สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: การสลายให้กัมมันตรังสีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิการต่อต้านยิวการแบ่งแยกนิวเคลียสระบอบนาซีสมาคมมักซ์พลังค์จักรวรรดิเยอรมันประเทศเยอรมนีตะวันตกนิกายลูเทอแรนแฟรงก์เฟิร์ตเกิททิงเงินเคมีนิวเคลียร์
- ชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- ผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวเยอรมัน
- ผู้ได้รับพัวร์เลอเมรีท (ชั้นพลเรือน)
- ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี
- ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยมาร์บวร์ค
- ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยลูทวิช-มัคซีมีลีอานแห่งมิวนิก
การสลายให้กัมมันตรังสี
การสลายให้อนุภาคแอลฟา เป็นการสลายให้กัมมันตรังสีชนิดหนึ่งที่นิวเคลียสของอะตอมปลดปล่อย อนุภาคแอลฟา เป็นผลให้อะตอมแปลงร่าง (หรือ "สลาย") กลายเป็นอะตอมที่มีเลขมวลลดลง 4 หน่วยและเลขอะตอมลดลง 2 หน่วย การสลายให้กัมมันตรังสี (radioactive decay) หรือ การสลายของนิวเคลียส หรือ การแผ่กัมมันตรังสี (nuclear decay หรือ radioactivity) เป็นกระบวนการที่ นิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร สูญเสียพลังงานจากการปลดปล่อยรังสี.
ดู ออทโท ฮานและการสลายให้กัมมันตรังสี
การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ
การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ เป็นการโจมตีจักรวรรดิญี่ปุ่นด้วยอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกา เมื่อปลายสงครามโลกครั้งที่สอง โดยคำสั่งของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา แฮร์รี เอส.
ดู ออทโท ฮานและการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ
การต่อต้านยิว
การ์ตูนเยาะหยันชาวยิวจากฝรั่งเศส ค.ศ. 1898 หน้าปกหนังสือ “ทางสู่ชัยชนะของความเป็นเยอรมันต่อความเป็นยิว” โดยมารร์ ฉบับ ค.ศ.
การแบ่งแยกนิวเคลียส
prompt gamma rays) ออกมาด่วย (ไม่ได้แสดงในภาพ) การแบ่งแยกนิวเคลียส หรือ นิวเคลียร์ฟิชชัน (nuclear fission) ในสาขาฟิสิกส์นิวเคลียร์และเคมีนิวเคลียร์ เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์หรือกระบวนการการสลายกัมมันตรังสีอย่างหนึ่งที่นิวเคลียสของอะตอม แตกออกเป็นชิ้นขนาดเล็ก (นิวเคลียสที่เบากว่า) กระบวนการฟิชชันมักจะผลิตนิวตรอนและโปรตอนอิสระ (ในรูปของรังสีแกมมา) พร้อมทั้งปลดปล่อยพลังงานออกมาจำนวนมาก แม้ว่าจะเป็นการปลดปล่อยจากการสลายกัมมันตรังสีก็ตาม นิวเคลียร์ฟิชชันของธาตุหนักถูกค้นพบเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 1938 โดยชาวเยอรมัน นายอ็อตโต ฮาห์นและผู้ช่วยของเขา นายฟริตซ์ Strassmann และได้รับการอธิบายในทางทฤษฎีในเดือนมกราคมปี 1939 โดยนาง Lise Meitner และหลานชายของเธอ นายอ็อตโต โรเบิร์ต Frisch.
ดู ออทโท ฮานและการแบ่งแยกนิวเคลียส
ระบอบนาซี
นาซี (Nazism; บ้างสะกดว่า Naziism "JAPAN: Imitation of Naziism?"; Nationalsozialismus) หรือ ชาติสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์และวิถีปฏิบัติของพรรคนาซีและนาซีเยอรมนีPayne, Stanley G.
สมาคมมักซ์พลังค์
มาคมมักซ์พลังค์ (Max Planck Society) หรือชื่อเต็มคือ สมาคมมักซ์พลังค์เพื่อความก้าวหน้าแห่งศาสตร์ (Max-Planck-Gesellschaft zur Förderung der Wissenschaften e.
ดู ออทโท ฮานและสมาคมมักซ์พลังค์
จักรวรรดิเยอรมัน
ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..
ดู ออทโท ฮานและจักรวรรดิเยอรมัน
ประเทศเยอรมนีตะวันตก
ประเทศเยอรมนีตะวันตก (West Germany) เป็นคำเรียกอย่างไม่เป็นทางการของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในช่วงปี..
ดู ออทโท ฮานและประเทศเยอรมนีตะวันตก
นิกายลูเทอแรน
ัญลักษณ์กุหลาบลูเทอแรน นิกายลูเทอแรน (Lutheranism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ตะวันตกฝ่ายโปรเตสแตนต์ มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นผู้ก่อตั้งนิกายนี้ขึ้นจากการปฏิรูปหลักเทววิทยาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก.
แฟรงก์เฟิร์ต
แฟรงก์เฟิร์ต (Frankfurt) หรือ ฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์ (Frankfurt am Main) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐเฮสส์และใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไมน์ (Main river) และเป็นที่ตั้งของตลาดหลักทรัพย์แฟรงก์เฟิร์ตและธนาคารกลางยุโรป แฟรงก์เฟิร์ตเป็นเมืองที่ร่ำรวยที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยในเขตเมืองและปริมณฑลมีประชากรประมาณ 5 ล้านคน ชื่อเมืองแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี นิยมเรียกชื่อเต็มคือ "ฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์" หมายถึงเมืองแฟรงก์เฟิร์ตที่อยู่บนแม่น้ำไมน์ เพื่อแยกความแตกต่างจากเมืองฟรังค์ฟวร์ทอันเดอร์โอเดอร์ (Frankfurt an der Oder) ริมฝั่งแม่น้ำโอเดอร์ในรัฐบรันเดนบูร์กทางด้านตะวันออกของประเท.
เกิททิงเงิน
กิททิงเงิน (Göttingen) เป็นเมืองมหาวิทยาลัยในรัฐนีเดอร์ซัคเซิน ประเทศเยอรมนี เป็นเมืองเอกของอำเภอเกิททิงเงิน มีแม่น้ำไลเนอไหลผ่าน จากข้อมูลประชากรในปี..
เคมีนิวเคลียร์
มีนิวเคลียร์ (Nuclear chemistry) เป็นสาขาย่อยของวิชาเคมีที่เกี่ยวข้องกับกัมมันตภาพรังสี (radioactivity) กระบวนการนิวเคลียร์ และคุณสมบัติทางนิวเคลียร์ สามารถแบ่งเป็นสาขาย่อยได้ดังนี้.
ดูเพิ่มเติม
ชาวเยอรมันผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- วิลลี บรันท์
- ว็อล์ฟกัง เพาล์
- ออตโต สเติร์น
- อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
- ฮันส์ ฟิชเชอร์
- ฮันส์ เบเทอ
- แฮร์ทา มึลเลอร์
ผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวเยอรมัน
ผู้ได้รับพัวร์เลอเมรีท (ชั้นพลเรือน)
- กามีย์ แซ็ง-ซ็องส์
- กุสทัฟ เคียร์ชฮ็อฟ
- คาร์ล ฟรีดริช เกาส์
- คาร์ล ออร์ฟ
- จอห์น เอเวอเรตต์ มิเล
- จอห์น เฮอร์เชล
- จูเซปเป แวร์ดี
- ชาลส์ ดาร์วิน
- ฌ็อง-บาติสต์ บีโย
- ฌ็อง-โอกุสต์-ดอมีนิก แอ็งกร์
- นอร์มัน ฟอสเตอร์
- ฟรีดริช เวอเลอร์
- ริชาร์ด โอเวน
- ลีเซอ ไมท์เนอร์
- วอลแตร์
- วิลเลียม ทอมสัน บารอนเคลวินที่ 1
- วิลเลียม สโตกส์ (แพทย์)
- ว็อล์ฟกัง เพาล์
- สรวปัลลี ราธากฤษณัน
- อาร์เทอร์ คอมป์ตัน
- อุมแบร์โต เอโก
- ฮันส์ เบเทอ
- เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส
- เอมิล นอลเดอ
- เออร์วิน พานอฟสกี
- แฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์
- แฮ็นดริก โลเรินตส์
- โฌแซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซัก
- โรเบิร์ต บราวน์ (นักพฤกษศาสตร์)
- โรแบร์ท บุนเซิน
- ไมเคิล ฟาราเดย์
ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี
- คริสเตียน บี. แอนฟินเซน
- จอห์น เคนดรูว์
- จอห์น โฮเวิร์ด นอร์ทรอป
- จูลีโย นัตตา
- มารี กูว์รี
- วิกตอร์ กรีญาร์
- สวานเต อาร์เรเนียส
- อาร์เชอร์ มาร์ติน
- อาร์เธอร์ ฮาร์เดน
- อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี
- ฮันส์ ฟิชเชอร์
- เทออดอร์ สเวดแบร์ย
- เฟรเดอริก ซอดดี
- เมลวิน แคลวิน
- เวนเดล เมเรดิธ สแตนลีย์
- เออร์วิง แลงมิวร์
- เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด
- แดน เชชท์มัน
- โดโรธี ฮอดจ์กิน
- ไลนัส พอลิง