สารบัญ
7 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2497พ.ศ. 2498กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)สำนักงานราชบัณฑิตยสภาสงครามโลกครั้งที่สองประเทศไทยแผลเปื่อย
- ภาวะเกี่ยวกับผิวหนังซึ่งสัมพันธ์กับการติดเชื้อแบคทีเรีย
- โรคติดเชื้อแบคทีเรีย
- โรคเขตร้อน
พ.ศ. 2497
ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.
พ.ศ. 2498
ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)
กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.
ดู กำแพงพังและกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.
ดู กำแพงพังและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู กำแพงพังและสงครามโลกครั้งที่สอง
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
แผลเปื่อย
แผลเปื่อย (ulcer) หรือแผล เป็นรอยโรคบนผิวหนังหรือเยื่อเมือก ร่วมกับมีการขาดตอนหรือการสลายของเนื้อเยื่อ แผลเปื่อยอาจส่งผลให้เสียชั้นหนังกำพร้าทั้งหมด และบ่อยครั้งรวมถึงหนังแท้บางส่วน หรือแม้กระทั่งไขมันใต้หนัง แผลเปื่อยพบมากที่สุดที่ผิวหนังของรยางค์ล่างและในทางเดินอาหาร แผลเปื่อยที่ปรากฏบนผิวหนังมักเห็นเป็นเนื้อเยื่ออักเสบที่มีบริเวณผิวหนังแดง แผลเปื่อยผิวหนังมักเห็นได้ในกรณีการสัมผัสความร้อนหรือความเย็น การระคายเคืองหรือมีปัญหาต่อการไหลเวียนโลหิต แผลเปื่อยยังอาจเกิดจากการขาดการเคลื่อนไหว ซึ่งทำให้มีแรงกดต่อเนื้อเยื่อเป็นเวลานาน ความเครียดในระบบไหลเวียนโลหิตนี้ถูกแปลงเป็นแผลเปื่อยผิวหนัง ซึ่งทั่วไปเรียก แผลกดทับ แผลเปื่อยมักมีการติดเชื้อและเกิดหนอง หมวดหมู่:ตัจวิทยา.
ดูเพิ่มเติม
ภาวะเกี่ยวกับผิวหนังซึ่งสัมพันธ์กับการติดเชื้อแบคทีเรีย
- Fourniere's gangrene
- กลุ่มอาการผิวหนังลอกจากเชื้อสแตฟิโลค็อกคัส
- กาฬโรค
- กำแพงพัง
- ซิฟิลิส
- พังผืดอักเสบมีเนื้อตาย
- หนองในแท้
- แผลริมอ่อน
- แผลริมแข็ง
- แอนแทรกซ์
- โรคคุดทะราด
- โรคฉี่หนู
- โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย
- โรคบิดจากเชื้อชิเกลลา
- โรคพุพอง
- โรคเมลิออยด์
- โรคไลม์
- ไข้กระต่าย
- ไข้กาฬหลังแอ่น
- ไข้ดำแดง
โรคติดเชื้อแบคทีเรีย
- Acinetobacter baumannii
- Staphylococcus aureus
- กลุ่มอาการผิวหนังลอกจากเชื้อสแตฟิโลค็อกคัส
- กำแพงพัง
- ซิฟิลิส
- บาดทะยัก
- ฝากล่องเสียงอักเสบ
- ฝีรอบทอนซิล
- ฝีโบรดี
- พังผืดอักเสบมีเนื้อตาย
- ภาวะเลือดมีแบคทีเรีย
- เรื้อน
- แบคทีเรียก่อโรค
- แผลบูรูลี
- โรคคอตีบ
- โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย
- โรคบิดจากเชื้อชิเกลลา
- โรคไลม์
- โรคไอกรน
- ไข้กาฬหลังแอ่น
โรคเขตร้อน
- Echinococcosis
- Escherichia coli
- Salmonella
- กำแพงพัง
- พยาธิ
- มาลาเรีย
- หิด
- อหิวาตกโรค
- เรื้อน
- แผลบูรูลี
- แอฟริกัน ทริปาโนโซมิเอซิส
- โรคคุดทะราด
- โรคจากไข่พยาธิตัวตืด
- โรคฉี่หนู
- โรคชากาส
- โรคติดเชื้อลิชมาเนีย
- โรคที่ไม่ได้รับการรักษา
- โรคพยาธิกีเนีย
- โรคพยาธิตาบอด
- โรคพยาธิแส้ม้า
- โรคพยาธิใบไม้ในเลือด
- โรคพยาธิไส้เดือน
- โรคพิษสุนัขบ้า
- โรคริดสีดวงตา
- โรคเขตร้อน
- โรคไข้ริฟต์แวลลีย์
- โรคไวรัสอีโบลา
- ไข้เด็งกี
- ไข้เลือดออกจากไวรัส
- ไข้เวสต์ไนล์
- ไข้เหลือง
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Tropical ulcerแผลประเทศร้อนแผลปากหมูแผลเปื่อยในประเทศร้อนโรคกำแพงพังโรคแผลปากหมู