สารบัญ
4 ความสัมพันธ์: กระจกตายาปฏิชีวนะตาบอดโรคที่ไม่ได้รับการรักษา
- ตาบอด
- โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา
- โรคเขตร้อน
กระจกตา
กระจกตา เป็นส่วนโปร่งใสด้านหน้าของตาซึ่งคลุมอยู่หน้าม่านตา, รูม่านตา, และห้องหน้า (anterior chamber) กระจกตาทำหน้าที่หักเหแสงร่วมกับเลนส์ตา (lens) และช่วยในการโฟกัสภาพ โดยกระจกตามีส่วนเกี่ยวกับกำลังการรวมแสง (optical power) ของตาถึง 80%Cassin, B.
ยาปฏิชีวนะ
การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".
ตาบอด
ตาบอด เป็นความพิการในลักษณะหนึ่งของร่างกาย ผู้ที่ตาบอดจะไม่สามารถมองเห็นภาพได้หรือมองเห็นได้เพียงบางส่วน ในอเมริกาเหนือและยุโรป จะถือว่า ผู้ที่ ตาบอดทางกฎหมาย หมายถึงผู้ที่มีวิสัยการมองเห็นภาพได้ไม่เกิน 20 องศา (จากวิสัยของคนปกติประมาณ 180 องศา) หมวดหมู่:การมองเห็น หมวดหมู่:ตาบอด.
โรคที่ไม่ได้รับการรักษา
รคที่ไม่ได้รับการรักษา หรือ โรคที่ถูกละเลย (Neglected disease) คือกลุ่มของโรคติดเชื้อเขตร้อนที่ระบาดในกลุ่มประชากรที่มีรายได้น้อยในพื้นที่ที่กำลังพัฒนา อาจมีนิยามแตกต่างกันไปตามแต่ละองค์กรที่ทำงานเกี่ยวข้อง โรคเหล่านี้บางโรคมีวิธีป้องกันได้ หรือมีวิธีรักษาได้ในระยะเฉียบพลัน ซึ่งถ้ามีก็มักจะมีเฉพาะในประเทศที่พัฒนาแล้ว แต่ไม่ได้มีแพร่หลายทั่วไป โดยเฉพาะในพื้นที่ยากจนที่ไม่สามารถเข้าถึงยาและการรักษาบางอย่างได้ แม้บางครั้งยาหรือการรักษาเหล่านี้ก็ไม่ได้มีราคาแพงแต่อย่างใด ตัวอย่างเช่น ค่ารักษาโรคพยาธิใบไม้ชิสโตโซมาอยู่ที่ 0.20 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อผู้ป่วยเด็ก 1 คน ใน 1 ปี เป็นต้น.
ดู โรคริดสีดวงตาและโรคที่ไม่ได้รับการรักษา
ดูเพิ่มเติม
ตาบอด
- การกำหนดที่ตั้งวัตถุด้วยเสียงสะท้อนในมนุษย์
- การเจริญเรตินาขึ้นมาทดแทน
- ความบอดการเห็นเป็น 3 มิติ
- ต้อกระจก
- ต้อหิน
- โรคจอตามีสารสี
- โรคจอตาเหตุเบาหวาน
- โรคริดสีดวงตา
โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา
- กลุ่มอาการสายตาคอมพิวเตอร์
- กลุ่มอาการหลงผิดว่าตายังคงอยู่
- ต้อกระจก
- เดอร์มอยด์ซีสต์
- เยื่อตาอักเสบ
- โรคริดสีดวงตา
โรคเขตร้อน
- Echinococcosis
- Escherichia coli
- Salmonella
- กำแพงพัง
- พยาธิ
- มาลาเรีย
- หิด
- อหิวาตกโรค
- เรื้อน
- แผลบูรูลี
- แอฟริกัน ทริปาโนโซมิเอซิส
- โรคคุดทะราด
- โรคจากไข่พยาธิตัวตืด
- โรคฉี่หนู
- โรคชากาส
- โรคติดเชื้อลิชมาเนีย
- โรคที่ไม่ได้รับการรักษา
- โรคพยาธิกีเนีย
- โรคพยาธิตาบอด
- โรคพยาธิแส้ม้า
- โรคพยาธิใบไม้ในเลือด
- โรคพยาธิไส้เดือน
- โรคพิษสุนัขบ้า
- โรคริดสีดวงตา
- โรคเขตร้อน
- โรคไข้ริฟต์แวลลีย์
- โรคไวรัสอีโบลา
- ไข้เด็งกี
- ไข้เลือดออกจากไวรัส
- ไข้เวสต์ไนล์
- ไข้เหลือง
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Trachoma