โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ท่อน้ำดีตัน

ดัชนี ท่อน้ำดีตัน

ท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเน.

33 ความสัมพันธ์: บิลิรูบินพ.ศ. 2552การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางการแพทย์การกลายพันธุ์การวินิจฉัยแยกโรคการหลุดหายการถ่ายเลือดการคลอดก่อนกำหนดการตัดเนื้อออกตรวจการปลูกถ่ายตับกุมารเวชศาสตร์มะเร็งเซลล์ตับมิญชวิทยาม้ามยาปฏิชีวนะลำไส้เล็กวิทยาเซรุ่มศัลยศาสตร์หัวใจหนูอุจจาระทางเดินอาหารของมนุษย์ดีซ่านตับตับอักเสบจากไวรัสซัยโตเมกาโลไวรัสปัสสาวะนีโอมัยซินแบคทีเรียแบคทีเรียแกรมลบโรคตับแข็งโรตาไวรัส6 กุมภาพันธ์

บิลิรูบิน

ลิรูบิน (bilirubin) หรือเดิมเคยถูกเรียกว่าฮีมาตอยดิน (hematoidin) เป็นสารสีเหลืองที่เป็นผลผลิตของการย่อยสลายฮีมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเฮโมโกลบินซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของเม็ดเลือดแดง บิลิรูบินถูกขับออกจากร่างกายผ่านทางน้ำดีและปัสสาวะ การมีระดับบิลิรูบินในเลือดสูงขึ้นอาจบ่งบอกถึงโรคบางอย่าง สารนี้เป็นสารที่ทำให้แผลฟกช้ำ ปัสสาวะ และผิวหนังของผู้ที่มีภาวะดีซ่านเป็นสีเหลือง นอกจากนี้ยังพบได้ในพืชด้ว.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและบิลิรูบิน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางการแพทย์

การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง หรือ อัลตราซาวด์ (ultrasonography) หมายถึง คลื่นเสียงความถี่สูงที่มากกว่า 20,000 Hz ในทางการแพทย์หลักการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงหรือ Ultrasounographyคือ การส่งคลื่นเสียงความถี่สูงออกไป จากหัวตรวจ (Transdneer) คลื่นเสียงจะกระทบกับเนื้อเยื่อต่างๆ ซึ่งมีความสามารถในการผ่านและสะท้อนกลับไม่เท่ากัน หัวตรวจจะทำหน้าที่รับสัญญาณคลื่นเสียงที่สะท้อนกลับระดับต่างๆ ซึ่งบ่งถึงความหนาแน่น และระดับความลึกของเนื้อเยื่อนั้นนำสัญญาณที่ได้รับมาประมวลผลและสร้างเป็นภาพขึ้นม.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและการบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

การกลายพันธุ์

การกลายพันธุ์ (mutation) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปลี่ยนแปลงของยีน ทำให้สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาใหม่มีลักษณะแตกต่างจากกลุ่มปกติ, วันที่สืบค้น 25 พฤษภาคม 2559 จาก www.thaibiotech.info.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและการกลายพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

การวินิจฉัยแยกโรค

การวินิจฉัยแยกโรค (differential diagnosis) เป็นกระบวนการหนึ่งของการวินิจฉัยทางการแพทย์ ที่เป็นการพิจารณาว่าโรคหรือภาวะหนึ่งๆ มีความเหมือนหรือต่างจากโรคหรือภาวะอื่นๆ ที่อาจมีลักษณะทางคลินิกใกล้เคียงกันอย่างไรบ้าง ทำโดยแพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุขเพื่อหาคำวินิจฉัยที่ถูกต้องของผู้ป่วย หรืออย่างน้อยทำเพื่อตรวจดูว่าผู้ป่วยที่มาด้วยอาการดังที่เห็นนี้มีโรคที่เป็นอันตรายมากหรือไม่ เพื่อแยกโรคที่อันตรายเหล่านั้นออกไปก่อนเป็นสำคัญ แต่ละตัวเลือกมักถูกเรียกว่าคำวิจิจฉัยแยกโรค เช่น ผู้ป่วยที่มาด้วยอาการไอ เมื่อผ่านการตรวจแล้วอาจได้คำวินิจฉัยสุดท้ายเป็นไข้หวัดธรรมดา แต่ระหว่างนั้นแพทย์อาจมีคำวินิจฉัยแยกโรคในใจคือโรคหลอดลมอักเสบ ซึ่งจะต้องซักประวัติและตรวจร่างกายหรือแม้แต่ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ป่วยไม่ได้เป็นโรคอันตรายดังที่ว่านั้น เป็นต้น.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและการวินิจฉัยแยกโรค · ดูเพิ่มเติม »

การหลุดหาย

ในสาขาวิชาพันธุศาสตร์ การหลุดหาย เป็นการกลายพันธุ์อย่างหนึ่งที่มีส่วนหนึ่งของโครโมโซมหรือดีเอ็นเอหายไป การหลุดหายทำให้เกิดการสูญเสียสารพันธุกรรมไป อาจมีนิวคลีโอไทด์หลุดหายไปจำนวนเท่าใดก็ได้ ตั้งแต่หนึ่งลำดับเบสไปจนถึงโครโมโซมทั้งอัน การหลุดหายอาจเป็นสาเหตุของโรคทางพันธุกรรมได้หลายชน.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและการหลุดหาย · ดูเพิ่มเติม »

การถ่ายเลือด

การถ่ายเลือดโดยทั่วไปเป็นกระบวนการรับผลิตภัณฑ์ของเลือดเข้าระบบไหลเวียนของบุคคลเข้าหลอดเลือดดำ การถ่ายเลือดใช้ในภาวะการแพทย์ต่าง ๆ เพื่อทดแทนส่วนประกอบของเลือดที่เสียไป การถ่ายเลือดช่วงแรก ๆ ใช้เลือดเต็ม แต่เวชปฏิบัติสมัยใหม่ทั่วไปใช้เฉพาะบางองค์ประกอบของเลือดเท่านั้น เช่น เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว น้ำเลือด ปัจจัยจับลิ่มของเลือด (clotting factor) และเกล็ดเลือ.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและการถ่ายเลือด · ดูเพิ่มเติม »

การคลอดก่อนกำหนด

การคลอดก่อนกำหนด (preterm birth) นั้นสำหรับมนุษย์มักหมายถึงการคลอดทารกก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ มักมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เรียกว่า “ทารกน้ำหนักน้อย” ถ้าคลอดก่อน 30-32 สัปดาห์ น้ำหนักเฉลี่ยน้อยกว่า 1,500 กรัม เรียกว่า “ทารกน้ำหนักน้อยมาก” สาเหตุของการคลอดก่อนกำหนดนั้นในหลายครั้งมักไม่ปรากฏสาเหตุชัดเจน ปัจจัยที่มีผลหรือสัมพันธ์กับการเกิดการคลอดก่อนกำหนดนั้นมีหลายอย่างมาก ทำให้ความพยายามในการลดการคลอดก่อนกำหนดนั้นเป็นการยากอย่างยิ่ง premature birth มักใช้ในความหมายเดียวกันกับ preterm birth หมายถึงการที่ทารกคลอดก่อนที่อวัยวะต่างๆ จะเจริญเต็มที่พอที่จะมีชีวิตรอดและเจริญเติบโตได้ ทารกที่ premature จะมีความเสี่ยงสูงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงอาจมีความผิดปกติในการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางสติปัญญาได้ด้วย ในปัจจุบันการดูแลทารก premature มีความก้าวหน้ามาก แต่ยังไม่สามารถลดความชุก (prevalence) ของการคลอดก่อนกำหนดได้ ปัจจุบันการคลอด preterm เป็นสาเหตุที่สำคัญที่สุดของการมีทารก premature และเป็นสาเหตุสำคัญของอัตราตายแรกเกิด (neonatal mortality) ในประเทศที่กำลังพัฒน.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและการคลอดก่อนกำหนด · ดูเพิ่มเติม »

การตัดเนื้อออกตรวจ

การตัดเนื้อสมองออกตรวจ การตัดเนื้อออกตรว.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและการตัดเนื้อออกตรวจ · ดูเพิ่มเติม »

การปลูกถ่ายตับ

การปลูกถ่ายตับ (liver transplantation) คือการเปลี่ยนตับที่เป็นโรคด้วยตับที่ปกติ ส่วนใหญ่เป็นการปลูกถ่ายโดยผ่าตัดเอาตับเดิมออกและใส่ตับใหม่ลงแทนที่ในตำแหน่งเดิม ปัจจุบันการปลูกถ่ายตับเป็นวิธีรักษาโรคตับระยะสุดท้ายและตับวายเฉียบพลันที่ได้รับการยอมรับเป็นอย่างดี และยังเป็นการรักษาที่มีค่าใช้จ่ายมากที่สุดชนิดหนึ่งในการแพทย์แผนปัจจุบันอีกด้วย การผ่าตัดเพื่อปลูกถ่ายตับนั้นใช้ทรัพยากรมากและใช้เวลาตั้งแต่ 4-18 ชั่วโมง ขึ้นกับผลการรักษา โดยจำเป็นต้องมีการตัดหลอดเลือด เชื่อมต่อหลอดเลือด เชื่อมเนื้อเยื่อของตับและช่องท้องเป็นจำนวนมาก และจำเป็นต้องมีการคัดเลือกผู้ที่จะรับการปลูกถ่ายเพื่อเปรียบเทียบความเข้ากันได้ของเนื้อเยื่อเป็นอย่างดี หมวดหมู่:วิทยาทางเดินอาหาร หมวดหมู่:วิทยาตับ หมวดหมู่:หัตถการทางศัลยศาสตร์ หมวดหมู่:การปลูกถ่ายอวัยวะ.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและการปลูกถ่ายตับ · ดูเพิ่มเติม »

กุมารเวชศาสตร์

การตรวจร่างกายเด็ก กุมารเวชศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของแพทยศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลทางการแพทย์แก่ทารก, เด็ก, และวัยรุ่น กล่าวคือตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุประมาณ 14-18 ปีขึ้นกับเกณฑ์ของแต่ละสถานที่และประเทศ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์จะเรียกว่า กุมารแพทย์ (pediatrician) ซึ่งต้องสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และแพทย์ประจำบ้านด้านกุมารเวชศาสตร์ แล้วได้ผ่านการสอบเพื่อวุฒิบัตรและหนังสืออนุมัติเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขากุมารเวชศาสตร์ ซึ่งในประเทศไทยออกให้โดยแพทยสภา คำว่า pediatrics มาจากรากศัพท์ในภาษากรีก παῖdh pais แปลว่าเด็ก และ ἰατρός iatros แปลว่าแพทย์หรือผู้รักษา เมื่อรวมกันจึงแปลว่า ผู้ที่รักษาเด็ก สำหรับในภาษาไทย "กุมาร" หมายถึง เด็กเล็ก ซึ่งมาจากภาษาบาลี หมายถึง "เด็กผู้ชาย" หรือ "บุตรชาย".

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและกุมารเวชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มะเร็งเซลล์ตับ

มะเร็งเซลล์ตับ หรือ เฮปาโตเซลลูลาร์ คาร์ซิโนมา (hepatocellular carcinoma - HCC) เป็นมะเร็งที่กำเนิดขึ้นในตับ มะเร็งเซลล์ตับเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 จากการเสียชีวิตจากมะเร็งทุกชนิดทั่วโลก โดยมีผู้ป่วยอยู่กว่า 500,000 คน อุบัติการณ์ของมะเร็งเซลล์ตับพบมากในเอเชียและแอฟริกาซึ่งมีการระบาดของโรคตับอักเสบจากไวรัสตับอักเสบบีและซีอยู่มาก โรคตับอักเสบจากไวรัสนี้มีส่วนอย่างมากในการทำให้เกิดโรคตับเรื้อรังและนำไปสู่มะเร็งเซลล์ตับในที่สุด อาการที่นำผู้ป่วยมะเร็งเซลล์ตับมาพบแพทย์ในปัจจุบันเปลี่ยนไปจากอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมาพบแพทย์ในระยะท้ายของโรคด้วยอาการปวดท้องด้านบนขวา น้ำหนักลด และมีอาการแสดงของโรคตับที่เป็นมากเกินกว่าร่างกายจะชดเชยได้ ปัจจุบันมะเร็งเซลล์ตับได้รับการตรวจพบในระยะแรกๆ มากขึ้นเนื่องจากการตรวจคัดกรองที่ทำเป็นประจำในผู้ป่วยตับแข็งโดยใช้ภาพถ่ายรังสีส่วนตัดและการตรวจด้วยระดับอัลฟาฟีโตโปรตีนในเลือด ผู้ป่วยบางรายอาจได้รับผลดีจากการผ่าตัดเอาก้อนเนื้อออกแม้จะชั่วคราว ในขณะที่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถรับการรักษาด้วยการผ่าตัดเอาก้อนเนื้อออกได้เนื่องจากเมื่อตรวจพบโรคก็ลุกลามไปมากแล้ว หรือจากความรุนแรงของโรคตับเองซึ่งควรจะได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดเปลี่ยนตับ โดยรวมทั่วโลกมีผู้ป่วยเพียงจำนวนน้อยที่สามารถเข้าถึงการผ่าตัดปลูกถ่ายอวัยวะได้ แม้แต่ในประเทศพัฒนาแล้วก็ยังมีข้อจำกัดเรื่องความขาดแคลนอวัยวะ ในผู้ป่วยเหล่านี้การรักษาแบบทำลายชิ้นเนื้อเฉพาะที่เช่นการรักษาด้วยการทำลายชิ้นเนื้อด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (radiofrequency ablation) การอุดหลอดเลือดด้วยยา (chemoembolization) และยาเคมีบำบัดชนิดใหม่ๆ อาจช่วยยืดชีวิตของผู้ป่วยในลักษณะของการรักษาประทังได้.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและมะเร็งเซลล์ตับ · ดูเพิ่มเติม »

มิญชวิทยา

A stained histologic specimen, sandwiched between a glass microscope slide and coverslip, mounted on the stage of a light microscope. ภาพเนื้อเยื่อปอดย้อมด้วยสีฮีมาทอกซีลิน (Hematoxylin) และอีโอซิน (Eosin) ผู้ป่วยรายนี้มีอาการของโรคถุงลมโป่งพอง (emphysema) มิญชวิท.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและมิญชวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ม้าม

ำลองภายในม้าม (Gray's Anatomy) ม้าม (spleen) เป็นอวัยวะในร่างกายสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีรูปทรงเรียวรี คล้ายเมล็ดถั่ว เป็นอวัยวะที่ขจัดเชื้อโรคและเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ตายแล้วออกจากกระแสเลือด ม้ามจะอยู่บริเวณช่องท้องส่วนบน ใต้กะบังลมทางซ้าย และอยู่ใกล้กับตับอ่อน และไตซ้าย ถูกยึดติดไว้กับเยื่อบุช่องท้อง ม้ามมีขนาดแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล โดยในวัยผู้ใหญ่ ม้ามจะมีความยาวประมาณ 13 เซนติเมตร (ประมาณ 5 นิ้ว) และจะมีความกว้างประมาณ 10 เซนติเมตร (4 นิ้ว) และหนาประมาณ 3.8 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว) และมีน้ำหนักประมาณ 200 กรัม (7 ออนซ์) หลอดเลือดที่เข้าสู่ม้ามคือ หลอดเลือดสเปลนิกอาร์เตอร์รี่ (splenic artery) และเลือดจากม้ามจะไหลเข้าสู่ตั.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและม้าม · ดูเพิ่มเติม »

ยาปฏิชีวนะ

การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและยาปฏิชีวนะ · ดูเพิ่มเติม »

ลำไส้เล็ก

ลำไส้เล็ก เป็นอวัยวะซึ่งมีหน้าที่ย่อยอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน โดยวิลไล(มีหน้าที่เพิ่มพื้นที่ในการย่อยอาหารในลำไส้เล็ก) เอนไซม์ย่อยในลำไส้เล็กนั้นมาจากลำไส้เล็กหลั่งเองส่วนหนึ่งและตับอ่อนหลั่งส่วนหนึ่ง.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและลำไส้เล็ก · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาเซรุ่ม

วิทยาเซรุ่ม หรือวิทยาน้ำเหลือง (serology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับน้ำเลือด โดยทางปฏิบัติแล้วคำนี้หมายถึงการวินิจฉัยโรคโดยการตรวจแอนติบอดีในน้ำเลือด เนื่องจากร่างกายของมนุษย์จะสร้างแอนติบอดีขึ้นมาหลังจากการติดเชื้อเพื่อต่อต้านเชื้อจุลชีพ ต่อต้านโปรตีนที่มาจากภายนอกร่างกาย (เช่นจากการให้โลหิตผิดหมู่เลือด) หรือเป็นการต่อต้านโปรตีนจากร่างกายตัวเอง เช่นในโรคภูมิคุ้มกันต่อต้านตนเอง (autoimmune disease) แพทย์มักสั่งทำการทดสอบทางวิทยาเซรุ่มเพื่อวินิจฉัยหลังสงสัยการติดเชื้อ ในโรครูมาติก และในสถานการณ์อื่นๆ เช่นการตรวจหมู่เลือด การตรวจเลือดทางวิทยาเซรุ่มยังช่วยวินิจฉัยผู้ป่วยในโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องที่ร่างกายไม่สร้างแอนติบอดี อาทิ X-linked agammaglobulinemia ซึ่งจะแสดงผลการตรวจแอนติบอดีเป็นลบ วิธีการเลือกเทคนิคการทดสอบทางวิทยาเซรุ่มขึ้นกับชนิดของแอนติบอดีที่เราศึกษา วิธีต่างๆ ได้แก่ ELISA, การเกาะกลุ่ม (agglutination), การตกตะกอน (precipitation), การตรึงคอมพลีเมนท์ (complement-fixation), หรือการใช้เทคนิคเรืองแสง fluorescent antibodies การตรวจทางวิทยาเซรุ่มไม่จำกัดเฉพาะการตรวจน้ำเลือดเท่านั้น แต่สามารถทดสอบในสารน้ำในร่างกายอื่นๆ เช่น น้ำอสุจิและน้ำลาย ซึ่งมีคุณสมบัติค่อนข้างใกล้เคียงกับน้ำเหลือง การตรวจทางวิทยาเซรุ่มนอกจากใช้เพื่อวินิจฉัยแล้วยังใช้ในทางนิติวิทยาศาสตร์เพื่อหาตัวผู้กระทำความผิด เช่นการตรวจน้ำอสุจิในคดีข่มขืนกระทำชำเรา เป็นต้น.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและวิทยาเซรุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ศัลยศาสตร์

ัลยแพทย์ทรวงอกกำลังผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ ศัลยศาสตร์ หรือ ศัลยกรรม (surgery) เป็นการแพทย์เฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับการใช้หัตถการหรือเครื่องมือในการผ่าตัดเข้าในร่างกายผู้ป่วยเพื่อสืบค้นอาการ และ/หรือรักษาความผิดปกติ เช่น โรค หรือการบาดเจ็บต่าง ๆ เพื่อช่วยในการแก้ไขการทำงานหรือรูปลักษณ์ของร่างกาย หรือด้วยเหตุผลอื่น ๆ เรียกแพทย์ที่ศึกษามาเฉพาะทางศัลยศาสตร์ว่า ศัลยแพทย์ (surgeon) ศัลยแพทย์ในประเทศไทยต้องสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และสำเร็จการศึกษาแพทย์ประจำบ้านด้านศัลยศาสตร์แล้วได้ผ่านการสอบเพื่อวุฒิบัตรและหนังสืออนุมัติเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาศัลยศาสตร์ ของแพทยสภา และเป็นสมาชิกของราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและศัลยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจ

หัวใจ เป็นอวัยวะกล้ามเนื้อซึ่งสูบเลือดทั่วหลอดเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยการหดตัวเป็นจังหวะซ้ำ ๆ พบในสัตว์ทุกชนิดที่มีระบบไหลเวียน ซึ่งรวมสัตว์มีกระดูกสันหลังด้วย หัวใจสัตว์มีกระดูกสันหลังนั้นประกอบด้วยกล้ามเนื้อหัวใจและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเป็นหลัก กล้ามเนื้อหัวใจเป็นกล้ามเนื้อลายที่อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ พบเฉพาะที่หัวใจ และทำให้หัวใจสามารถสูบเลือดได้ หัวใจมนุษย์ปกติเต้น 72 ครั้งต่อนาที ซึ่งจะเต้นประมาณ 2,500 ล้านครั้งในช่วงอายุเฉลี่ย 66 ปี และสูบเลือดประมาณ 4.7-5.7 ลิตรต่อนาที หนักประมาณ 250 ถึง 300 กรัมในหญิง และ 300 ถึง 350 กรัมในชาย คำคุณศัพท์ cardiac มาจาก kardia ในภาษากรีก ซึ่งหมายถึงหัวใจ หทัยวิทยาเป็นแขนงแพทย์เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคและความผิดปกติของหัวใ.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและหัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

หนู

หนู เป็นสกุลของสัตว์ฟันแทะ ที่อยู่ในวงศ์ Muridae ใช้ชื่อสกุลว่า Rattus มีการกระจายพันธุ์อยู่ในซีกโลกที่เรียกว่า "โลกเก่า" อันได้แก่ ทวีปเอเชีย, ยุโรป และแอฟริกา ตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 2–3 เดือน ในขณะที่ตัวผู้อายุ 3 เดือนขึ้นไป.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและหนู · ดูเพิ่มเติม »

อุจจาระ

ี้ม้า อุจจาระ (คำอื่นๆ เช่น มูล, อึ, ขี้) คือ ของที่เหลือจากการย่อยจากระบบทางเดินอาหารของสิ่งมีชีวิตโดยถ่ายออกทางทวารหนัก ส่วนใหญ่จะมีกลิ่นเหม็นเนื่องจากแบคทีเรียในลำไส้ของสัตว์นั้น.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและอุจจาระ · ดูเพิ่มเติม »

ทางเดินอาหารของมนุษย์

right ระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal tract, GI tract, alimentary canal หรือ gut) ระบบทางเดินอาหาร อาจเรียกอีกอย่างว่าระบบย่อยอาหาร (digestive tract) ระบบอวัยวะนี้มีเฉพาะในสัตว์หลายเซลล์ (multicellular animals) ที่ต้องกินอาหารและย่อยอาหาร เพื่อรับสารอาหารและพลังงานและขับถ่ายของเสียออกไป.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและทางเดินอาหารของมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ดีซ่าน

ีซ่าน (jaundice) เป็นภาวะซึ่งผิวหนัง เยื่อบุตาขาว และเยื่อบุต่างๆ มีสีเหลืองผิดปกติ จากภาวะมีบิลิรูบินเกินในเลือด ซึ่งทำให้มีเกิดภาวะมีบิลิรูบินในสารน้ำนอกเซลล์เกินด้วยเช่นกัน ส่วนใหญ่แล้วต้องมีระดับของบิลิรูบินในน้ำเลือดเกินว่า 1.5 mg/dLGuyton, Arthur, and John Hall, John. Textbook of Medical Physiology, Saunders, September 2005, ISBN 978-0-7216-0240-0 (26 µmol/L) หรือมากกว่าสามเท่าของค่าปกติคือ 0.5 mg/dL จึงจะสามารถเห็นความเหลืองของสีผิวได้ด้วยตาเปล่า ดีซ่านมักพบได้ในโรคตับต่างๆ เช่นตับอักเสบ ตับแข็ง มะเร็งตับ นอกจากนั้นยังอาจบ่งชี้ว่ามีการอุดกั้นทางเดินน้ำดี เช่น จากนิ่วทางเดินน้ำดี หรือมะเร็งตับอ่อน หรืออาจเป็นความผิดปกติแต่กำเนิด ซึ่งพบได้ไม่บ่อ.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและดีซ่าน · ดูเพิ่มเติม »

ตับ

ตับ (liver) เป็นอวัยวะสำคัญที่พบในสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์บางชนิด ในร่างกายมนุษย์ อยู่ในช่องท้องซีกขวาด้านบนใต้กระบังลม มีหน้าที่หลายอย่างรวมทั้งการกำจัดพิษในเมแทบอไลท์ (metabolites) (สารที่ได้จากขบวนการเมแทบอลิซึม) การสังเคราะห์โปรตีน และการผลิตสารชีวเคมีต่างๆที่จำเป็นในกระบวนการย่อยอาหาร ถ้าตับล้มเหลว หน้าที่ของตับไม่สามารถทดแทนได้ในระยะยาว โดยที่เทคนิคการฟอกตับ (liver dialysis) อาจช่วยได้ในระยะสั้น ตับยังจัดเป็นต่อมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย ในศัพท์ทางการแพทย์ คำที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับตับจะขึ้นต้นด้วยคำว่า hepato- หรือ hepatic ซึ่งมาจากคำในภาษากรีก hepar ซึ่งหมายถึงตับ มีหน้าที่สำคัญในขบวนการเมแทบอลิซึมหลายประการในร่างกาย เช่นการควบคุมปริมาณไกลโคเจนสะสม การสลายเซลล์เม็ดเลือดแดง การสังเคราะห์พลาสมาโปรตีน การผลิตฮอร์โมน และการกำจัดพิษ ตับยังเป็นต่อมช่วยย่อยอาหารโดยผลิตน้ำดีซึ่งเป็นสารประกอบอัลคาไลน์ช่วยย่อยอาหารผลิตโดยขบวนการผสมกับไขมัน (emulsification of lipids) ถุงนํ้าดีจะใช้เป็นที่เก็บน้ำดีนี้ ถุงน้ำดีมีลักษณะเป็นถุงอยู่ใต้ตับ ก่อนอาหารถุงน้ำดีจะป่องมีขนาดเท่าผลลูกแพร์เล็กเต็มไปด้วยน้ำดี หลังอาหาร น้ำดีจะถูกนำไปใช้หมด ถุงน้ำดีจะแฟบ เนื้อเยื่อของตับมีความเป็นพิเศษอย่างมาก ส่วนใหญ่ประกอบด้วย hepatocytes ที่ควบคุมปฏิกิริยาชีวเคมีปริมาณสูง รวมทั้งการสังเคราะห์และการแตกตัวของโมเลกุลที่ซับซ้อนขนาดเล็กที่จำเป็นอย่างมากในการทำงานเพื่อการดำรงชีวิตปกติ หน้าที่การทำงานทั้งหมดอาจแตกต่างกันไป แต่ในตำราประมาณว่ามีจำนวนประมาณ 500 อย่าง.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและตับ · ดูเพิ่มเติม »

ตับอักเสบจากไวรัส

ตับอักเสบจากไวรัสคือการอักเสบของตับที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส อาจเป็นแบบเฉียบพลัน หรือเรื้อรังได้ เชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของตับอักเสบจากไวรัสที่พบบ่อยมี 5 ชนิด ซึ่งแต่ละชนิดไม่มีความเกี่ยวข้องกันโดยตรงทางสายพันธุ์ เพียงแต่ทำให้มีอาการตับอักเสบได้เหมือนกัน ไวรัสเหล่านี้ได้แก่ ไวรัสตับอักเสบเอ บี ซี ดี และอี นอกจากนี้ยังมีไวรัสอื่นๆ ที่ทำให้เกิดไวรัสตับอักเสบได้ แต่ไม่ได้ถูกเรียกชื่อเป็นไวรัสตับอักเสบโดยเฉพาะ ไวรัสเหล่านี้ เช่น ซัยโตเมกาโลไวรัส เอพสไตน์บาร์ไวรัส ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกีที่ทำให้เกิดไข้เลือดออก เป็นต้น หมวดหมู่:โรคตับ หมวดหมู่:ตับอักเสบ หมวดหมู่:สาเหตุของมะเร็งที่มาจากการติดเชื้อ.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและตับอักเสบจากไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

ซัยโตเมกาโลไวรัส

ซัยโตเมกาโลไวรัส (Cytomegalovirus, CMV) เป็นจีนัสหนึ่งของไวรัสในออร์เดอร์ Herpesvirales ซึ่งอยู่ในแฟมิลี Herpesviridae ซับแฟมิลี Betaherpesvirinae มีโฮสท์ธรรมชาติคือมนุษย์และลิง ปัจจุบันประกอบด้วยไวรัส 8 สปีชีส์ หนึ่งในนั้นคือฮิวแมนเฮอร์ปีส์ไวรัส 5 หรือฮิวแมนซัยโตเมกาโลไวรัส โรคที่เกิดจาก HHV-5 เช่น โมโนนิวคลีโอซิส ปอดอักเสบ เป็นต้น ส่วนใหญ่เรียกด้วยชื่อย่อว่า CMV.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและซัยโตเมกาโลไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

ปัสสาวะ

ตัวอย่างปัสสาวะมนุษย์ปัสสาวะ (ภาษาปากว่า ฉี่, เยี่ยว หรือ เบา) เป็นของเสียในรูปของเหลวที่ร่างกายขับถ่ายออกมาโดยไต ด้วยกระบวนการกรองจากเลือดและขับออกทางท่อปัสสาวะ ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการสร้างและสลายในระดับเซลล์ (cellular metabolism) แล้วทำให้เกิดสารประกอบไนโตรเจนที่เป็นของเสียจำนวนมาก ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออกจากกระแสเลือ.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและปัสสาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นีโอมัยซิน

นีโอมัยซิน (Neomycin) เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ มีจำหน่ายในท้องตลาดในหลายรูปแบบเภสัชภัณฑ์ เช่น ครีม, ขี้ผึ้ง, และยาหยอดยา นีโอมัยซินถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและนีโอมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

แบคทีเรีย

แบคทีเรีย หรือ บัคเตรี เป็นประเภทของสิ่งมีชีวิตประเภทใหญ่ประเภทหนึ่ง มีขนาดเล็ก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ส่วนใหญ่มีเซลล์เดียว และมีโครงสร้างเซลล์ที่ไม่ซับซ้อนมาก และโดยทั่วไปแบคทีเรียแบ่งได้หลายรูปแ.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและแบคทีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

แบคทีเรียแกรมลบ

รงสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมลบภาพจากกล้องจุลทรรศน์ของแบคทีเรียแกรมลบ ''Pseudomonas aeruginosa'' (ท่อนสีชมพู-แดง). แบคทีเรียแกรมลบ (Gram-negative bacteria) เป็น แบคทีเรีย ที่ไม่สามารถรักษาสีคริสทัลไวโอเลต ในการย้อมสีแบบแกรมได้ ในการย้อมสีแบบแกรม สีตรงข้าม (ปกติคือ ซาฟรานิน) ซึ่งเติมทีหลังคริสทัลไวโอเลต จะติดสีแบคทีเรียแกรมลบให้เป็นสีแดงหรือสีชมพู วิธีนี้เป็นประโยชน์ในการจำแนกแบคทีเรียขั้นต้น โดยใช้ความแตกต่างของผนังเซลล์ แบคทีเรียแกรมบวก จะยังคงรักษาสีม่วงของคริสตัลไวโอเลตได้แม้จะใช้สารชะสีออกแล้ว ความสามารถในการก่อโรคของแบคทีเรียแกรมลบเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบในผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมลบ ชั้นของลิโปโพลีแซคคาไรด์ (หรือ LPS หรือ ชั้นเอนโดทอกซิน).

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและแบคทีเรียแกรมลบ · ดูเพิ่มเติม »

โรคตับแข็ง

รคตับแข็ง เป็นภาวะซึ่งเป็นผลจากโรคตับเรื้อรัง มีลักษณะเฉพาะคือการมีเนื้อเยื่อพังผืดเกิดขึ้นในเนื้อตับ ดึงรั้งเนื้อตับดีจนเป็นผิวตะปุ่มตะป่ำเรียกว่า regenerative nodule ทำให้ตับเสียการทำงานลงไป ตับแข็งมักเกิดขึ้นเป็นผลจากพิษสุราเรื้อรัง ตับอักเสบจากไวรัส (โดยเฉพาะจากไวรัสตับอักเสบบีและซี) และโรคตับคั่งไขมัน รวมถึงสาเหตุอื่น ๆ อีกหลายอย่าง ภาวะแทรกซ้อนจากตับแข็งที่พบบ่อยคือภาวะท้องมาน ซึ่งมีความสัมพันธ์อย่างมากกับการสูญเสียคุณภาพชีวิต เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ และผลเสียในระยะยาว ภาวะแทรกซ้อนอื่นที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตคือโรคสมองที่เกิดจากตับ (hepatic encephalopathy) และการมีเลือดออกจากหลอดเลือดขอดในหลอดอาหาร (esophageal varices) ตับแข็งนั้นเมื่อเกิดแล้วมักไม่สามารถกลับเป็นปกติได้ การรักษาจึงมักมุ่งไปที่การยับยั้งการดำเนินโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อน หากเป็นมากอาจมีทางเลือกในการรักษาเพียงทางเดียวคือการผ่าตัดเปลี่ยนตั.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและโรคตับแข็ง · ดูเพิ่มเติม »

โรตาไวรัส

โรตาไวรัส (Rotavirus) เป็นชื่อจีนัสของเชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคลำไส้อักเสบจากเชื้อโรตาไวรัส ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะท้องร่วงรุนแรงในทารกและเด็กเล็กที่พบบ่อยที่สุด ไวรัสในจีนัสนี้เป็นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอสายคู่ อยู่ในแฟมิลีรีโอวิริดี เด็กแทบทุกคนบนโลกเมื่ออายุครบ 5 ปีจะเคยติดเชื้อนี้มาแล้วอย่างน้อยหนึ่งครั้ง แต่ละครั้งที่ติดเชื้อร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกัน ทำให้การติดเชื้อครั้งถัดๆ ไปมีความรุนแรงลดลง และทำให้โรคนี้พบได้น้อยในผู้ใหญ่ ไวรัสในจีนัสนี้มีสปีชีส์ย่อยอยู่ 8 สปีชีส์ ได้แก่ เอ บี ซี ดี อี เอฟ จี และเอช ที่พบบ่อยที่สุดคือโรตาไวรัสเอ ซึ่งเป็นสาเหตุของการติดเชื้อโรตาไวรัสในมนุษย์ถึง 90% เชื้อนี้ติดต่อผ่านทางการกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระที่มีเชื้อ เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วจะทำให้เกิดการติดเชื้อในเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็ก ทำให้เกิดกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ (บางครั้งเรียก "ไข้หวัดใหญ่ลงกระเพาะ" แต่เชื้อนี้ไม่มีความเกี่ยวข้องกับไวรัสไข้หวัดใหญ่แต่อย่างใด) หมวดหมู่:โรตาไวรัส.

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและโรตาไวรัส · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ท่อน้ำดีตันและ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Biliary atresiaCongenital biliary atresiaท่อน้ำดีตีบตันท่อน้ำดีตีบตันแต่กำเนิดโรคท่อน้ำดีตัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »