สารบัญ
3 ความสัมพันธ์: ระบบไหลเวียนความเด่น (พันธุศาสตร์)เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย
- ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ
- ภาวะแทรกซ้อนของการดูแลทางศัลยกรรมและอายุรกรรม
- โรคของไอออนแชนเนล
- โรคหายาก
ระบบไหลเวียน
ระบบไหลเวียน หรือ ระบบหัวใจหลอดเลือด เป็นระบบอวัยวะซึ่งให้เลือดไหลเวียนและขนส่งสารอาหาร (เช่น กรดอะมิโนและอิเล็กโทรไลต์) ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ฮอร์โมน และเม็ดเลือดเข้าและออกเซลล์ในร่างกายเพื่อหล่อเลี้ยงและช่วยต่อสู้โรค รักษาอุณหภูมิและ pH ของร่างกาย และรักษาภาวะธำรงดุล มักมองว่าระบบไหลเวียนประกอบด้วยทั้งระบบหัวใจหลอดเลือด ซึ่งกระจายเลือด และระบบน้ำเหลือง ซึ่งไหลเวียนน้ำเหลือง ทั้งสองเป็นระบบแยกกัน ตัวอย่างเช่น ทางเดินน้ำเหลืองยาวกว่าหลอดเลือดมาก เลือดเป็นของเหลวอันประกอบด้วยน้ำเลือด เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดซึ่งหัวใจทำหน้าที่ไหลเวียนผ่านระบบหลอดเลือดสัตว์มีกระดูกสันหลัง โดยน้ำออกซิเจนและสารอาหารไปและของเสียกลับจากเนื้อเยื่อกาย น้ำเหลือง คือ น้ำเลือดส่วนเกินที่ถูกกรองจากของเหลวแทรก (interstitial fluid) และกลับเข้าสู่ระบบน้ำเหลือง ระบบหัวใจหลอดเลือดประกอบด้วยเลือด หัวใจและหลอดเลือด ส่วนระบบน้ำเหลืองประกอบด้วยน้ำเหลือง ปุ่มน้ำเหลืองและหลอดน้ำเหลือง ซึ่งคืนน้ำเลือดที่กรองมาจากของเหลวแทรกในรูปน้ำเหลือง มนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นมีระบบหัวใจหลอดเลือดแบบปิด คือ เลือดไม่ออกจากเครือข่ายหลอดเลือดแดง หลอดเลือดดำและหลอดเลือดฝอย แต่กลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางกลุ่มมีระบบหัวใจหลอดเลือดแบบเปิด ในทางตรงข้าม ระบบน้ำเหลืองเป็นระบบเปิดซึ่งให้ทางที่จำเป็นแก่ของเหลวระหว่างเซลล์ส่วนเกินกลับเข้าสู่หลอดเลือดได้ ไฟลัมสัตว์ไดโพลบลาสติก (diploblastic) บางไฟลัมไม่มีระบบไหลเวียน.
ดู ไข้สูงอย่างร้ายและระบบไหลเวียน
ความเด่น (พันธุศาสตร์)
แผนภาพพงสาวลีแสดงการถ่ายทอดลักษณะซึ่งเป็นลักษณะเด่น ความเด่น (dominance) เป็นความสัมพันธ์ทางพันธุศาสตร์ระหว่างรูปแบบ (อัลลีล) สองรูปแบบของยีนหนึ่งๆ ซึ่งอัลลีลแบบหนึ่งจะบดบังการแสดงออกของอีกอัลลีลหนึ่ง ส่งผลต่อการแสดงเป็นลักษณะปรากฏ ในกรณีที่ไม่ซับซ้อนซึ่งยีนที่สนใจมีอัลลีลที่เป็นไปได้เพียง 2 แบบ คือ A กับ B จะสามารถเกิดการผสมกันของอัลลีลเป็นลักษณะทางพันธุกรรมหรือจีโนไทป์ได้ 3 แบบ คือ AA, BB และ AB ซึ่งหากพบว่าคนที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเป็น AB (เฮเทอโรไซกัส) มีลักษณะปรากฏหรือฟีโนไทป์เหมือนกันกับคนที่เป็น AA (โฮโมไซกัส) และคนที่เป็น BB มีลักษณะปรากฏที่แตกต่างออกไป จะถือว่า อัลลีล A มีลักษณะเด่น (dominate หรือ be dominant to) ต่ออัลลีล B และอัลลีล B ถือว่ามีลักษณะด้อย (be recessive to) ต่ออัลลีล A หลักการเบื้องต้นกำหนดให้อัลลีลที่เป็นลักษณะเด่นเขียนด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ และอัลลีลที่เป็นลักษณะด้อยเขียนด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก ดังนั้นในกรณีนี้ก็จะต้องใช้ a แทน B ทำให้ A มีลักษณะเด่นต่อ a (และ a มีลักษณะด้อยต่อ A) และลักษณะพันธุกรรมที่เป็น AA กับ Aa จะทำให้มีลักษณะปรากฏที่เหมือนกัน ส่วน aa จะทำให้มีลักษณะปรากฏที่แตกต่างออกไป.
ดู ไข้สูงอย่างร้ายและความเด่น (พันธุศาสตร์)
เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย
นื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย (striated muscle tissue) เป็นเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อซึ่งมีซาร์โคเมียร์ (sarcomere) ซ้ำ ๆ ซึ่งต่างจากเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อเรียบ กล่าวโดยเจาะจง กล้ามเนื้อลาย ได้แก.
ดู ไข้สูงอย่างร้ายและเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลาย
ดูเพิ่มเติม
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ
- ตะคริว
- อัมพาตเป็นระยะจากต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
- ไข้สูงอย่างร้าย
ภาวะแทรกซ้อนของการดูแลทางศัลยกรรมและอายุรกรรม
- ภาวะสเต็มเซลล์ใหม่ต้านร่างกายผู้ป่วย
- แอนาฟิแล็กซิส
- ไข้สูงอย่างร้าย
โรคของไอออนแชนเนล
- กลุ่มอาการระยะคิวทียาว
- ซิสติก ไฟโบรซิส
- อัมพาตเป็นระยะจากโพแทสเซียมในเลือดต่ำเกิน
- อาการไม่ไวความเจ็บปวดแต่กำเนิด
- โรคของไอออนแชนเนล
- โรคจอตามีสารสี
- ไข้สูงอย่างร้าย
โรคหายาก
- Vestibular schwannoma
- กระดูกอ่อนไม่เจริญ
- กลุ่มอาการวิสก็อตต์-อัลดริช
- กลุ่มอาการเตตรา-อะมีเลีย
- กลุ่มอาการเทรเชอร์ คอลลินส์
- กลุ่มอาการโซลลิงเจอร์–เอลลิสัน
- การเจริญผิดปกติของหลอดลมและเนื้อปอด
- ความดันโลหิตในปอดสูง
- ซิสติก ไฟโบรซิส
- ตัวเตี้ยแบบไม่สามารถรอดชีวิตได้
- ทาลัสซีเมียแบบบีตา
- ทูเบอรัส สเคลอโรซิส
- ท่อน้ำดีตัน
- ประสาทหลอนเสียงดนตรี
- พังผืดอักเสบมีเนื้อตาย
- ฟีนิลคีโตนูเรีย
- ภาวะกะเทยแท้
- ภาวะง่วงเกิน
- ภาวะพร่องเอนไซม์ไรโบส-5-ฟอสเฟตไอโซเมอเรส
- ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหลายอย่างรวมกันแบบรุนแรง
- ภาวะมีกรดไอโซวาลิริกในเลือด
- ภาวะมีไตรเมทิลามีนในปัสสาวะ
- หัวใจอยู่นอกที่
- ออสติโอคอนไดรติส ดีสซิแคนส์
- อะไมโอโทรฟิก แลเทอรัล สเกลอโรซิส
- อัมพาตเป็นระยะจากโพแทสเซียมในเลือดต่ำเกิน
- อาการไม่ไวความเจ็บปวดแต่กำเนิด
- เด็กดักแด้
- เบาจืด
- แฝดติดกัน
- โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลัง
- โรคกอรัม
- โรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ
- โรคปัสสาวะน้ำเชื่อมเมเพิล
- โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก
- โรคสติลล์ที่เริ่มเป็นในผู้ใหญ่
- โรคหนังแข็ง
- โรคหายาก
- โรคฮิสทิโอไซต์เซลล์ลางเกอร์ฮานส์
- โรคฮีโมฟิเลีย
- โรคเกาเชอร์
- โรคเส้นประสาทตากับไขสันหลังอักเสบ
- โรคเฮิร์ซปรุง
- โรคแฮนด์-ชุลเลอร์-คริสเตียน
- ไข้ดำแดง
- ไข้สูงอย่างร้าย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Malignant hyperthemiaMalignant hyperthermia