีการแบ่งยุคสมัยของอียิปต์โบราณเป็นราชอาณาจักร ส่วนมากแบ่งตามราชวงศ์ที่ขึ้นมาปกครอง จนกระทั่งราชอาณาจักรสุดท้าย หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "ราชอาณาจักรกลาง" อารยธรรมอียิปต์อยู่ในช่วงที่มีการพัฒนาที่ยมาก และส่วนมากลดลง ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันที่อียิปต์ชนพ่ายต่อการทำสงครามจากชาติอื่น ดังเช่นชาวอัสซีเรียและเปอร์เซีย จนกระทั่งเมื่อ 332 ปีก่อนคริสตศักราช ก็เป็นการสิ้นสุดอารยธรรมอียิปต์โบราณลง เมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชสามารถยึดครองอียิปต์ และจัดอียิปต์เป็นเพียงจังหวัดหนึ่งในจักรวรรดิมาซิโดเนีย อารยธรรมอียิปต์พัฒนาการมาจากสภาพของลุ่มแม่น้ำไนล์ การควบคุมระบบชลประทาน, การควบคุมการผลิตพืชผลทางการเกษตร พร้อมกับพัฒนาอารยธรรมทางสังคม และวัฒนธรรม พื้นที่ของอียิปต์นั้นล้อมรอบด้วยทะเลทรายเสมือนปราการป้องกันการรุกรานจากศัตรูภายนอก นอกจากนี้ยังมีการทำเหมืองแร่ และอียิปต์ยังเป็นชนชาติแรกๆที่มีการพัฒนาการด้วยการเขียน ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้,การบริหารอียิปต์เน้นไปทางสิ่งปลูกสร้าง และการเกษตรกรรม พร้อมกันนั้นก็มีการพัฒนาการทางทหารของอียิปต์ที่เสริมสร้างความแข็งแกร่งแก่ราชอาณาจักร โดยประชาชนจะให้ความเคารพกษัตริย์หรือฟาโรห์เสมือนหนึ่งเทพเจ้า ฟาโรห์มีอำนาจและโหดร้ายมาก ทำให้การบริหารราชการบ้านเมืองและการควบคุมอำนาจนั้นทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ชาวอียิปต์โบราณไม่ได้เป็นเพียงแต่นักเกษตรกรรม และนักสร้างสรรค์อารยธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นนักคิด, นักปรัชญา ได้มาซึ่งความรู้ในศาสตร์ต่างๆมากมายตลอดการพัฒนาอารยธรรมกว่า 4,000 ปี ทั้งในด้านคณิตศาสตร์, เทคนิคการสร้างพีระมิด, วัด, โอเบลิสก์, ตัวอักษร และเทคนิคโลยีด้านกระจก นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาประสิทธิภาพทางด้านการแพทย์, ระบบชลประทานและการเกษตรกรรม อียิปต์ทิ้งมรดกสุดท้ายแก่อนุชนรุ่นหลังไว้คือศิลปะ และสถาปัตยกรรม ซึ่งถูกคัดลอกนำไปใช้ทั่วโลก อนุสรณ์สถานที่ต่างๆในอียิปต์ต่างดึงดูดนักท่องเที่ยว นักประพันธ์กว่าหลายศตวรรษที่ผ่านมา ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุใหม่ๆในอียิปต์มากมายซึ่งกำลังตรวจสอบถึงประวัติความเป็นมา เพื่อเป็นหลักฐานให้แก่อารยธรรมอียิปต์ และเป็นหลักฐานแก่อารยธรรมของโลกต่อไป.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอียิปต์โบราณ · ดูเพิ่มเติม »

อ็องรี มาติส

อ็องรี เอมีล เบอนัว มาติส (Henri-Émile-Benoît Matisse) (31 ธันวาคม ค.ศ. 1869 – 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954) เป็นจิตรกร ประติมากร และช่างพิมพ์ ชาวฝรั่งเศส ถือกันว่าเขามีฐานะเป็นหัวหน้าและคนที่สำคัญที่สุดของกลุ่มคติโฟวิสต์ ผลงานการวาดรูปของเขาจะโดดเด่นในการที่ใช้สีสันตัดกันอย่างลื่นไหลลงตัว.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอ็องรี มาติส · ดูเพิ่มเติม »

อ็องรี รูโซ

อ็องรี ฌูว์เลียง เฟลิกซ์ รูโซ (Henri Julien Félix Rousseau; 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 - 2 กันยายน ค.ศ. 1910) at the Guggenhiem เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของสมัยอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีลักษณะการเขียนแบบศิลปะนาอีฟ (Naïve art) และ แบบบรรพกาลนิยม (Primitivism) รูโซเป็นที่รู้จักกันว่า “Le Douanier” (เจ้าหน้าที่ศุลกากร) ตามหน้าที่การงาน ระหว่างที่มีชีวิตอยู่รูโซก็ถูกเย้ยหยัน แต่ต่อมาก็เป็นที่นับถือในการที่เป็นผู้สอนตนเองผู้เป็นอัจฉริยะผู้เขียนภาพที่มีคุณภาพสูง pages 7 & 8.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอ็องรี รูโซ · ดูเพิ่มเติม »

อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก

อ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก “ลากูลู (หลุยส์ เวเบ) มาถึงมูแล็งรูฌ” (La Goulue arriving at the Moulin Rouge) (ค.ศ. 1892) อ็องรี มารี แรมง เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก-มงฟา (Henri Marie Raymond de Toulouse-Lautrec-Monfa; 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1864 - 9 กันยายน ค.ศ. 1901) เป็นจิตรกร ช่างพิมพ์ ช่างเขียนแบบ และอิลลัสเตรเตอร์ (Illustrator) สมัยอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลังคนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนโปสเตอร์ของชีวิตผู้คนในบริเวณมงมาตร์ และผู้ชอบใช้ชีวิตในวงการของความฟุ้งเฟ้อและโรงละครในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษ (fin de siècle) ของปารี.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและอ็องรี เดอ ตูลูซ-โลแทร็ก · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก-หลุยส์ ดาวีด

ัก-หลุยส์ ดาวีด ฌัก-หลุยส์ ดาวีด (Jacques-Louis David; 30 สิงหาคม ค.ศ. 1748 - 29 ธันวาคม ค.ศ. 1825) เป็นศิลปินในยุคนีโอคลาสสิก ที่มีชื่อเสียงในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสและยังเป็นจิตรกรในจักรพรรดินโปเลียนที่ 1.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฌัก-หลุยส์ ดาวีด · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง ฟูแก

็อง ฟูแก (Jean Fouquet) หรือ เฌออ็อง ฟูแก (Jehan Fouquet; ค.ศ. 1420 - ค.ศ. 1481) เป็นจิตรกรคนสำค้ญของฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความสำคัญทั้งการเขียนภาพบนแผ่นไม้และการเขียนภาพสำหรับ หนังสือวิจิตร (Illuminated manuscript) และเป็นผู้เริ่มการวาดภาพเหมือนแบบจุลจิตรกรรม (Miniature).

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฌ็อง ฟูแก · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็ง

็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็ง (Jean-Baptiste-Siméon Chardin; 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1699 - 6 ธันวาคม ค.ศ. 1779) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพนิ่ง ชาร์แด็งผู้เกิดและใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในในปารีสเป็นบุตรของช่างทำตู้ ชาร์แด็งพำนักอยู่ที่เลฟต์แบงก์จนกระทั่งปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฌ็อง-บาติสต์-ซีเมอง ชาร์แด็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฟร็องซัว มีแล

็อง-ฟร็องซัว มีแล (Jean-François Millet; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1814 - 20 มกราคม ค.ศ. 1875) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศส ผู้เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งตระกูลการเขียนบาร์บิซอง (Barbizon school) ในชนบทฝรั่งเศส มีแลมีชื่อเสียงในการเขียนภาพชาวนา มีแลอาจจะจัดอยู่ในขบวนการธรรมชาตินิยมและสัจนิยม.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฌ็อง-ฟร็องซัว มีแล · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์

็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์ (Jean-Honoré Fragonard; 5 เมษายน ค.ศ. 1732 (birth/baptism certificate) - 22 สิงหาคม ค.ศ. 1806) เป็นจิตรกรรมสมัยบาโรกชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีลักษณะงานที่มีชีวิตชีวา และออกไปในเชิงสุขารมณ์นิยม (hedonism) ฟรากอนาร์เป็นจิตรกรที่มีความสามารถดีเด่นของปลาย สมัยอ็องเซียงเรฌีม ผู้มีผลงานกว่า 550 ภาพที่ไม่รวมงานวาดเส้นและงานแกะพิมพ์ แต่เพียงห้าชิ้นเท่านั้นที่ระบุเวลาเขียนที่แน่นอน ในบรรดาภาพเขียน ภาพชีวิตประจำวันเป็นประเภทการเขียนที่มีชื่อเสียงที่สุด ที่ฟรากอนาร์สื่อบรรยากาศของความใกล้ชิดและเชิงความดึงดูดทางเพศ (eroticism).

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและฌ็อง-ออนอเร ฟรากอนาร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจ วาซารี

อร์โจ วาซารี (Giorgio Vasari) (30 กรกฎาคม ค.ศ. 1511 - 27 มิถุนายน ค.ศ. 1574) เป็นสถาปนิกและจิตรกรชาวอิตาลี ผลงานที่ทำให้เขามีชื่อเสียงมากที่สุดคืองานบันทึก ประวัติชีวิตและงานของศิลปินอิตาลีก่อนหน้าและร่วมสมัยในชื่อ “ชีวิตจิตรกร, ประติมากร, และสถาปนิกผู้ดีเด่น” (หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ชีวิตศิลปิน” (The Vite)) ซึ่งเป็นงานที่ยังมีการอ้างอิงกันในการเขียนประวัติชีวิตศิลปินหรือการวิจัยจิตรกรรมและประติมากรรมกันอยู่จนทุกวันนี้.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจอร์โจ วาซารี · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจเน

“ภาพเหมือนตนเอง?” (ราว ค.ศ. 1500-1510) “ลอรา” (ค.ศ. 1506) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์, เวียนนา จอร์โจเน (ภาษาอังกฤษ: Giorgione หรือ Giorgio Barbarelli da Castelfranco) (ราว ค.ศ. 1477 - ค.ศ. 1510) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของเวนิสในประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 16 มีชื่อเสียงว่าเขียนภาพอย่างมีอรรถรส (elusive poetic quality) ทั้งๆ ที่มีภาพที่เป็นที่ทราบแน่นอนว่าเขียนโดยจอร์โจเนเพียงประมาณ 6 ภาพไม่นับภาพอื่นที่สันนิษฐานว่าเขียนโดยจอร์โจเนด้วย เพราะความที่ไม่ทราบว่าเป็นใครแน่และความหมายของภาพเขียนจึงทำให้งานเขียนของจอร์โจเนเป็นงานที่ยังลึกลับต่อการตีความหมายที่สุดในบรรดางานจิตรกรรมตะวันตก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจอร์โจเน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น คอนสตาเบิล

อห์น คอนสตาเบิล (John Constable) (11 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 - 31 มีนาคม ค.ศ. 1837) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษของยุคจินตนิยมของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงจากเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ของบริเวณเดแดมเวลซึ่งเป็นบริเวณที่มีทิวทัศน์งดงามที่ตั้งอยู่ระหว่างเอสเซ็กซ์-ซัฟโฟล์ค ที่ปัจจุบันเรียกว่า “Constable Country” ด้วยทั้งใจรัก คอนสตาเบิลเขียนถึงจอห์น ฟิชเชอร์ผู้เป็นเพื่อนในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจอห์น คอนสตาเบิล · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์

อห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ (ภาษาอังกฤษ: John Singer Sargent) (12 มกราคม ค.ศ. 1856 - 14 เมษายน ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพภูมิทัศน์, ภาพเหมือน และ การใช้สีน้ำ ซาร์เจนท์เกิดที่ฟลอเรนซ์ ที่ประเทศอิตาลี บิดามารดาเป็นชาวอเมริกัน ซาร์เจนท์ศึกษาที่อิตาลีและเยอรมนี ต่อมาที่ปารีสกับอีมิล โอกุสต์ คาโรลุส-ดูแรง (Emile Auguste Carolus-Duran) ในชีวิตซาร์เจนท์เขียนจิตรกรรมสีน้ำมันด้วยกันทั้งสิ้นราว 900 ภาพ และอีก 2,000 ภาพเขียนด้วยสีน้ำ นอกจากนั้นก็ยังมีงานเขียนภาพร่าง และภาพวาดลายเส้นด้วยถ่านอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ · ดูเพิ่มเติม »

จอตโต ดี บอนโดเน

อตโต ดี บอนโดเน จอตโต ดี บอนโดเน (Giotto di Bondone) (ค.ศ. 1267 – 8 มกราคม ค.ศ. 1337), เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในนาม จอตโต (Giotto), เป็นสถาปนิกและจิตรกรชาวอิตาลี จากเมืองฟลอเรนซ์ ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้มีส่วนสร้างสรรค์ผลงาน ที่ก่อให้เกิดกระแสใหม่ในสังคมที่นำไปสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ในที่สุด จอตโต ดี บอนโดเนเป็นจิตรกรร่วมสมัยกับจิโอวานนี วิลลานิผู้กล่าวว่าจอตโตเป็นช่างผู้มีความสามารถที่สุดในสมัยนั้น เป็นผู้วาดภาพตามกฎของธรรมชาติ และจอตโตได้รับเงินเดีอนจากรัฐบาลเมืองฟลอเรนซ์เนื่องมาจากความสามารถBartlett, Kenneth R. (1992).

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจอตโต ดี บอนโดเน · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรชั้นครู

วีนัสหลับ” (ราว ค.ศ. 1510) โดย จอร์โจเนที่หอจิตรกรชั้นครูแห่งเดรสเดน จิตรกรรมที่เขียน ราว ค.ศ. 1440 ที่ไม่ทราบนามจิตรกรที่ได้รับการระบุว่าเป็นงาน “ไม่ทราบนามครูบา” จิตรกรชั้นครู (Old Master) เป็นคำที่ใช้เรียกภาพเขียนที่เป็นงานเขียนของจิตรกรที่ถือกันว่าเป็นจิตรกรชั้นครู ผู้มีงานเขียนก่อราวปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจิตรกรชั้นครู · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ. 1968 (470 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จิตรกรรมฝาผนังจากอจันตา (Ajanta) คริสต์ศตวรรษที่ 6 จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100 จิตรกรรมฝาผนัง (ภาษาอังกฤษ: Mural painting) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน เทคนิคที่นิยมกัน คือ การวาดภาพบนผนังปูนปลาสเตอร์เปียก (fresco) โดยที่คำว่า “fresco” มาจากภาษาอิตาลี “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจิตรกรรมฝาผนัง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสีน้ำมัน

"โมนาลิซา" โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ราว ค.ศ. 1503-1506 จิตรกรรมสีน้ำมัน หรือ ภาพเขียนสีน้ำมัน (oil painting) คือการเขียนภาพโดยใช้สีฝุ่นที่ผสมกับน้ำมันแห้ง (drying oil) — โดยเฉพาะในตอนต้นของยุโรปสมัยใหม่, น้ำมันลินสีด (linseed oil) ตามปกติแล้วก็จะต้มน้ำมันเช่นลินสีดกับยางสนหรือยางสนหอม (frankincense) ส่วนผสมนี้เรียกว่า "น้ำมันเคลือบ" (varnish) ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ภาพเขียนมีความหนาและเป็นเงา น้ำมันอื่นที่ใช้ก็มีน้ำมันเม็ดฝิ่น, น้ำมันวอลนัต, และน้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันแต่ละอย่างก็มีคุณภาพต่าง ๆ กัน เช่นอาจจะทำให้สืเหลืองน้อยลง หรือใช้เวลาแห้งไม่เท่ากัน บางครั้งก็จะเห็นความแตกต่างจากเงาของภาพเขียนแล้วแต่ชนิดของน้ำมัน จิตรกรจะใช้น้ำมันหลายชนิดในภาพเขียนเดียวกันเพื่อให้ได้ลักษณะของภาพเขียนออกมาตามที่ต้องการ การแสดงออกของสีก็จะต่างกันตามแต่วัสดุที่ใช้เขียน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจิตรกรรมสีน้ำมัน · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมประวัติศาสตร์

“วันสุดท้ายของปอมเปอี” (ค.ศ. 1833) เป็นตัวอย่างที่ดีของภาพเขียนประวัติศาสตร์ จิตรกรรมประวัติศาสตร์ (History painting) เริ่มเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ ค.ศ. 1667 โดยอันเดร เฟลิเบียน (André Félibien) จิตกรประวัติศาสตร์, สถาปนิก, นักทฤษฎีคลาสสิกซิสม์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นลักษณะที่ระบบ “การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ” (Hierarchy of genres) ถือว่าเป็นประเภทการเขียนภาพที่มีคุณค่าสูงที่สุดในบรรดาการเขียนภาพประเภทต่าง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจิตรกรรมประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมแผง

"ฉากแท่นบูชาเกนต์" โดยยัน ฟัน ไอก์ และพี่ชาย, ค.ศ. 1432. ฉากแท่นบูชา (altarpiece) บนแผ่นไม้ เขียนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง จิตรกรรมแผง (panel painting) คือการเขียนภาพบนแผ่นไม้ อาจจะเป็นแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นเชื่อมต่อกันเป็นเนื้อเดียว ซึ่งแตกต่างกับบานพับภาพที่จะแยกจากกัน (บานพับภาพ มักรวมเรียกเป็นส่วนหนึ่งของจิตรกรรมแผง) แผ่นไม้ใช้เป็นพื้นสำหรับวาดภาพจนกระทั่งถูกแทนที่ด้วยผ้าใบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นอกเหนือไปจากการวาดบนผนัง หรือบนหนังสัตว์ ซี่งวัสดุชนิดหลังนี้นิยมใช้ในการวาดหนังสือวิจิตร หรือเขียนภาพสำหรับใส่กรอ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจิตรกรรมแผง · ดูเพิ่มเติม »

จุลจิตรกรรมภาพเหมือน

ันส์ โฮลไบน์ ราว ค.ศ. 1540 จุลจิตรกรรมภาพเหมือน (Portrait miniature) คือภาพเหมือนขนาดจิ๋วที่มักจะเขียนด้วยสีน้ำทึบหรือสีน้ำหรือเป็นกระเบื้องเคลือบ จุลจิตรกรรมภาพเหมือนที่เริ่มมารุ่งเรืองในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในยุโรปและต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 ต่อมา เป็นศิลปะอันมีค่าสำหรับการแนะนำให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลกันได้ทำความรู้จักหรือเห็นหน้าเห็นตากัน ขุนนางที่เสนอการสมรสของบุตรีอาจจะส่งภาพเหมือนของบุตรีไปกับผู้เดินสาส์นไปให้ผู้หมายปองต่างๆ หรือ ทหารหรือกะลาสีก็อาจจะพกภาพเหมือนของบุคคลผู้เป็นที่รักติดตัวไปในระหว่างการเดินทาง หรือภรรยาอาจจะมีภาพเหมือนของสามีขณะที่สามีเดินทางไปยังดินแดนอันห่างไกล จุลจิตรกรรมภาพเหมือนในสมัยแรกเป็นภาพที่เขียนด้วยสีน้ำบนหนังลูกสัตว์ (vellum) ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 การเขียนด้วยกระเบื้องเคลือบที่เหมือนแก้วบนทองแดงก็กลายมาเป็นที่นิยมกันมากขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 จุลจิตรกรรมภาพเหมือนจะเขียนด้วยสีน้ำบนงาช้าง ความที่มีขนาดเล็กราว 40 × 30 มิลลิเมตรทำให้จุลจิตรกรรมภาพเหมือนใช้เป็นของที่ระลึกส่วนตัว หรือ เป็นเครื่องประดับ หรือใช้ในการประดับฝาปิดตลับตกแต่ง การวิวัฒนาการตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ของดาแกโรไทป์และภาพถ่ายทำให้ความนิยมในการมีจุลจิตรกรรมภาพเหมือนลดน้อยลง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจุลจิตรกรรมภาพเหมือน · ดูเพิ่มเติม »

จูดิธ เลย์สเตอร์

ูดิธ เลย์สเตอร์ (Judith Jans Leijster, Judith Jans Leyster) (28 กรกฎาคม ค.ศ. 1609 - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1660) เป็นหนึ่งในสามจิตรกรสตรีคนสำคัญชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 (อีกสองคนคือราเชล รุยสช์ และ มาเรีย ฟาน อูสเตอร์วิค ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภาพนิ่งของดอกไม้) เลย์สเตอร์ถนัดทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันเป็นส่วนใหญ่ ภาพเขียนที่ระบุว่าเป็นงานของเลย์สเตอร์มีตั้งแต่ 20 จนถึง 35 ภาพ แต่จูดิธก็แทบจะเลิกเขียนภาพหลังจากการสมรสและมีบุตรธิดาห้าคน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจูดิธ เลย์สเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จูเซปเป อาร์ชิมโบลโด

ูเซปเป อาร์ชิมโบลโด (Giuseppe Arcimboldo หรือ Giuseppe Arcimboldi) (ค.ศ. 1527 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1593) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีผู้มีชื่อเสียงว่าเป็นผู้เขียนภาพเหมือนแบบมีจินตนาการเช่นเขียนเป็นภาพที่ใช้ผลไม้, ผัก, ดอกไม้, ปลา และหนังสือ ที่จัดประกอบเข้าด้วยกันจนเป็นหน้าตาที่ทราบว่าเป็นภาพเหมือนของผู้ใ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและจูเซปเป อาร์ชิมโบลโด · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส เอคินส์

ทอมัส คาวเพิร์ทเวต เอคินส์ (Thomas Cowperthwait Eakins; 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1844 - 25 มิถุนายน ค.ศ. 1916) เป็นจิตรกร ประติมากร ช่างภาพ และนักการศึกษาวิจิตรศิลป์คนสำคัญชาวอเมริกันของขบวนการสัจนิยม ทอมัส เอคินส์เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นศิลปินคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของประวัติศาสตร์ศิลป์อเมริกัน ตลอดอายุงานอาชีพตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1870 จนกระทั่งในบั้นปลาย ทอมัส เอคินส์เลือกหัวข้อที่ดึงมาจากผู้คนจากบ้านเกิดที่ฟิลาเดลเฟีย เอคินส์เขียนภาพเหมือนหลายร้อยภาพ ที่มักจะเป็นภาพของเพื่อน สมาชิกในครอบครัว หรือบุคคลสำคัญในวงการศิลปะ วิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการศาสนา เมื่อดูอย่างรวมรวมแล้วก็เป็นภาพเขียนที่สะท้อนให้เห็นถึงชีวิตของปัญญาชนของฟิลาเดลเฟียในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษ 20 แต่เมื่อพิจารณาเป็นภาพ ๆ ไปก็จะเป็นภาพของคนที่กำลังคิด นอกจากนั้นแล้วเอคินส์ก็เขียนภาพขนาดใหญ่หลายภาพที่เป็นการนำภาพเหมือนออกมาจากห้องนั่งเล่นเข้ามาในสำนักงาน ถนน อุทยาน แม่น้ำ เวที และห้องผ่าตัดของเมือง การเขียนนอกสถานที่ทำให้เอคินส์สามารถเขียนในสิ่งที่ได้รับแรงบันดาลใจมากที่สุด ภาพเปลือย หรือกึ่งเปลือยกำลังเคลื่อนไหว ในขณะเดียวกันเอคินส์ก็สามารถจัดการวางรูปทรงของตัวแบบในแสงที่จัดจ้า หรือจัดให้ดูลึกโดยใช้การศึกษาทางทัศนมติเข้าช่วย สิ่งที่สำคัญพอ ๆ กับการสร้างงานศิลปะคืองานทางด้านการเป็นนักการศึกษา ในฐานะครูเอคินส์เป็นผู้มีอิทธิพลเป็นอันมากในงานทัศนศิลป์ของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและทอมัส เอคินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ทิเชียน

“ภาพเหมือน” (ราว ค.ศ. 1488) ภาพเหมือนดยุ๊คแห่งเวนิสมาร์คานโตนิโอ เทรวิซานิ (Marcantonio Trevisani) ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่บูดาเพช ประเทศฮังการี เทพดานาเอ” (Danaë) ภาพหนึ่งจากหลายภาพจากตำนานเทพที่ทิเชียนเขียน จ้างโดยพระเจ้าฟิลลิปที่ 2 แห่งสเปนใน ค.ศ. 1554 แม้ว่าไมเคิล แอนเจโลจะติจากมุมมองของการวาดเส้นแต่ทิเชียนก็เขียนภาพนี้อีกหลายภาพให้กับผู้อุปถัมภ์อื่นๆ ทิเซียโน เวเชลลี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ทิเชียน หรือ ทิชัน (Tiziano Vecelli หรือ Tiziano Vecellio หรือ Titian.) (ค.ศ. 1485 - 27 สิงหาคม ค.ศ. 1576) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีความสำคัญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน ทิเชียนเป็นจิตรกรผู้นำของศิลปะเรอเนซองส์ของตระกูลการเขียนแบบเวนิส ทิเชียนเกิดที่พิเว ดี คาดอเร (Pieve di Cadore) ใกล้เมืองเบลลูโน ในรัฐอาณาจักรเวนิส จึงรู้จักกันในนามว่า “ดา คอเดเร” ตามเมืองเกิดด้วย ทิเชียน เป็นจิตรกรที่มีความสามารถหลายด้าน ผู้เขียนได้ทั้งภาพเหมือนและภาพภูมิทัศน์อันเป็นสองลักษณะที่ทำให้มีชื่อเสียง และการเขียนตำนานเทพ และศิลปะคริสต์ศาสนา ถ้าทิเชียนเสียชีวิตเมื่ออายุได้เพียง 40 ปีก็ยังถือเป็นจิตรกรที่มีอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งในสมัยนั้น แต่ทิเชียนก็อยู่ต่อมาอีก 50 ปีในขณะที่เปลี่ยนแปลงวิธีเขียนภาพจากเดิมไปเป็นอย่างมาก นักวิจารณ์บางคนไม่เชื่อว่างานที่สร้างเมื่อสมัยต้นและสมัยปลายของทิเชียนเป็นงานของจิตรกรคนเดียวกัน ลักษณะที่ทำให้ทราบว่าเป็นคนเดียวกันคือความสนใจอย่างลึกซึ้งในการใช้สี งานในสมัยหลังแม้จะไม่ใช้สีสดและเรืองอย่างสมัยแรก แต่ฝีแปรงที่พริ้วที่แฝงให้เห็นความที่จะเป็นสีต่างๆ เพียงเล็กน้อยเป็นสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและทิเชียน · ดูเพิ่มเติม »

ดานเต เกเบรียล รอสเซ็ตติ

นเต เกเบรียล รอสเซ็ตติ (ภาษาอังกฤษ: Dante Gabriel Rossetti) (12 พฤษภาคม ค.ศ. 1828 - 9 เมษายน ค.ศ. 1882) เป็นจิตรกรรมสมัยพรีราฟาเอลไลท์ชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 รอสเซ็ตติเป็นผู้มีความสามารถในการเป็นกวี, จิตรกร, จิตรกรภาพประกอบ และนักแปล.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและดานเต เกเบรียล รอสเซ็ตติ · ดูเพิ่มเติม »

ดิเอโก เบลัซเกซ

อโก เบลัซเกซ ดิเอโก โรดริเกซ เด ซิลบา อี เบลัซเกซ (Diego Rodríguez de Silva y Velázquez; 6 มิถุนายน พ.ศ. 2142 - 6 สิงหาคม พ.ศ. 2203) เป็นจิตรกรชาวสเปน มีผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น Las Meninas, La Venus del espejo และ La Rendición de Breda.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและดิเอโก เบลัซเกซ · ดูเพิ่มเติม »

คะสึชิกะ โฮะกุไซ

กุไซ หรือ คะสึชิกะ โฮะกุไซ (葛飾北斎?, Hokusai หรือ Katsushika Hokusai) (ตุลาคม หรือ พฤศจิกายน ค.ศ. 1760 - 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1849Nagata) เป็นจิตรกรภาพอุกิโยะและภาพพิมพ์แกะไม้ชาวญี่ปุ่นของสมัยเอะโดะของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมจีน โฮะกุไซเกิดที่เอะโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) งานที่มีชื่อเสียงของโฮะกุไซที่เป็นที่รู้จักกันดีคือภาพพิมพ์แกะไม้ชุด “ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟูจิ” (富嶽三十六景) ที่รวมภาพ “คลื่นยักษ์นอกฝั่งคะนะงะวะ” ซึ่งเป็นภาพสัญลักษณะอันเป็นที่รู้จักกันดีไปทั่วโลกที่เขียนในคริสต์ทศวรรษ 1820 โฮะกุไซ “ทัศนียภาพ 36 มุม” เพื่อเป็นทั้งการตอบสนองความต้องการของกิจการท่องเที่ยวภายในประเทศที่ขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว และความหลงใหลส่วนตัวในการวาดภาพภูเขาฟู.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและคะสึชิกะ โฮะกุไซ · ดูเพิ่มเติม »

คิกุชิ โยไซ

กุชิ โยไซ (ค.ศ. 1781 - ค.ศ. 1878) เป็นจิตรกรชาวญี่ปุ่นของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีชื่อเสียงในการเขียนภาพเหมือนเอกรงค์ของบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและคิกุชิ โยไซ · ดูเพิ่มเติม »

ค่าต่างแสง

ต่างแสง (Chiaroscuro, แปลว่า แสง-ความมืด) เป็นศัพท์ที่ใช้ในการบรรยายงานศิลปะที่ใช้ความตัดกันของความมืดกับความสว่าง ซึ่งเป็นคำที่มักจะใช้สำหรับภาพเขียนที่ใช้การตัดกันอย่างรุนแรงที่มีผลต่อองค์ประกอบของภาพทั้งภาพ ลักษณะของภาพก็คล้ายกับการใช้สป็อตไลท์บนเวที แต่ศิลปินและนักประวัติศาสตร์ศิลป์ก็ใช้คำนี้ในการกล่าวถึงเท็คนิคการใช้ค่าแตกต่างของแสงซึ่งไม่จำเป็นต้องรุนแรง เพื่อให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นมวลในการเขียนสิ่งที่เป็นสามมิติ เช่นร่างกายของมนุษย์ ในปัจจุบันคำนี้ก็ใช้ในการบรรยายภาพถ่ายหรือภาพยนตร์ที่ปรากฏออกมาในลักษณะนี้.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและค่าต่างแสง · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลกอนซากา

ตราอาร์มของดัชชีแห่งมานตัว ตระกูลกอนซากา (House of Gonzaga) เป็นตระกูลที่ปกครองมานตัวทางตอนเหนือของอิตาลีระหว่าง..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและตระกูลกอนซากา · ดูเพิ่มเติม »

ซัลบาโด ดาลี

ซัลบาโด ฟาลิป ฌาซิน ดาลี อี ดูแมนัก มาร์ควิสแห่งปูบุล (Salvador Felip Jacint Dalí i Domènech, marquès de Púbol) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ซัลบาโด ดาลี (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 – 23 มกราคม พ.ศ. 2532) เป็นจิตรกรชาวสเปน มีชื่อเสียงจากผลงานภาพวาดแนวเหนือจริง ดาลีเป็นลูกชายคนเดียวของบ้าน เนื่องจากก่อนที่เขาจะเกิดไม่นาน พี่ชายของเขาได้เสียชีวิตลง ทำให้พ่อและแม่รักและหวงแหนเขามาก เขามีงานแสดงศิลปะตอนอายุ 14 ปีที่บ้านของเขาเอง โดยได้รับการสนับสนุนจากพ่อแม่ เขาศึกษาศิลปะที่โรงเรียนสอนศิลปะแห่งหนึ่งในกรุงมาดริด แต่ว่าไม่เคยเข้าสอบเลยแม้แต่ครั้งเดียว เพราะเขาคิดว่าไม่มีใครสามารถตัดสิน "ศิลปะ" ได้ และเขาก็ไม่ใส่ใจด้วยถึงแม้ว่าจะโดนไล่ออกถึงสองครั้งก็ตาม (ช่วงนี้ได้พบกับเฟเดรีโก การ์ซีอา ลอร์กา ซึ่งต่อมากลายเป็นกวีเอกคนนึงของสเปน) เขาทำทุกอย่างเพื่อการสร้างสรรค์งานศิลปะในแบบของต้วเอง เมื่อดาลีอายุได้ 20 ปี เขาถูกจับข้อหาทางการเมือง อีก 5 ปีต่อมา ได้เข้าร่วมกับศิลปินลัทธิเหนือจริง มุ่งหมายเน้นความเพ้อฝันเหนือจริง และช่วงนี้เองที่เขาได้พบกับปาโบล ปีกัสโซ จิตรกรเอกอีกคนหนึ่ง ช่วงนี้เองที่ดาลีได้อยู่กินกับกาลา (Gala) ที่เป็นทั้งเพื่อนคู่คิด นางแบบ และมีงานทำนิตยสารด้วยกัน ช่วงอายุที่ได้ 34 ปีการเขียนรูปของดาลีเริ่มพัฒนาจนกลายมาเป็นแนวที่เห็นกันในปัจจุบัน เช่น รูป Sublime Moment และรูป The Transparent Simulacrum Of The Forged Lmage ที่ถูกเขียนขึ้นในปี พ.ศ. 2481 ดาลีออกไปอยู่ที่อเมริกานานถึง 8 ปี ปี พ.ศ. 2498 เริ่มเขียนงานแนวศาสนา เช่นภาพ Crucifixion (พ.ศ. 2495) ซึ่งก็เป็นเหตุให้เขาถูกขับออกจากกลุ่ม Surrealism (แต่ดาลีบอกว่าเขานี่แหละคือ Surrealism) กาลา ภรรยาของเขาได้เสียชีวิตลงในปี พ.ศ. 2525 ต่อมาในปี พ.ศ. 2532 ดาลีก็เสียชีวิตลงด้วยโรคหัวใจล้มเหลว รวมอายุได้ 84 ปี ซัลบาโด ดาลีได้เป็นแบบอย่างให้กับศิลปินรุ่นหลังหลายต่อหลายคน ด้วยความที่งานของเขามีอัตตาดิบอยู่สูงและความที่เปี่ยมไปด้วยเอกลักษณ์ในการเขียนรูป.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและซัลบาโด ดาลี · ดูเพิ่มเติม »

ซัลวาตอร์ โรซา

ซาลวาทอร์ โรซา (Salvator Rosa) (ค.ศ. 1615 - 15 มีนาคม ค.ศ. 1673) เป็นprintmaker, กวี และ จิตรกรของสมัยบารอกคนสำคัญชาวอิตาลีของในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ทำงานส่วนใหญ่ในเนเปิลส์, โรม และ ฟลอเรนซ์ ซาลวาทอร์ โรซามีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ฟุ้งเฟ้อและไม่เหมือนผู้ใด และเป็น “นักต่อต้านตลอดกาล”Wittkower, p. 325 ของสมัยก่อนโรแมนต.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและซัลวาตอร์ โรซา · ดูเพิ่มเติม »

ซันโดร บอตตีเชลลี

ซานโดร บอตติเซลลี อเลสซานโดร ดี มาริอาโน ดี วานนี ฟิลิเปปิ หรือ ซานโดร บอตติเชลลี หรือเรียกกันสั้นๆ ว่า บอตติเชลลี (Alessandro di Mariano di Vanni Filipepi หรือ Sandro Botticelli เรียกย่อว่า Il Botticello; 1 มีนาคม ค.ศ. 1444 (พ.ศ. 1987/88) - 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1510(พ.ศ. 2053) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีแห่งตระกูลการเขียนแบบฟลอเรนซ์ระหว่างยุคเรอเนสซองซ์ตอนต้น เพียงไม่ถึงร้อยปึต่อมาวิธีการเขียนตระกูลนี้ (ภายใต้การอุปถัมภ์ของลอเรนโซ เดอ เมดิชิ) ก็ถูกจัดโดยจอร์โจ วาซารีให้เป็น “ยุคทอง” ในบทนำของหนังสือ “ชีวิตศิลปิน” ของชีวประวัติของบอตติเชลลี ชื่อเสียงของบอตติเชลลีได้รับความเสียหายหลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วมาจนกระทั่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แต่ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาบอตติเชลลีก็ได้รับความนับถือว่าเป็นจิตรกรฝีมือดีของสมัยเรอเนสซองซ์ตอนต้นของอิตาลีหรือสมัยที่เรียกกันในภาษาอิตาลีว่า “ควัตโตรเชนโต” ผลงานที่เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นงานชิ้นเอกของงานเขียนแบบฟลอเรนซ์ก็ได้แก่ “กำเนิดวีนัส” และ “ฤดูใบไม้ผลิ”.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและซันโดร บอตตีเชลลี · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา

วีนัสเดอมิโลที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา (Art history) ตามที่เข้าใจกันในประวัติศาสตร์หมายถึงสาขาวิชาทางด้านงานศิลปะที่เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาทางประวัติศาสตร์และบริบทของลักษณะ (stylistic contexts) เช่น ประเภทของศิลปะ (genre), ลักษณะการออกแบบ (design), รูปทรง (format) และ การออกมาเป็นรูปร่าง (look) ซึ่งรวมทั้งศิลปะสาขาหลักที่ได้แก่จิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรม และรวมทั้งสาขาย่อยเช่นเซรามิค เฟอร์นิเจอร์ และศิลปะการตกแต่งอื่นๆ หลักของสาขาวิชานี้มาจากงานชิ้นสำคัญๆ ที่สร้างโดยศิลปินตะวันตก และกฎว่าด้วยศิลปะตะวันตกก็ยังเป็นแกนสำคัญในการเลือกสรรงานที่ได้รับการบรรยายในตำราประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยามาจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อมีการพยายามที่จะวางความหมายของสาขาวิชานี้ใหม่ให้กว้างขึ้น เพื่อรวมศิลปะที่ไม่ใช่ศิลปะตะวันตก, ศิลปะที่สร้างโดยศิลปินสตรี และศิลปะพื้นบ้านเข้าด้วย คำว่า “ประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา” (หรือบางครั้งก็เรียกว่า “ประวัติศาสตร์ศิลป์”) ครอบคลุมวิธีการศึกษาจักษุศิลป์หลายวิธี ที่โดยทั่วไปหมายถึงงานศิลปะ และ งานสถาปัตยกรรม สาขาของการศึกษาต่างๆ บางครั้งก็คาบกันเช่นที่นักประวัติศาสตร์ศิลป์เอิร์นสท กอมบริค ตั้งข้อสังเกตไว้ว่า “สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลป์ก็คล้ายกับบริเวณกอลของจูเลียส ซีซาร์ที่แบ่งออกเป็นสามส่วน อาศัยอยู่โดยชนสามเผ่าพันธุ์ที่ไม่จำเป็นต้องเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน: (1) ผู้ที่เป็นคอศิลป์ (connoisseurs), (2) ผู้ที่เป็นนักวิพากษ์ศิลป์ และ (3) ผู้ที่เป็นนักวิชาการจากสถาบันผู้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านประวัติศาสตร์ศิลป์” ในฐานะที่เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งประวัติศาสตร์ศิลป์ต่างจากการวิพากษ์ศิลปะที่จะเน้นการสร้างพื้นฐานของคุณค่าของศิลปะโดยการเปรียบเทียบกับงานชิ้นอื่นที่เปรียบเทียบกันได้ทางด้านลักษณะ หรือการหันหลังให้แก่ลักษณะ หรือขบวนการศิลปะทั้งหมดที่พิจารณา และต่างจาก “ทฤษฎีศิลป์” (art theory) หรือ “ปรัชญาศิลป์” (philosophy of art) ที่คำนึงถึงธรรมชาติพื้นฐานของศิลปะ สาขาย่อยสาขาหนึ่งของการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์คือวิชาสุนทรียศาสตร์ (aesthetics) ซึ่งเป็นการศึกษาถึงสุนทรียปรัชญา (Sublime) และการระบุหัวใจของสิ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นสิ่งที่มีความเป็นสุนทรีย์ แต่ตามทฤษฎีแล้วประวัติศาสตร์ศิลป์ไม่ใช่สิ่งที่กล่าวมาเพราะนักประวัติศาสตร์ศิลป์ใช้การวิจัยโดยวิธีประวัติศาสตร์ (historical method) ในการตอบคำถาม “ศิลปินสร้างงานขึ้นมาได้อย่างไร”, “ใครเป็นผู้อุปถัมภ์”, “ใครเป็นครู”, “ใครคือผู้ชมงาน”, “ใครเป็นผู้ได้รับอิทธิพลจากลักษณะงาน”, “ประวัติศาสตร์ตอนใดที่มีอิทธิพลต่องาน” และ “งานที่สร้างมีผลทางเหตุการณ์ทางศิลปะ การเมือง และ สังคมอย่างใด” แต่กระนั้นประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยาก็มิได้หมายความว่าเป็นการศึกษาที่เกี่ยวกับการติดตามประวัติของงานเท่านั้น อันที่จริงแล้วนักประวัติศาสตร์ศิลป์มักจะวางพื้นฐานมาตรการการศึกษาโดยการวิเคราะห์งานแต่ละชิ้น และพยายามตอบปัญหาต่างๆ เช่น “อะไรคือสิ่งสำคัญของลักษณะของสิ่งที่ศึกษา”, “ความหมายใดที่งานชิ้นนี้พยายามสื่อ”, “งานชิ้นนี้มีผลต่อการดูอย่างใด”, “ศิลปินบรรลุจุดประสงค์ที่ต้องการหรือไม่”, “งานที่ศึกษาประกอบด้วยสัญลักษณ์อะไรบ้าง” และ “งานที่ศึกษาเป็นงานที่ออกนอกประเด็นหรือไม่”.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและประวัติศาสตร์ศิลป์วิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ประสาทวิทยา

Jean-Martin Charcot ประสาทวิทยา (Neurology) เป็นการแพทย์เฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของระบบประสาท กล่าวคือเกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยและรักษาโรคที่จัดว่าเกี่ยวข้องกับระบบประสาทกลาง, ระบบประสาทนอกส่วนกลาง และระบบประสาทอิสระ รวมทั้งหลอดเลือด เนื้อเยื่อปกคลุม และอวัยวะที่ประสาทสั่งการ เช่น กล้ามเนื้อ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยาจะได้รับการฝึกเพื่อการสืบค้น, การวินิจฉัย และรักษาความผิดปกติของระบบประสาท.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและประสาทวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ปอล โกแก็ง

ออแฌน อ็องรี ปอล โกแก็ง (Eugène Henri Paul Gauguin, 7 มิถุนายน ค.ศ. 1848 - 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1903) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลังชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน โกแก็งเกิดเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1848 ที่ปารีสในประเทศฝรั่งเศส และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1903 ที่เกาะในเฟรนช์โปลินีเซีย นอกจากการเป็นจิตรกรสมัยลัทธิประทับใจยุคหลังแล้ว โกแก็งยังทดลองการเขียนที่ใช้สีฉูดฉาดที่นำไปสู่การเขียนแบบสังเคราะห์นิยม (Synthetist) ของศิลปะสมัยใหม่ การเขียนของโกแก็งเป็นวิธีที่มีอิทธิพลมาจากลัทธิคลัวซอนนิสม์ที่นำไปสู่งานเขียนที่เป็นแบบที่เรียกว่าบรรพกาลนิยม (Primitivism) และกลับไปสู่จิตรกรรมท้องทุ่ง (pastoral) นอกจากนั้นโกแก็งก็ยังมีอิทธิพลต่อภาพพิมพ์ลายแกะ (engraving) และภาพพิมพ์แกะไม้ที่ยกระดับขึ้นเป็นงานศิลป.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปอล โกแก็ง · ดูเพิ่มเติม »

ปอล เซซาน

ปอล เซซาน (Paul Cézanne) จิตรกรชาวฝรั่งเศสในลัทธิประทับใจยุคหลัง สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน งานของเซซานเป็นงานที่วางรากฐานสำหรับการเปลี่ยนแปลงจากศิลปะในลัทธิประทับใจของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ไปสู่ศิลปะบาศกนิยมของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นแนวที่ทั้งอ็องรี มาติส และปาโบล ปีกัสโซ ยกย่องเซซานว่าเป็น "the father of us all".

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปอล เซซาน · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปาโบล ปีกัสโซ

Signatur Pablo Picasso ปาโบล รุยซ์ ปีกัสโซ (Pablo Ruiz Picasso;;; 25 ตุลาคม ค.ศ. 1881 – 8 เมษายน ค.ศ. 1973) จิตรกรเอกของโลก เป็นบุคคลที่นิตยสาร TIME ยกย่องให้เป็นศิลปินที่มีพรสวรรค์ในการสร้างสรรค์มากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ปีกัสโซเกิดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปาโบล ปีกัสโซ · ดูเพิ่มเติม »

ปาโอโล เวโรเนเซ

ปาโอโล เวโรเนเซ (Paolo Veronese) หรือ ปาโอโล กาลยารี (Paolo Cagliari; ค.ศ. 1528 - 19 เมษายน ค.ศ. 1588) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีที่ทำงานอยู่ในเวนิสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมสีน้ำมัน งานชิ้นสำคัญของเวโรเนเซก็ได้แก่ "งานแต่งงานที่เคนา" และ "งานเลี้ยงที่บ้านของลีวาย" (The Feast in the House of Levi) เวโรเนเซใช้ชื่อ "ปาโอโล กาลยารี" และมารู้จักกันว่า "ปาโอโล เวโรเนเซ" ตามชื่อเมืองเกิดที่เวโรนาในประเทศอิตาลี เวโรเนเซ, ทิเชียน และตินโตเรตโต เป็นจิตรกรคนสำคัญสามคนของเวนิสในปลายสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เวโรเนเซมีชื่อเสียงในการใช้สีและการเขียนตกแต่งแบบลวงตาทั้งในการเขียนจิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมสีน้ำมัน งานเขียนสำคัญของเวโรเนเซเป็นงานเขียนที่เต็มไปด้วยนาฏกรรมและการใช้สีแบบจริตนิยม (mannerist) เต็มไปด้วยฉากสถาปัตยกรรมและขบวนที่หรูหรา งานเขียนชิ้นใหญ่ของงานเลี้ยงฉลองในคัมภีร์ไบเบิลที่เขียนสำหรับหอฉัน (refectory) ของสำนักสงฆ์ในเวนิสและเวโรนาเป็นงานเขียนชิ้นสำคัญที่ควรจะกล่าวถึง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปาโอโล เวโรเนเซ · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ บอนาร์

ปีแยร์ บอนาร์ (Pierre Bonnard) (3 ตุลาคม ค.ศ. 1867 - 23 มกราคม ค.ศ. 1947) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรม และสร้างศิลปะการพิมพ์ (printmaking) ผู้เป็นผู้ก่อตั้งกลุ่มเลเนบีส์ (Les Nabis) คนหนึ่ง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปีแยร์ บอนาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ มีญาร์

ปีแยร์ มีญาร์ (Pierre Mignard; 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1612 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1695) หรือที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ “Le Romain” เพื่อให้แตกต่างกันจากพี่ชายที่ชื่อนีกอลา เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีญาร์ผู้ถือกำเนิดที่ทรัวมาจากครอบครัวศิลปิน นอกจากจะต้องแยกความแตกต่างจากพี่ชายแล้ว มีญาร์ก็ยังมีหลานชื่อปีแยร์ ที่มักจะเรียกกันว่า “ปีแยร์ที่ 2” หรือ “Le Chevalier” ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปีแยร์ มีญาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์

อกุสต์ เรอนัวร์ ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์ (Pierre-Auguste Renoir; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2383 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2462) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศส เป็นที่รู้กันว่าเขาคือหนึ่งในศิลปินในกลุ่มอิมเพรสชันนิสม์ที่ให้ความสำคัญกับการใช้สีสันที่สะท้อนอารมณ์ความรู้สึกของศิลปินในแบบฉับพลัน งานของเรอนัวร์ ส่วนมากจะเน้นที่สวยงาม อ่อนหวานของธรรมชาติและผู้หญิง ภาพของเรอนัวร์ยังสะท้อนวิถีชีวิตและวิพากษ์ระบบศักดินาของฝรั่งเศสช่วงปลายศตวรรษที่ 18 บิดาเป็นช่างตัดเสื้อ เป็นบุตรคนที่ 6 จาก 7 คน ต่อมาในอายุ 23 ปี เรอนัวร์สมัครใจที่จะเป็นนักวาดภาพอิสระ เรอนัวร์เป็นจิตรกรที่ประสบความลำบากอยู่มากมาย เพราะเรอนัวร์เป็นผู้ที่ชอบวาดภาพเปลือย ในช่วง 1890 เป็นต้นไป เรอนัวร์จะวาดภาพเปลือยอย่างอิสระ ในช่วงที่เป็นไขข้ออักเสบ ถึงจะนั่งรถเข็นหรือเอาพู่กันมาติดมือข้างแข็งไว้ก็ตาม เขาก็ให้คนอื่นระบายภาพให้ คำว่า "ดอกไม้" คือคำสุดท้ายที่เรอนัวร์ได้พูดก่อนที่จะเสียชีวิตในขณะที่เขาจัดแบบที่เขาเขียน เรอนัวร์ได้เสียชีวิตอย่างสงบในวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2462.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา

ระเยซูคืนชีพ” (Resurrection) รายละเอียดจากภาพประวัติของสัตยกางเขน พระเยซูคืนชีพ เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา (ภาษาอังกฤษ: Piero della Francesca) (ราว ค.ศ. 1412 - 12 ตุลาคม ค.ศ. 1492) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง นอกจากจะเป็นจิตรกรแล้ว เปียโร เดลลา ฟรานเชสกาก็ยังเป็นนักคณิตศาสตร์และนักเรขาคณิต ลักษณะของภาพเขียนจะสงบและการใช้รูปเรขาคณิตโดยเฉพาะการเขียนแบบทัศนียภาพและการเขียนภาพลึกบนผนังแบนเรียบ (foreshortening) งานส่วนใหญ่ของเดลลา ฟรานเชสกาอยู่ที่เมืองอเรซโซในแคว้นทัสเคนี.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโตร ดา กอร์โตนา

ปีเอโตร ดา กอร์โตนา หรือ ปีเอโตร แบร์เรตตีนี (Pietro da Cortona หรือ Pietro Berrettini) (1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1596 - 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1669) เป็นจิตรกรและสถาปนิกของสมัยบาโรกสูงคนสำคัญชาวอิตาลีของในคริสต์ศตวรรษที่ 17 งานที่รู้จักกันดีของดา กอร์โตนาคืองานเขียนจิตรกรรมฝาผนัง แต่ก็ไม่ด้อยไปกว่าความสามารถทางด้านการเป็นการออกแบบสถาปัตยกรรม แม้ว่าดา กอร์โตนาจะมีอิทธิพลเป็นอันมากต่อศิลปินร่วมสมัย แต่ชื่อเสียงในปัจจุบันไม่ค่อยเป็นที่กล่าวถึงเช่นศิลปินที่ถือกันว่าเป็นศิลปินชั้นปรมาจารย์เช่นคาราวัจโจ จานโลเรนโซ แบร์นินี หรือฟรานเซสโก บอโรมิน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปีเอโตร ดา กอร์โตนา · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอโตร เปรูจีโน

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1497–1500) เปียโตร เปรูจิโน (Pietro Perugino; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Pietro Vannucci, ค.ศ. 1446 - ค.ศ. 1524) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปีเอโตร เปรูจีโน · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ พาร์เลอร์

ซางวิตูส ปีเตอร์ พาร์เลอร์ (Peter Parler) (ราว ค.ศ. 1330 – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1399 ที่เมืองปราก) เป็นสถาปนิกชาวเยอรมัน ที่มามีชื่อเสียงในกรุงปราก ได้รับการยกย่องจากผลงานการก่อสร้าง มหาวิหารเซนต์ไวทัส (Saint Vitus Cathedral) และ สะพานชาร์ลส์ (Charles Bridge) ในเมืองปราก ซึ่งเป็นที่พำนักของพาร์เลอร์ตั้งแต่ปี ค.ศ.1356 ปีเตอร์ พาร์เลอร์ เป็นสมาชิกของตระกูลพาร์เลอร์ที่เป็นตระกูลช่างก่อสร้างและมีเครือญาติกระจัดกระจายออกไปทั้งยุโรป ไฮน์ริคท์ พาเลอร์ บิดาของเขา ได้พาครอบครัวมาอยู่ที่เมือง ชเวบิชกมึนด์ (Schwäbisch Gmünd) เพื่อทำงานในโครงการก่อสร้างซ่อมแซมวัดโฮลีครอสที่พังทลายลง ปีเตอร์เองก็ได้รับการเรียนรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างจากครอบครัวมาตลอดชีวิต ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปีเตอร์ พาร์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ)

ปีเตอร์ เบรอเคิล ชัยชนะของความตาย (The Triumph of Death) ประมาณ พ.ศ. 2105 (ค.ศ.1562) พิพิธภัณฑ์ปราโด มาดริด ปีเตอร์ เบรอเคิล ผู้พ่อ (Pieter Bruegel de Oude,; Pieter Bruegel the Elder; พ.ศ. 2068 - 9 กันยายน พ.ศ. 2112) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบดัตช์และเฟลมิช เบรอเคิลมีชื่อเสียงในด้านการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์และภาพชีวิตประจำวันโดยเฉพาะของเกษตรกร ที่ทำให้ได้รับสมญาว่า "Peasant Bruegel" เพื่อให้ต่างจากสมาชิกผู้อื่นในตระกูล "Brueghel" ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและปีเตอร์ เบรอเคิล (ผู้พ่อ) · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญดันสตัน

นักบุญดันสตัน (Dunstan) เป็นอธิการอารามกลาสเบอรี บิชอปแห่งเวิร์สเตอร์ บิชอปแห่งลอนดอน และอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี หลังมรณกรรมให้รับการประกาศเป็นนักบุญในปี ค.ศ. 959 ท่านมีบทบาทสำคัญในการฟื้นฟูชีวิตอารามวาสีแบบศาสนาคริสต์และปฏิรูปคริสตจักรในอังกฤษ ออสเบิร์นแห่งแคนเทอร์เบอรี ศิลปินและธรรมาจารย์ ผู้เขียนชีวประวัติของท่านกล่าวว่าท่านมีทักษะด้าน “การวาดภาพและเขียนหนังสือ” ซึ่งเป็นความสามารถตามปกติของนักบวชอาวุโสในสมัยนั้น ท่านยังเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดเมื่อวันที่ ราว..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและนักบุญดันสตัน · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญเวโรนีกา

นักบุญเวโรนิกาถือผ้าซับพระพักตร์ของพระเยซู นักบุญเวโรนีกา (อังกฤษ:saint veronika) หรือที่รู้จักกันในนาม นางเวโรนิกา มีชื่อจริงว่า เซราเฟีย เป็นนักบุญของนิกายโรมันคาทอลิกของศาสนาคริสต์ นักบุญท่านนี้มีชื่อเสียงจากการซับพระพักตร์ของพระเยซูคริสต์ก่อนที่พระเยซูจะสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและนักบุญเวโรนีกา · ดูเพิ่มเติม »

นาดาร์

Nadar (self-portrait) นาดาร์ (Nadar) หรือ กัสปาร์ด-เฟลิกซ์ ตูร์นาคง (Gaspard-Félix Tournachon) (6 เมษายน พ.ศ. 2363 – 21 มีนาคม พ.ศ. 2453) ไม่ได้เป็นที่รู้จักเฉพาะงานที่เกี่ยวกับการถ่ายภาพเท่านั้น เขายังเป็นที่รู้จักในความมีพรสวรรค์ของเขาในด้าน นักวารสาร, นักแต่งนวนิยาย, นักประดิษฐ์บอลลูน และนักสังคม เขาเป็นชาวฝรั่งเศสผู้ที่แม้ว่าจะเริ่มต้นอย่างต่ำต้อยแต่เขาก็ก้าวสู่ระดับของสังคมที่สูงขึ้นได้.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและนาดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิโคลัส ฮิลเลียร์ด

นิโคลัส ฮิลลาร์ด (Nicholas Hilliard, พ.ศ. 2090 - พ.ศ. 2162) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษที่ถนัดด้านการวาดภาพเหมือน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1540 หมวดหมู่:จิตรกรชาวอังกฤษ หมวดหมู่:บุคคลจากเอ็กซิเตอร์ หมวดหมู่:บุคคลจากมณฑลเดวอน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและนิโคลัส ฮิลเลียร์ด · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา ปูแซ็ง

นีกอลา ปูแซ็ง (Nicolas Poussin; 15 มิถุนายน ค.ศ. 1594 - 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1665) เป็นจิตรกรชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมสีน้ำมัน ปูแซ็งเกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1594 ที่เมืองเลซ็องเดอลีในนอร์ม็องดีในประเทศฝรั่งเศส และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1665 ลักษณะการเขียนเป็นแบบคลาสสิกซิสม์ งานของปูแซ็งเจะชัดเจน มีเหตุผลและมีระเบียบและนิยมเส้นมากกว่าสี ปูแซ็งมีอิทธิพลต่อจิตรกรที่มีลักษณะเขียนไปทางคลาสสิกมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่น ฌัก-หลุยส์ ดาวีด, ปอล เซซาน ปูแซ็งใช้เวลาส่วนใหญ่ในช่วงทำงานเขียนในกรุงโรม นอกจากช่วงที่คาร์ดินัลรีเชอลีเยอ (Cardinal Richelieu) เรียกตัวกลับมาฝรั่งเศสเพื่อมาเป็นเป็นจิตรกรเอกประจำราชสำนักพระเจ้าแผ่นดินฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและนีกอลา ปูแซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

แฟลนเดอส์

งฟลานเดอร์ ฟลานเดอร์ ในความหมายปัจจุบันหมายถึงพื้นที่ทางตอนเหนือของเบลเยียม ซึ่งใช้ภาษาดัตช์ (หรือฟลามส์) ในทางประวัติศาสตร์ ฟลานเดอร์เป็นพื้นที่ ครอบคลุมบางส่วนของประเทศเบลเยียม ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์ ในทางการปกครอง ฟลานเดอร์ประกอบด้วยชุมชนฟลามส์และเขตฟลาม.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและแฟลนเดอส์ · ดูเพิ่มเติม »

แมรี เคแซต

แมรี สตีเวนสัน เคแซต (Mary Stevenson Cassatt; 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1926) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน และการทำภาพพิมพ์ มักจะวาดภาพชีวิตทั้งทางการสังคมและการส่วนตัวของผู้หญิงโดยเน้นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งระหว่างแม่และลูก แมรี เคแซตใช้เวลาส่วนใหญ่ในประเทศฝรั่งเศส และเมื่อย้ายไปอยู่ปารีสแมรีก็ทำความรู้จักกับแอดการ์ เดอกา ผู้มีอิทธิพลต่องานเขียนของเคแซต ต่อมาแมรีก็ได้แสดงผลงานร่วมกับจิตรกรอิมเพรสชันนิสม์คนอื่น.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและแมรี เคแซต · ดูเพิ่มเติม »

แม็ทธิว แพริส

แม็ทธิว แพริส (Matthew Paris) (ราว ค.ศ. 1200 - (ค.ศ. 1259) แม็ทธิว แพริสเป็นนักบวชเบ็นนาดิคติน, นักบันทึกพงศาวดาร (Chronicler) ของยุคกลาง, จิตรกรหนังสือวิจิตร, นักเขียนแผนที่ชาวอังกฤษผู้จำวัดอยู่ที่สำนักสงฆ์เซนต์อัลบันในฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ แม็ทธิวเขียนงานหลายชิ้น ส่วนใหญ่เป็นงานเชิงประวัติศาสตร์ที่แม็ทธิวคัด (scribe) และวาดภาพวิจิตร (illuminate) ประกอบด้วยตนเอง งานส่วนใหญ่จะวาดบางส่วนด้วยสีน้ำที่บางครั้งก็เรียกว่า “tinted drawings” งานเขียนบางชิ้นก็เขียนเป็นภาษาละติน, บางชิ้นก็เป็นภาษาอังกฤษ-นอร์มัน หรือภาษาฝรั่งเศสสมัยกลาง บันทึกประวัติศาสตร์ “Chronica Majora” ที่แม็ทธิวเขียนเป็นหนังสือที่ได้รับการใช้ในการอ้างอิงบ่อยครั้ง แม้ว่านักประวัติศาสตร์สมัยใหม่จะทราบว่าเป็นงานเขียนที่ไม่ค่อยน่าเชื่อถือเท่าใดนักก็ตาม แม็ทธิวมักจะสรรเสริญสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์อย่างเลิศลอย และจะหนักไปในทางประณามพระสันตะปาป.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและแม็ทธิว แพริส · ดูเพิ่มเติม »

แม็ทธิว เบรดี

แม็ทธิว เบรดี (Mathew B. Brady; ค.ศ. 1822 – 15 มกราคม ค.ศ. 1896) เป็นช่างภาพชาวอเมริกันผู้มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งภาพถ่ายเชิงสารคดี (photojournalism) เบรดีมีชื่อเสียงจากการถ่ายภาพเหมือนของบุคคลสำคัญๆ และภาพสารคดีจากสงครามกลางเมืองอเมริกัน เบรดีเกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและแม็ทธิว เบรดี · ดูเพิ่มเติม »

แร็มบรันต์

แร็มบรันต์ 100px แร็มบรันต์ ฮาร์เมินส์โซน ฟัน ไรน์ (Rembrandt Harmenszoon van Rijn; 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2149 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2212) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ในประวัติศาสตร์ศิลปะยุโรปและเป็นจิตรกรที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดรายหนึ่งของโลก ผลงานของแร็มบรันต์ทำให้เนเธอร์แลนด์รุ่งเรืองสุดขีดหรือที่เรียกว่ายุคทองในช่วงศตวรรษที่ 17 และเป็นผู้มีอำนาจทั้งด้านอิทธิพลการเมือง วิทยาศาสตร์ พาณิชย์ และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องจิตรกรรม เขาเป็นบุตรคนที่ 9 ของครอบครัวเจ้าของโรงงานและหุ้นส่วนโรงสีลมในเมืองไลเดิน เนเธอร์แลนด์ พี่น้องของแร็มบรันต์ถูกฝึกหัดเป็นเจ้าของโรงงาน คนทำขนมปัง หรือช่างทำรองเท้า แต่พ่อแม่ส่งลูกคนเล็กสุดของพวกเขาตอนอายุเจ็ดขวบไปที่โรงเรียนประถมมัธยมศึกษาโปรเตสแตนต์ที่ซึ่งเขาเรียนภาษาละติน เมื่อเขาอายุ 14 ปี แร็มบรันต์ลงทะเบียนที่มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงของไลเดิน แต่เขาแทบจะไม่เรียนมากเพราะว่าในขณะเดียวกันเขาขอให้พ่อแม่ของเขาฝึกหัดเขาให้เป็นจิตรกร ความหวังของเขาได้รับการเติมเต็ม และเขากลายเป็นลูกศิษย์ของศิลปินท้องถิ่น ยาโกบ ฟัน สวาเนินบืร์ค (Jacob van Swanenburgh) ซึ่งเพิ่งกลับมาหลังจากการอยู่อาศัยที่ยาวนานในอิตาลี ระหว่างช่วงนี้เขาได้วาดฉากมากมายของแม่มดและนรก เขาสอนแร็มบรันต์ว่าถ่ายความรู้สึกของมนุษย์ลงในภาพอย่างไร ใช้แสงและความมืดเพื่อแบ่งแยกองค์ประกอบสำคัญจากสิ่งเล็กน้อยอย่างไร หลังจากเสร็จการฝึกหัดของเขา แร็มบรันต์ในวัยเยาว์ไปอัมสเตอร์ดัมเป็นครั้งแรก รับการสอนจากปีเตอร์ ลัสต์มัน เป็นไปได้ว่าแร็มบรันต์ใช้เวลาไม่เกินหกเดือนกับลัสต์มันก่อนกลับไปบ้านเดิมของเขาที่ไลเดิน แร็มบรันต์ฝึกงานครั้งแรกของเขา เขาใช้จ่ายร้อยกิลเดอร์ต่อปี ไม่รวมอาหารและที่พัก ต่อมาเขาควบคุมสตูดิโอขนาดใหญ่กับผู้ช่วยและเด็กฝึกงานประมาณ 50 คน พ่อของแร็มบรันต์เสียชีวิตในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและแร็มบรันต์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนดี วอร์ฮอล

แอนดี วอร์ฮอล (Andy Warhol) เป็นศิลปินชาวอเมริกัน เขาเป็นหนึ่งในผู้นำกลุ่มศิลปะแนวป็อปอาร์ต (pop art) ที่ประสบความสำเร็จอย่างมากจนได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของงานแนวนี้ งานของเขาสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในเรื่อง คนดัง วงการบันเทิง และการโฆษณาซึ่งกำลังเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมาในช่วงยุค 60 หลังจากการประสบความสำเร็จในงานวาดภาพประกอบ แอนดีก็กลายเป็นบุคคลมีชื่อเสียงตามที่เขาหวังเอาไว้ งานของแอนดีมีหลายประเภทตั้งแต่งานมีเดียไปจนถึง ภาพเขียน ภาพจิตรกรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย ภาพพิมพ์สกรีน ประติมากรรม ภาพยนตร์ และดนตรี นอกจากนี้เขายังเป็นศิลปินรุ่นแรกๆที่นำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานศิลปะด้วย นอกจากงานเหล่านี้แล้วแอนดียังเป็นผู้ก่อตั้งนิตยสารและเขียนหนังสืออีกหลายเล่ม อาทิ เช่น The Philosophy of Andy Warhol และ Popism: The Warhol Sixties แม้ในช่วงระยะหลังของชีวิตแอนดีจะไม่ค่อยทำงานศิลปะออกมามากเท่าไหร่ แต่เขาก็ยังคงมีงานในด้านอื่นๆ ออกมาให้เห็นอยู่อย่างต่อเนื่อง เช่น งานโฆษณา หรือ งานแสดงที่เขาได้รับเชิญจากภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง เรือรักเรือสำราญ (Love Boat) และนั้นยิ่งเป็นการตอกย้ำถึงความสำเร็จของเขา หลังจากการแสดงงานครั้งสุดท้ายในยุโรป เมื่อกลับมานิวยอร์กได้ระยะหนึ่ง แอนดีก็เสียชีวิตลงในปี 1987.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและแอนดี วอร์ฮอล · ดูเพิ่มเติม »

แท่นบูชา

แท่นบูชา แท่นบูชา (altar) เป็นโต๊ะศักดิ์สิทธิ์ ที่ใช้วางสิ่งของที่ใช้ในพิธีมิสซาในคริสต์ศาสนสถาน ต้องจัดวางไว้ให้เด่นที่สุดในโบสถ์ และไม่ใช่เป็นโต๊ะวางสิ่งของจิปาถะ แท่นบูชาใช้วางผ้ารองศีล ผ้าเช็ดกาลิกส์ หนังสือมิสซา ถ้วยกาลิกส์ และแผ่นปัง แท่นบูชามีประโยชน์ใช้สอยทางสถาปัตยกรรมในฐานะเป็นองค์ประกอบสำคัญในการประกอบพิธีกรรม และไม่ใช่เป็นเพียงเครื่องประดับตกแต่งอาคาร บนแท่นบูชานี้ จะต้องจัดให้สามารถนำภาชนะศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ สำหรับภาคถวายมาวางไว้ได้อย่างสะดวกในเวลาประกอบพิธี เช่น จานรองศีล พร้อมแผ่นปัง กาลิกส์ที่มีเหล้าองุ่น นอกจากนี้ยังมีหนังสือพิธีมิสซา ไมโครโฟน และสิ่งอื่นเท่าที่จำเป็น แท่นบูชาไม่ใช่โต๊ะวางของ จึงควรมีเฉพาะสิ่งที่จำเป็นสำหรับภาคถวายเท่านั้น แท่นบูชาของคริสตชนในสมัยแรกเป็นโต๊ะไม้เคลื่อนที่ได้ ต่อมาเป็นแบบตั้งอยู่กับที่ และในจารีตละตินให้เป็นแบบทำศิลาหรือหินเพื่อให้สอดคล้องกับธรรมเนียมของพระศาสนจักรที่รับสืบทอดกันมา และให้สอดคล้องกับ สัญลักษณ์จากพระคัมภีร์เกี่ยวกับแท่นบูชาจะต้องทำด้วยหิน และหินธรรมชาติด้วย ซึ่งแท่นหรือหินเป็นรูปแบบที่ชาวอิสราเอลใช้เป็นที่ถวายเครื่องบูชาแด่พระเจ้า แท่นบูชามี 2 แบบ คือ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและแท่นบูชา · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยบรันกัชชี

ปลบรันคาชชิ (Brancacci Chapel, Capella dei Brancacci) เป็นชาเปลที่ตั้งอยู่ภายในวัดซานตามาเรียเดลคาร์มิเนที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี สิ่งที่สำคัญที่สุดภายในชาเปลคืองานจิตรกรรมฝาผนังชิ้นเอกโดยมาซาชิโอ ที่เป็นภาพชุดชีวิตของนักบุญฟรานซิสแห่งอาซิซิ ที่เขียนให้แก่พ่อค้าไหมเฟลิเช บรันคาชชิหลานของเปียโตร บรันคาชชิผู้สร้างชาเปล ความงามของงานเขียนจิตรกรรมฝาผนังภายในชาเปลนี้ทำให้ได้ชื่อว่าเป็น “ชาเปลซิสตินแห่งยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนต้น” ใน และเป็นงานเขียนที่มีอิทธิพลมากที่สุดชิ้นหนึ่งของสมัยที่ว่านี้ เปียโตร บรันคาชชิสร้างชาเปลนี้ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโบสถ์น้อยบรันกัชชี · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์น้อยซิสทีน

“พระยาห์เวห์ทรงสร้างอาดัม” ''God creates Adam'' โดย มีเกลันเจโลหลังจากการปฏิสังขรณ์ สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 โบสถ์น้อยซิสทีน (Sistine Chapel; Cappella Sistina) เป็นโบสถ์น้อยภายในพระราชวังพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการของพระสันตะปาปาในนครรัฐวาติกัน โบสถ์น้อยซิสทีนมึชื่อเสียงในทางสถาปัตยกรรมเพราะเป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงพระวิหารของพระเจ้าโซโลมอนในพันธสัญญาเดิม, การตกแต่ง, จิตรกรรมฝาผนังโดยจิตรกรผู้มีชื่อเสียงในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยารวมทั้งมีเกลันเจโลผู้วาดเพดานของโบสถ์จนที่เป็นที่เลื่องลือ และสุดท้ายคือความสำคัญในการเป็นสถานที่ทำการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโบสถ์น้อยซิสทีน · ดูเพิ่มเติม »

โมะโตริ โนะรินะงะ

โมะโตริ โนะรินะงะ (21 มิถุนายน ค.ศ. 1730 - 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1801) เป็นผู้คงแก่เรียน (scholar) Kokugaku ของสมัยเอะโดะชาวญี่ปุ่นของคริสต์ศตวรรษที่ 18 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2273 หมวดหมู่:จิตรกรชาวญี่ปุ่น หมวดหมู่:นักเขียนชาวญี่ปุ่น หมวดหมู่:กวีชาวญี่ปุ่น หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 18 หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดมิเอะ หมวดหมู่:บุคคลในยุคเอะโดะ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโมะโตริ โนะรินะงะ · ดูเพิ่มเติม »

โมนาลิซา

มนาลิซา (Mona Lisa) หรือ ลาโจกอนดา (La Gioconda) หรือ ลาโชกงด์ (La Joconde) คือภาพวาดสีน้ำมัน สูง 77 เซนติเมตร กว้าง 53 เซนติเมตร วาดโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ระหว่าง พ.ศ. 2046 (ค.ศ. 1503) ถึงปี พ.ศ. 2050 (ค.ศ. 1507) เป็นภาพที่มีชื่อเสียงทั่วโลกภาพหนึ่ง เป็นที่รู้จักในฐานะภาพของสุภาพสตรีที่มีรอยยิ้มอันเป็นปริศนา ที่ไม่รู้ว่าเธอจะยิ้ม หัวเราะ หรือร้องไห้กันแน่ ปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของรัฐบาลฝรั่งเศส และเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ (Musée du Louvre) กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโมนาลิซา · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ โซฟฟานี

ันน์ โซฟฟานี (Johann Zoffany หรือ Johann Zoffani หรือ Johann Zauffelij) (13 มีนาคม ค.ศ. 1733 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1810) เป็นจิตรกรชาวเยอรมันของสมัยฟื้นฟูคลาสสิกของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ที่ทำงานเป็นจิตรกรในอังกฤษ และมีงานเขียนในสถาบันศิลปะหลายสถาบันในอังกฤษเช่นที่หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน และ หอศิลป์เทท โซฟฟานีเกิดที่ฟรังเฟิร์ตแต่มาทำงานในอังกฤษ และกลายเป็นช่างเขียนที่เป็นที่นิยมในราชสำนักอังกฤษ โดยเฉพาะการได้รับการโปรดปรานจากสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีชาร์ลอตต์ โซฟฟานีเขียนภาพเหมือนของทั้งสองพระองค์อย่างมีเสน่ในบรรยากาศที่ไม่เป็นทางการ — รวมทั้งภาพ “สมเด็จพระราชินีชาร์ลอตต์และพระราชโอรสธิดาองค์โตสองพระองค์” ที่เขียนในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโยฮันน์ โซฟฟานี · ดูเพิ่มเติม »

โรคใคร่เด็ก

รคใคร่เด็ก หรือ ความใคร่เด็ก (Pedophilia, paedophilia) เป็นความผิดปกติทางจิตที่ผู้ใหญ่หรือวัยรุ่นตอนปลายมีความต้องการทางเพศเป็นหลักหรืออย่างจำกัดเฉพาะ ต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพัน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโรคใคร่เด็ก · ดูเพิ่มเติม »

โรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน

รเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน (Rogier van der Weyden) หรือ รอฌีเย เดอ เลอ ปัสตูร์ (Rogier de le Pasture; ค.ศ. 1399/ค.ศ. 1400 - 18 มิถุนายน ค.ศ. 1464) เป็นจิตรกรคนสำคัญของจิตรกรรมเนเธอร์แลนด์เริ่มแรกของประเทศเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เขาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมันและการเขียนบานพั.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโรเคียร์ ฟัน เดอร์ไวเดิน · ดูเพิ่มเติม »

โลวิส โครินธ์

ลวิส โครินธ์ (Lovis Corinth) (21 กรกฎาคม ค.ศ. 1858 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ชาวเยอรมันของการผสานระหว่างอิมเพรสชันนิสม์และลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ (expressionism) ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 โครินธ์ศึกษาที่ปารีสและมิวนิค และเข้าเป็นสมาชิกของกลุ่มแยกตัวเบอร์ลิน (Berlin Secession) และต่อมาเป็นประธานของกลุ่มต่อจากแม็กซ์ ลีเบอร์มันน์ งานในช่วงต้นเป็นงานแบบธรรมชาติ และต่อต้านลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ แต่หลังจากที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโลวิส โครินธ์ · ดูเพิ่มเติม »

โลเรนโซ กีแบร์ตี

ลเรนโซ กีแบร์ตี บน "ประตูสวรรค์" (Gates of Paradise) ที่หอศีลจุ่มซานจิโอวานนี (Battistero di San Giovanni) ที่ฟลอเรนซ์ งานของโลเรนโซ กีแบร์ตี ที่ชนะการประกวดเมื่อปี ค.ศ. 1401 ซึ่งยังเป็นฉากแบบยุคกลาง แต่รูปนี้ไม่มีบน "ประตูสวรรค์" เมื่อสร้าง "ประตูสวรรค์" ประตูที่เห็นในปัจจุบันเป็นประตูที่ทำเลียนแบบของจริง พระเจ้าสร้างอาดัมและอีฟบานภาพจาก "ประตูสวรรค์" โลเรนโซ กีแบร์ตี (Lorenzo Ghiberti; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Lorenzo di Bartolo; ค.ศ. 1378 - 1 ธันวาคม ค.ศ. 1455) เป็นประติมากรสมัยศิลปะเรอแนซ็องส์ตอนต้นคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางประติมากรรม งานโลหะ และจิตรกรรมฝาผนัง.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโลเรนโซ กีแบร์ตี · ดูเพิ่มเติม »

โอดิสเซียส

อดิสเซียส หรือ โอดิสซูส (Ὀδυσσεὺς, โอ-ดุส-เซวส์) นอกจากนี้ยังรู้จักกันในชื่อภาษาละตินว่า ยูลิสซิส (Ulysses) เป็นตัวเอกในมหากาพย์เร่ืองโอดิสซีย์ของโฮเมอร์ และยังมีบทบาทสำคัญในการสู้รบที่กรุงทรอย ซึ่งถ่ายทอดผ่านมหากาพย์อีเลียดของกวีคนเดียวกันอีกด้วย โอดิสเซียสเป็นบุตรของลาเออร์ทีส (Laërtes) กับแอนติคลีอา ต่อมาได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ของเมืองอิธาคาสืบต่อจากบิดา โดยมีภรรยาคือเพเนโลพี (Penelope) และมีบุตรคือเทเลมาคัส (Telemachus) โอดิสเซียสมีชื่อเสียงเลื่องลือในด้านสติปัญญา และไหวพริบที่ว่องไว ปรับตัวได้ทุกสถานการณ์ จึงได้รับฉายาเช่น polytropos- "many turns", "ผู้มีรอบมาก" หรือ polymētis - "ผู้มีแผนมาก", ผู้มีปัญญามาก แม้โอดิสเซียสจะมีบทบาทในมหากาพย์หลายเรื่อง โดยเฉพาะวัฏมหากาพย์ที่เกี่ยวกับกรุงทรอย แต่เขาเป็นที่รู้จักมากที่สุดใน nostos หรือ การเดินทางกลับบ้านของตน ที่กินเวลาถึงสิบปีหลังเสร็จสิ้นสงครามเมืองทรอ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโอดิสเซียส · ดูเพิ่มเติม »

โจชัว เรย์โนลส์

ซอร์โจชัว เรย์โนลส์ (ภาษาอังกฤษ: Joshua Reynolds, RA FRS FRSA) (16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 - 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792) เป็นจิตรกรชาวอังกฤษของสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเขียนสีน้ำมัน และภาพเหมือน โจชัว เรย์โนลส์เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1723 ที่เมืองพลิมตันในเดวอนในอังกฤษ และเสียชีวิตเมื่อราววันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792 ที่เมืองลอนดอนในอังกฤษ เรย์โนลด์เป็นผู้สนับสนุนการเขียนที่เรียกว่า “Grand Style” ที่เป็นการเขียนที่สร้างภาพอุดมคติจากสิ่งที่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์แบบ เรย์โนลด์เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งและเป็นผู้อำนวยการของราชสถาบันศิลปะ เรย์โนลด์ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเซอร์จากพระเจ้าจอร์จที่ 3.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโจชัว เรย์โนลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โคเปนเฮเกน

ปนเฮเกน (Copenhagen; København เคอเปินเฮาน์) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเดนมาร์ก จำนวนประชากรในมีเมืองมีทั้งหมดประมาณ 500,000 คนและ เขตนครหลวงหรือเมโทรทั้งหมดประมาณ 1,200,000 คนเศษ กรุงโคเปนเฮเกนเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางการบริหารประเทศ รัฐสภา รัฐบาลและเป็นที่ตั้งพระราชวังหลวงในพระราชวงศ์เดนมาร์ก โคเปนเฮเกนถือว่าเป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งของยุโรป ก่อตั้งมาราว ๆ คริสต์ศตวรรษที่ 10 และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศในแถบสแกนดิเนเวี.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโคเปนเฮเกน · ดูเพิ่มเติม »

โซโฟนิสบา อังกิสโซลา

ซโฟนิสบา อังกิสโซลา (Sofonisba Anguissola) (ราว ค.ศ. 1532 - 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1625) เป็นจิตรกรชาวอิตาลีของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและโซโฟนิสบา อังกิสโซลา · ดูเพิ่มเติม »

เบนอซโซ กอซโซลี

นนอซโซ กอซโซลิ (Benozzo Gozzoli ชื่อเมื่อแรกเกิด: Benozzo di Lese, ราว ค.ศ. 1421 - ค.ศ. 1497) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของประเทศอิตาลีจากฟลอเรนซ์ ของคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง งานของกอซโซลิที่สุดคือจิตรกรรมฝาผนังภายในวังเมดิชิ (Palazzo Medici) ซึ่งแสดงขบวนที่หรูหราที่เต็มไปด้วยรายละเอียดและมีอิทธิพลจากศิลปะกอธิคนานาชาติ (International Gothic).

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเบนอซโซ กอซโซลี · ดูเพิ่มเติม »

เกเมลเดกาเลรีอัลเทอไมสเทอร์

หอจิตรกรรมชั้นครูแห่งเดรสเดิน (Gemäldegalerie Alte Meister; Old Masters Picture Gallery) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่ตั้งอยู่ที่เดรสเดินในประเทศเยอรมนี “พิพิธภัณฑ์หอจิตรกรรมชั้นครูมีงานสะสมชิ้นสำคัญๆ ของศิลปินชั้นครูในประวัติศาสตร์ศิลปะเป็นจำนวนมาก หอจิตรกรรมชั้นครูเป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งรัฐแห่งเดรสเดิน (Staatliche Kunstsammlungen Dresden).

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเกเมลเดกาเลรีอัลเทอไมสเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนาร์โด ดา วินชี

ลโอนาร์โด ดา วินชี (Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี (เกิดที่เมืองวินชี วันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1452 - เสียชีวิตที่เมืองออมบัวซ์ ในวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1519) เป็นอัจฉริยบุคคลที่มีความสามารถหลากหลาย เป็นทั้ง สถาปนิกแบบเรอเนซองส์ นักดนตรี นักกายวิภาคศาสตร์ นักประดิษฐ์ วิศวกร ประติมากร นักเรขาคณิต นักวาดภาพ นักดาราศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ ดา วินชี มีงานศิลปะที่มีชื่อเสียงหลายชิ้น เช่น พระกระยาหารมื้อสุดท้าย และ โมนา ลิซ่า งานของ ดา วินชี ยังสร้างคุณประโยชน์กับวิชากายวิภาคศาสตร์ ดาราศาสตร์ เป็นบุคคลแรกที่วางรากฐานด้านการบิน รวมถึงวิศวกรรมโยธา ด้วยความที่เป็นบุรุษที่มีจิตวิญญาณที่รักในศาสตร์หลายแขนง เลโอนาร์โดทำให้เกิดจิตวิญญาณของสหวิทยาการในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ และกลายเป็นบุคคลสำคัญของยุคนั้น นักประวัติศาสตร์และนักวิชาการหลายคนต่างยกย่องเลโอนาร์โดเป็นผู้มีปัญญาเฉียบแหลมและเป็นผู้รู้รอบด้าน หรือ "ชายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา" (Renaissance Man) บุคคลที่มี "ความอยากรู้อยากเห็นอย่างไม่มีข้อกังขา" และ "จินตนาการที่สร้างสรรค์ขึ้นเรื่อย ๆ".

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเลโอนาร์โด ดา วินชี · ดูเพิ่มเติม »

เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร

Aberdeen Bestiary) (folio 4v) การตกแต่งตัวพยัญชนะตัวแรกและขอบอย่างวิจิตรใน “หนังสือกำหนดเทศกาล” ของฝรั่งเศส ราวปี ค.ศ. 1400 เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร (Illuminated manuscript) หรือหนังสือตัวเขียนสีวิจิตร คือเอกสารตัวเขียนที่ตัวหนังสือตกแต่งเพิ่มเติมด้วยสีสรรค์เช่นตัวหนังสือตัวแรกที่ขยายใหญ่ขึ้นและเล่นลายอย่างวิจิตร หรือเขียนขอบคัน หรือทำเป็นจุลจิตรกรรม ตามความหมายตรงตัวจะหมายถึงต้นฉบับที่ตกแต่งด้วยเงินและทอง แต่การใช้กันโดยทั่วไปโดยนักวิชาการสมัยใหม่ในปัจจุบันจะหมายถึงต้นฉบับใดก็ได้ที่มีการตกแต่งหรือหนังสือประกอบภาพจากทั้งทางตะวันตกและทางศาสนาอิสลาม งานเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรฉบับแรกที่สุดที่มีการตกแต่งพอประมาณมาจากสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงที่ 7 ส่วนใหญ่ทำในไอร์แลนด์, อิตาลี และประเทศอื่นๆ บนผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ความสำคัญของเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรมิใช่เพียงคุณค่าทางวรรณกรรมแต่ยังมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ด้วย ซี่งจะเห็นได้จากต้นฉบับเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรที่ทำให้เราเรียนรู้ถึงประวัติศาสตร์ โรมันและ กรีกที่ตกแต่งโดยผู้บันทึกและตกแต่งหนังสือตามอาราม เอกสารตัวเขียนสีวิจิตรส่วนใหญ่ที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบันมาจากยุคกลางแม้ว่าการสร้างเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจะทำกันมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เนื้อหาของงานส่วนใหญ่ในสมัยแรก ๆ จะเป็นงานศาสนา แต่ต่อมาโดยเฉพาะในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก็เริ่มมีงานทางโลกเพิ่มขึ้น และเกือบทั้งหมดจะทำเป็นหนังสือแต่ก็มีบ้างที่เป็นม้วนหรือเป็นแผ่นเดียวเขียนบนหนัง (อาจจะเป็นหนังลูกวัว, แกะ, หรือแพะ) ที่มีคุณภาพดี หลังปลายยุคกลางวัสดุที่ใช้เขียนก็เปลี่ยนมาเป็นกระดาษ เมื่อวิวัฒนาการพิมพ์เพิ่งเริ่มใหม่ๆ ผู้พิมพ์ก็อาจจะทิ้งช่องว่างไว้สำหรับพยัญชนะตัวแรก, ขอบ หรือ ภายเขียนย่อส่วนแต่การพิมพ์ทำให้ ศิลปะการทำเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรเสื่อมความนิยมลง แต่ก็ทำกันต่อมาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 แต่น้อยลงมากและทำสำหรับผู้มีฐานะดีจริงๆ เท่านั้น นอกจากเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจะเป็นตัวอย่างของสิ่งที่หลงเหลือมาจากยุคกลางแล้วก็ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมที่มาจากยุคกลางด้วย และบางครั้งก็เป็นจิตรกรรมอย่างเดียวที่เหลืออยู่จากยุคนั้น.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเอกสารตัวเขียนสีวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

อลิซาเบธแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน (Élisabeth de France หรือ Élisabeth de Valois, Isabel de Valois, Elisabeth of Valois) (2 เมษายน ค.ศ. 1545 - 3 ตุลาคม ค.ศ. 1568) เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ประสูติเมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1545 พระองค์เป็นพระธิดาองค์โตในพระเจ้าอองรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศสและแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ เอลิซาเบธแห่งวาลัวส์เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเอลิซาเบธแห่งวาลัวส์ สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง

อลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง (Élisabeth-Louise Vigée-Le Brun) หรือ มารี เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ (Marie Élisabeth-Louise Vigée; 16 เมษายน ค.ศ. 1755 - 30 มีนาคม ค.ศ. 1842) เป็นจิตรกรสมัยโรโคโคชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงในการเขียนจิตรกรรมภาพเหมือน เอลีซาแบ็ตแสดงความสนใจในศิลปะฟื้นฟูคลาสสิกแต่ไม่ได้จัดอยู่ในจิตรกรกลุ่มนี้เพราะความสนใจของเอลีซาแบ็ตจำกัดอยู่แต่เพียงการแต่งตัวของแบบที่เขียนให้เป็นคลาสสิก มิใช่ความสนใจในการสร้างจิตรกรรมประวัติศาสตร์แบบคลาสสิก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง · ดูเพิ่มเติม »

เอลเกรโก

“ภาพเหมือนตนเอง” (ค.ศ. 1604) โดยเอลเกรโก โดเมนิคอส เทโอโทโคพูลอส (Δομήνικος Θεοτοκόπουλος; Doménicos Theotokópoulos; ค.ศ. 1541 7 เมษายน ค.ศ. 1614) หรือที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในชื่อ เอลเกรโก (El Greco; "ชาวกรีก") เป็นจิตรกร ประติมากร และสถาปนิกสมัยเรอเนซองซ์คนสำคัญของประเทศสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพสีน้ำมัน เอลเกรโกมักจะลงนามในภาพเขียนด้วยชื่อเต็มเป็นภาษากรีก เอลเกรโกเกิดที่เกาะครีตซึ่งในสมัยนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐเวนิสและเป็นศูนย์กลางของศิลปะไบแซนไทน์ยุคปลาย เอลเกรโกได้รับการฝึกฝนลักษณะศิลปะไบแซนไทน์ก่อนที่เดินทางไปเวนิสเมื่ออายุ 26 ปึเช่นเดียวกับศิลปินชาวกรีกคนอื่น ๆJ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเอลเกรโก · ดูเพิ่มเติม »

เออแฌน เดอลาครัว

วาดตัวเอง พ.ศ. 2380 (ค.ศ. 1837) แฟร์ดีน็อง-วิกตอร์-เออแฌน เดอลาครัว เป็นศิลปินชาวฝรั่งเศส เขาสามารถเรียนจากงานของยุคอื่นๆ เขานับถือการใช้สีของราฟาเอล และพลังวาดภาพอย่างเต็มที่ของแรมบรังด์และรูเบนส์ การศึกษางานของปีเตอร์ พอล รูเบนส์อย่างใกล้ชิดของเขาทำให้เขาพัฒนารูปแบบภาพวาดที่ทิ้งความเข้มงวดของยุคคลาสสิก นำค่าแท้จริงของสีกลับมา เดอลาครัวมีอำนาจวาสนาจากคลาสสิก ศิลปะของเขาให้ทางเข้าตรงไปสู่สถานะทางอารมณ์ภายใน ดังนั้นมันกลายเป็นบางอย่างที่ศิลปะสมัยใหม่ (Modernism) จะเอาทิศทางมาจากมัน ศิลปะซึ่งปล่อยตัวมันเองให้เป็นอิสระอย่างเพิ่มขึ้นจากความจริงเพื่อหาค่าแท้จริงของมัน ราบเรียบ นามธรรมและเต็มไปด้วยอารมณ.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเออแฌน เดอลาครัว · ดูเพิ่มเติม »

เอดัวร์ มาแน

อดัวร์ มาแน (Édouard Manet,; 23 มกราคม ค.ศ. 1832 - 30 เมษายน ค.ศ. 1883) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีความสำคัญในการเขียนภาพสีน้ำมัน ผู้เป็นจิตรกรคนแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 19ที่เขียนภาพเกี่ยวกับชีวิตประจำวันของคนทั่วไป มาแนเป็นจิตรกรคนสำคัญที่มีบทบาทในการเปลี่ยนจากการเขียนภาพแบบเหมือนจริง (Realism) ไปเป็นแบบอิมเพรสชันนิสม์ “อาหารกลางวันบนลานหญ้า” (Le déjeuner sur l'herbe) และ “โอลิมเปีย” (Olympia) งานชิ้นเอกสองชิ้นของมาแนเป็นงานที่ทำให้เกิดมีความเห็นขัดแย้งกันมากและเป็นจุดที่ทำให้จิตรกรหนุ่ม ๆ รุ่นนั้นเริ่มหันมาวาดภาพอิมเพรสชันนิสม์—ซึ่งในปัจจุบันถือกันว่าเป็นจุดสำคัญของศิลปะที่แยกมาเป็นศิลปะสมัยใหม.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเอดัวร์ มาแน · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด มุงค์

อ็ดเวิร์ด มุงค์ (Edvard Munch; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1863 – 23 มกราคม ค.ศ. 1944) ศิลปินชาวนอร์เวย์ที่โด่งดังมากที่สุดคนหนึ่ง เป็นทั้งจิตรกรและช่างภาพพิมพ์ไม้ หินและเอ็ชชิ่ง เขาเป็นหนึ่งในศิลปินลัทธิสัญลักษณ์นิยม และได้รับการกย่องให้เป็นคนสำคัญในการพัฒนาลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ (Expressionism) ในเยอรมันและยุโรปกลาง ผลงานของมุงค์สะท้อนความทุกข์ยากและความขัดแย้งต่าง ๆ ในชีวิต ความทรงจำที่โหดร้ายในวัยเด็กและแผลในจิตใจทำให้เขาแสดงทัศนคติเรื่องความรัก สุราและความเลวร้ายของชีวิตลงในผลงาน ภาพของเขามักแสดงปัญหาสังคมและความกังวลของมนุษย์ เอ็ดเวิร์ด มุงค์โด่งดังในเยอรมนีทันทีที่ผลงานของเขาร่วมแสดงในนิทรรศการ Verein Berliner Künstler ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเอ็ดเวิร์ด มุงค์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์

มส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์ (ภาษาอังกฤษ: James Abbott McNeill Whistler) (11 กรกฎาคม ค.ศ. 1834 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1903) เป็นจิตรกรชาวอเมริกันที่ตั้งถิ่นฐานในอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมสีน้ำมัน เจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1834 ที่เมืองโลเวลล์ในรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1903 ที่เมืองลอนดอนในอังกฤษ วิสต์เลอร์เป็นผู้นำในความคิดที่ว่า “ศิลปะเพื่อศิลปะ” (art for art's sake) ลายเซ็นที่มีชื่อเสียงของวิสต์เลอร์เป็นภาพผีเสื้อที่มีหางยาว ลายเซ็นเหมาะกับบุคลิกและลักษณะงานเขียนซึ่งเป็นลักษณะที่ละเอียดอ่อนแต่เป็นผู้ที่ชอบการเผชิญหน้า วิสต์เลอร์มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างจิตรกรรมและดนตรีซึ่งจะเห็นจากการตั้งชื่อภาพเขียนที่ใช้ศัพท์ทางดนตรีเช่น “arrangements” “harmonies” หรือ “nocturnes” และเน้นงานเขียนในด้านความผสานของโทนสี งานชิ้นที่สำคัญที่สุดของวิสต์เลอร์คือภาพ “มารดาของวิสต์เลอร์” (Whistler's Mother) ที่มีศิลปะที่ทำล้อเลียนกันมาก วิสต์เลอร์เป็นผู้มีปฏิภาณดีและไม่อายที่จะส่งเสริมตนเอง แต่ก็ผู้มีอิทธิพลต่อศิลปะและวัฒนธรรมร่วมสมัยและมีความสัมพันธ์กับและมีอิทธิพลต่อศิลปินและนักเขียนคนอื่นๆ ในสมัยนั้นเป็นอันมาก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจนตีเล เบลลีนี

็นทิเล เบลลินี (ภาษาอังกฤษ: Gentile Bellini) (ค.ศ. 1429 - ค.ศ. 1507) เป็นจิตรกรสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพเหมือน เจ็นทิเล เบลลินีเกิดราว..1429 ที่ เวนิส, ประเทศอิตาลี และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเจนตีเล เบลลีนี · ดูเพิ่มเติม »

เดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-โรม)

วิดกับหัวโกไลแอธ (David with the Head of Goliath) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่หอศิลป์บอร์เกเซในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “เดวิดกับหัวโกไลแอธ” ฉบับเวียนนาเขียนราวระหว่างปี ค.ศ. 1609 ถึงปี ค.ศ. 1610 เป็นภาพเขียนที่เป็นของคาร์ดินัลสคิปิโอเน บอร์เกเซ ในปี..

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเดวิดกับหัวโกไลแอธ (คาราวัจโจ-โรม) · ดูเพิ่มเติม »

เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์

ปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ เปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ (Peter Paul Rubens,; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2120 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2183) เป็นจิตรกรชาวเฟลมิชที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีผลงานในรูปแบบศิลปะบาโรก.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์ · ดูเพิ่มเติม »

เนือร์นแบร์ค

นือร์นแบร์ค (Nürnberg) หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า นูเร็มเบิร์ก (Nuremberg) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐไบเอิร์น (บาวาเรีย) ประเทศเยอรมนี ห่างจากนครมิวนิกขึ้นไปทางทิศเหนือประมาณ 170 กิโลเมตร ปัจจุบันมีประชากรประมาณ 500,000 คน เนือร์นแบร์คมีประวัติศาสตร์ถอยไปถึง ค.ศ. 1050 โดยเป็นเมืองของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เมืองนี้เป็นศูนย์ประชุมหลักของพรรคนาซี และหลังสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ทำพิจารณาคดีต่อเหล่าอาชญากรสงคราม หลังจากนาซีเยอรมันพ่ายแพ้.

ใหม่!!: ภาพเหมือนตนเองและเนือร์นแบร์ค · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Self portraitSelf portraitsSelf-portraitSelf-portraits

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »