โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

ดัชนี รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ

รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เป็นการรวบรวมรายชื่อบุคคลที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่วันสถาปนาโรงเรียนอย่างเป็นทางการในวันที่ 16 กุมภาพัน..

296 ความสัมพันธ์: ชวรัตน์ ชาญวีรกูลบัญชา ล่ำซำชัยวัฒน์ สถาอานันท์ชัยเกษม นิติสิริบัณฑิต กันตะบุตรบัณฑิต อึ้งรังษีบารมี นวนพรัตน์สกุลชาร์ปบางกอกแอร์เวย์ชาติชาย พุคยาภรณ์ชาติศิริ โสภณพนิชบิลลี่ โอแกนบุญชัย โชควัฒนาบุญสม มาร์ตินชุมพล ปัจจุสานนท์บีอีซีเวิลด์พ.ศ. 2428พรรคชาติไทยพัฒนาพรรคประชาธิปัตย์พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)พระคาร์ดินัลพระไพศาล วิสาโลพระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพันทิป.คอมพิรัส พัชรเศวตพิทักษ์ จารุสมบัติพิเชฐ ดุรงคเวโรจน์พูนสวัสดิ์ ธีมากรพจน์ เภกะนันทน์พีรพล เอื้ออารียกูลกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)กรุงเทพกรุงเทพมหานครกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยากฤตย์ รัตนรักษ์กลุ่มเดอะมอลล์กลุ่มเซ็นทรัลกวินรัฏฐ์ ยศอมรสุนทรกษิติ กมลนาวิน...กันต์ พิมานทิพย์การบินไทยกิตติรัตน์ ณ ระนองกิตติศักดิ์ ระวังป่ากนก วงษ์ตระหง่านภัทร์ ฉัตรบริรักษ์ภิกษุมหาวิทยาลัยชินวัตรมหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มาลัย หุวะนันทน์มุขนายกมุขนายกกิตติคุณมูลนิธิชัยพัฒนามูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีชัย กิจบุญชูยอด พิมพิสารรองพล เจริญพันธุ์รักแห่งสยามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยรายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทยรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทยรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรุ่นพี่ Secret Loveรณชัย รังสิโยวชิรวิชญ์ เรืองวิวรรธน์วรรณ ชันซื่อวราวุธ เลาหพงศ์ชนะวราวุธ เจนธนากุลวรนาถ อภิจารีวัลลภ เจียรวนนท์วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหารวันชัย จิราธิวัฒน์วิชา รัตนโชติวิชิต สุรพงษ์ชัยวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวุฒิสภาวงลายครามศรัณยู ประชากริชศักดิ์ นานาศิริศิลป์ โชติวิจิตรศิริโชค โสภาศุภชัย เจียรวนนท์สภากรรมการองคมนตรีสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทยสมบัติ รอดโพธิ์ทองสมภพ โหตระกิตย์สมหมาย ฮุนตระกูลสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์สมใจนึก เองตระกูลสมเกียรติ อริยะชัยพาณิชย์สยามสแควร์สรรพสินค้าเซ็นทรัลสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์สัญญา ธรรมศักดิ์สันติ ลุนเผ่สันติ ทักราลสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนสำนักงานตำรวจแห่งชาติสุชาติ เชาว์วิศิษฐสุชน ชามพูนทสุพล พัวศิริรักษ์สุกิจ นิมมานเหมินท์สุลักษณ์ ศิวรักษ์สุวบุญ จิรชาญชัยสุวรรณ วลัยเสถียรสุวิช จันทประดิษฐ์สุหฤท สยามวาลาสุจินต์ จินายนสุขุม นวลสกุลสุเมธ ตันติเวชกุลสีขาวสีแดงสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสสดุดีอัสสัมชัญสโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ดสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโรสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันสเลอหม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรีหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหม่อมเจ้าวงษ์มหิป ชยางกูรหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์อบ วสุรัตน์อภิชาติ ชูสกุลอภิภู สุนทรพนาเวศอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะอรุณ สรเทศน์ออกัสอัมมาร สยามวาลาอัมรินทร์ เยาดำอัครมุขนายกอาชว์ เตาลานนท์อายิโนะโมะโต๊ะอารักษ์ อมรศุภศิริอารีย์ วงศ์อารยะอาสนวิหารอัสสัมชัญอาคม มกรานนท์อำนวย วีรวรรณอุเทน เตชะไพบูลย์อธิการอธิการเจ้าคณะแขวงอดุล อดุลเดชจรัสอดุลย์ ดุลยรัตน์องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยอนันต์ อัศวโภคินอนุทิน ชาญวีรกูลผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจำนง รังสิกุลจิตต์ จงมั่นคงจิ๊ด เศรษฐบุตรจุมภฏ รวยเจริญทรัพย์จีเอ็มเอ็มทีวีจตุรมิตรสามัคคีธารินทร์ นิมมานเหมินท์ธีระ สูตะบุตรธีร์ อริยฤทธิ์วิกุลธีรเดช เมธาวรายุทธธนัญชัย บริบาลธนา ฉัตรบริรักษ์ธนาคารกรุงศรีอยุธยาธนาคารกรุงเทพธนาคารกสิกรไทยธนาคารศรีนครธนาคารออมสินธนาคารอาคารสงเคราะห์ธนาคารดีบีเอสไทยทนุธนาคารไทยพาณิชย์ธนู กุลชลธเนศ วงศ์ยานนาวาถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ถนัด คอมันตร์ถนนสาทรถนนเจริญกรุงทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 12ทรู คอร์ปอเรชั่นทิปโก้แอสฟัลท์ทินกร พันธุ์กระวีณวัชร์ พุ่มโพธิงามณัฐ อินทรปาณณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนาดอม เหตระกูลดิเรก ชัยนามควง อภัยวงศ์คณะภราดาเซนต์คาเบรียลคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะนิติราษฎร์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ซีคอนสแควร์ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ประชา มาลีนนท์ประกอบ จิรกิติประมาณ ชันซื่อประยูร จรรยาวงษ์ประสาร ไตรรัตน์วรกุลประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ประเทือง กีรติบุตรปรีดี พนมยงค์ปรีดี เกษมทรัพย์ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ปิยะบุตร ชลวิจารณ์ป๋วย อึ๊งภากรณ์นักบวชนายกรัฐมนตรีนิรุตติ์ ศิริจรรยานิสสัย เวชชาชีวะนิเวส ศิริวงศ์นครเชียงใหม่แมนรัตน์ ศรีกรานนท์โภคิน พลกุลโรงพยาบาลกรุงเทพโรงพยาบาลหัวเฉียวโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพโรงเรียนอัสสัมชัญโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชาโรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการโรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานีโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรีโรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมาโลกยามเช้าโคทม อารียาไชยันต์ ไชยพรไพจิตร เอื้อทวีกุลไกรฤกษ์ นานาไกรศรี นิมมานเหมินท์ไทยธนาคารไทยเบฟเวอเรจเชษฐ์ ติงสัญชลีเกริก มังคละพฤกษ์เกริกพล มัสยวาณิชเกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิชเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์เกษม จาติกวณิชเกื้อ วงศ์บุญสินเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตรเกียรติ สิทธีอมรเมธ รัตนประสิทธิ์เรือหลวงจักรีนฤเบศรเรื่องเด่นเย็นนี้เลียว ศรีเสวกเล็ก นานาเวอร์จิเนียเทคเสริม วินิจฉัยกุลเหม เวชกรเอกชัย เอื้อครองธรรมเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์เอี่ยม ฉายางามเอนก เหล่าธรรมทัศน์เอเอสทีวีเอเอสทีวีผู้จัดการเจริญ คันธวงศ์เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่เทศนา พันธ์วิศวาสเทียรี่ เมฆวัฒนาเขตบางรักเขตมิสซังกรุงเทพฯเขตมิสซังราชบุรีเขตมิสซังอุดรธานีเขตมิสซังนครราชสีมาเขตมิสซังนครสวรรค์เขตมิสซังเชียงใหม่เขตสาทรเขตแพริชเดลินิวส์เดือน บุนนาคเครือเจริญโภคภัณฑ์Make It Right the Series รักออกเดินMy Dear Loser รักไม่เอาถ่าน16 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (246 มากกว่า) »

ชวรัตน์ ชาญวีรกูล

วรัตน์ ชาญวีรกูล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตหัวหน้าพรรคภูมิใจไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรีนับตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 หลังนายสมชายพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและถูกตัดสิทธิทางการเมืองจากตำแหน่งกรรมการบริหารพรรคพลังประชาชนเป็นเวลา 5 ปี ด้วยคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและชวรัตน์ ชาญวีรกูล · ดูเพิ่มเติม »

บัญชา ล่ำซำ

ัญชา ล่ำซำ (12 มกราคม พ.ศ. 2468 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2535) ผู้ก่อตั้งบริษัทเมืองไทยประกันชีวิต กรรมการผู้จัดการธนาคารกสิกรไทย ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารธนาคารกสิกรไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติสมัยที่ 1 และสมัยที่ 2 ในสมัยที่บัญชายังมีชีวิตอยู่สามารถขยายกิจการธนาคารกสิกรไทย จากการที่มีสินทรัพย์ 700 ล้านบาทมาเป็น 600,000 ล้านบาท จนได้การยกย่องเป็นนายธนาคารแห่งปี 2527 จาก วารสารการเงินธนาคารและนิตยสารดอกเบี้ย และยังได้รับรางวัลนักการตลาดไทยแห่งปี 2534 จากสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยอีกด้ว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและบัญชา ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

ตราจารย์ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เป็นศาสตราจารย์ประจำและหัวหน้าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและชัยวัฒน์ สถาอานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยเกษม นิติสิริ

ตราจารย์พิเศษ ชัยเกษม นิติสิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอัยการสูงสุด อดีตอัยการอาวุโส (ที่ปรึกษาอัยการสูงสุด) สำนักงานอัยการสูงสุด ประธานกรรมการ คณะกรรมการกำกับตลาดหลักทรัพย์หลักประเทศไทย ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อความยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) กรรมการและประธานกรรมการบริหารธนาคารอาคารสงเคราะห์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยเนชั่น กรรมการสภามหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น กรรมการสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)อดีตกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย อดีตกรรมการบริษัทปตท. จำกัด (มหาชน) อดีตกรรมการบริหารบริษัท การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย จำกัด อดีตกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหา บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและชัยเกษม นิติสิริ · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต กันตะบุตร

‎ศาสตราจารย์บัณฑิต กันตะบุตร (23 ตุลาคม พ.ศ. 2458 - 2 ธันวาคม พ.ศ. 2543) ผู้ซึ่งนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในประเทศไทยเป็นคนแรก และเป็นผู้ริเริ่มการสอนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัย เป็นบุตรของ อำมาตย์เอก พระยาราชวรัยการ และ คุณหญิง บุญรอด ได้เกิดที่จังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2458 หลังจากเรียนจบชั้นมัธยม 8 ที่โรงเรียนอัสสัมชัญกรุงเทพฯ ท่านเดินทางไปศึกษาต่อในประเทศฟิลิปปินส์ จนสำเร็จปริญญาตรี (B.S.) จาก Far Eastern University และ ปริญญาโท (M.S.) จาก The University of Philippines หลังจากนั้นท่านบินข้ามทวีป ไปศึกษาต่อ ณ.ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ มหาวิทยาลัยชิคาโก (University of Chicago) ได้รับปริญญา MBA เน้นหนักวิชาคณิตศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ ระหว่างที่ศาสตราจารย์ บัณฑิต กันตะบุตร ดำรงตำแหน่งเป็นเลขาธิการสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) พร้อม ๆ กับเป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าภาควิชาสถิติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านมองเห็นศักยภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถปฏิวัติการศึกษา และการพัฒนาประเทศไทย ท่านจึงได้หาเงินทุนสนับสนุนจากองค์กรระหว่างประเทศ และทรัพยากรอื่น ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อจัดหา และติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์สองระบบแรกของประเทศไทย คือ เครื่อง IBM 1620 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเครือ่ง IBM 1401 ที่สำนักงานสถิติแห่งชาติ ในเวลาไล่เลี่ยกัน ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและบัณฑิต กันตะบุตร · ดูเพิ่มเติม »

บัณฑิต อึ้งรังษี

ัณฑิต อึ้งรังษี (ชื่อเล่น: ต้น) (เกิด 7 ธันวาคม พ.ศ. 2513) เป็นวาทยกรชาวไทยที่มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ บัณฑิตเป็นผู้ชนะเลิศ "ร่วม" การแข่งขันมาร์เซล วิล่า (Maazel-Vilar International Conducting Competition) ซึ่งเป็นการแข่งขันอำนวยเพลงรายการใหญ่ ที่คาร์เนกีฮอลล์ นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เมื่อ..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและบัณฑิต อึ้งรังษี · ดูเพิ่มเติม »

บารมี นวนพรัตน์สกุล

รมี นวนพรัตน์สกุล หรือ ยอด ผู้ประกาศข่าว รายการโลกยามเช้า เรื่องเด่นเย็นนี้ ช่วงเกษตรฮอตนิวส์ วันจันทร์-วันศุกร์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและบารมี นวนพรัตน์สกุล · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ป

น้ตซีชาร์ป และโน้ตซีดับเบิลชาร์ป บนกุญแจซอล ชาร์ป (sharp) ในทางดนตรี หมายถึง ระดับเสียงที่สูงขึ้นจากปกติ หากจะระบุให้ชัดเจนก็คือ ระดับเสียงที่สูงขึ้นทีละครึ่งเสียง (semitone) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ เป็นเครื่องหมายแปลงเสียง (accidental) ชนิดหนึ่ง และเนื่องจากสัญลักษณ์ดังกล่าวมีรูปร่างคล้ายกับเครื่องหมายนัมเบอร์ # เครื่องหมายนัมเบอร์จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ชาร์ป ตัวโน้ตที่ถูกกำกับด้วยชาร์ปจะมีเสียงสูงขึ้นครึ่งเสียง ในบันไดเสียงสากลที่แต่ละอ็อกเทฟ (octave) ห่างกัน 12 ครึ่งเสียง เสียงบีชาร์ปจะเทียบเท่ากับเสียงซีเนเชอรัล และเสียงจีชาร์ปจะเทียบเท่ากับเสียงเอแฟลต เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี ดับเบิลชาร์ป (double sharp) คือระดับเสียงสูงขึ้นสองครึ่งเสียง ซึ่งเทียบเท่ากับการยกขึ้นหนึ่งขั้นเสียง เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ พบได้ในโน้ตเพลงที่มีการปรับคีย์ดนตรี และที่พบได้น้อยกว่าคือ ทริเปิลชาร์ป (triple sharp) คือระดับเสียงสูงขึ้นสามครึ่งเสียง เขียนแทนด้วย ในการปรับเสียงเครื่องดนตรี คำว่า ชาร์ป ยังหมายถึง เสียงที่เพี้ยนสูงขึ้นไปจากเดิมเล็กน้อย หากมีเครื่องสายหรือเสียงนักร้องที่แตกต่างกันเล็กน้อย เสียงที่สูงกว่า จะเรียกว่าเสียงชาร์ป เมื่อเทียบกับอีกเสียงหนึ่งซึ่งต่ำกว่า อักขระยูนิโคด '♯' (U+266F) คือเครื่องหมายชาร์ป และ '𝄪' (U+1D12A) คือเครื่องหมายดับเบิลชาร์ป.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและชาร์ป · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกแอร์เวย์

การบินบางกอกแอร์เวย์ เป็นสายการบินเชิงพาณิชย์ ดำเนินงานโดย บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด ซึ่งเริ่มดำเนินงานกิจการด้านการบินเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2511 ในแผนกการบินสหกลแอร์ บริษัท กรุงเทพสหกล จำกัด ซึ่งในระยะแรกได้ดำเนินกิจการทำการบินบริการให้แก่หน่วยงานของรัฐบาล (รบ.) รัฐวิสาหกิจ (รสก.) และธุรกิจเอกชนต่างๆ ทั่วไป ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและบางกอกแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย พุคยาภรณ์

นายชาติชาย พุคยาภรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลนายอภิสิทธ์ เวชชาชีวะ อดีตรองเลขาธิการ พรรคประชาธิปัตย์ เป็นทายาทผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและชาติชาย พุคยาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาติศิริ โสภณพนิช

ติศิริ โสภณพนิช (陳智深 เกิด: 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2502) เป็นบุตรคนโตของชาตรี โสภณพนิช (หลานชายของชิน โสภณพนิช ผู้ก่อตั้งธนาคารกรุงเทพ) และปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ของธนาคารรวมถึงเป็นสมาชิกของคณะกรรมการบริหารของธนาคารกรุงเทพตั้งแต..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและชาติศิริ โสภณพนิช · ดูเพิ่มเติม »

บิลลี่ โอแกน

ลลี่ โอแกน มีชื่อจริงว่า บิณฑ์ลี่ฎ์ มิตตกริน โอแกน เป็นนักร้อง นักแสดง นักแต่งเพลง นักเขียน พิธีกร ชาวไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและบิลลี่ โอแกน · ดูเพิ่มเติม »

บุญชัย โชควัฒนา

นายบุญชัย โชควัฒนา ประธานกรรมการบริษัท บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) สมรสกับ นางลัดดา โชควัฒนา เป็นบุตรของดร.เทียม-นางสายพิณ โชควัฒนา มีบุตร 2 คน คือ ชัยลดา ตันติเวชกุล ชัยลดล โชควัฒนา ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและบุญชัย โชควัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

บุญสม มาร์ติน

ตราจารย์ นายแพทย์ บุญสม มาร์ติน (19 กันยายน พ.ศ. 2465 - 9 มิถุนายน พ.ศ. 2551) แพทย์ชาวไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้บุกเบิกการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา ได้รับการยกย่องเป็น “บิดาของการพลศึกษาแผนใหม่ของไทย”.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและบุญสม มาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

ชุมพล ปัจจุสานนท์

ลเรือเอก ชุมพล ปัจจุสานนท์ (30 มิถุนายน พ.ศ. 2487-) อดีตองคมนตรี และ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ พลเรือตรีแชน - นางไพโรจน์ ปัจจุสานนท์ สมรสกับ พลตรีหญิงคุณหญิง ทรรศนีย์ ปัจจุสานนท์ มีบุตร 2 คน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและชุมพล ปัจจุสานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

บีอีซีเวิลด์

ริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มบริษัทบีอีซี เวิลด์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2538 โดยรวบรวมบริษัทในกลุ่มมาลีนนท์ ซึ่งเป็นธุรกิจเกี่ยวกับการออกอากาศสื่อ การผลิตสื่อโฆษณา การผลิตรายการโทรทัศน์ และการจัดหารายการโทรทัศน์ เข้าด้วยกัน บม.บีอีซี เวิลด์ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ ชั้น 2, 3, 8, 9 และ 30-34 ของอาคารมาลีนนท์ทาวเวอร์ เลขที่ 3199 ถนนพระรามที่ 4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 2,000 ล้านบาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญ 2,000 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท โดยหุ้นของบริษัทฯ เริ่มทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มาตั้งแต่วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 และใช้ชื่อย่อว่า BEC ซึ่งจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 กลุ่มบีอีซีเวิลด์ มีพนักงานรวมทั้งสิ้น 1,895 คน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและบีอีซีเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2428

ทธศักราช 2428 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1885 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพ.ศ. 2428 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทยพัฒนา

รรคชาติไทยพัฒนา (Chartthaipattana Party) ก่อตั้งเมื่อ 18 เมษายน พ.ศ. 2551 โดยมีนายกฤต รัตนคามินี เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก ต่อมานายชุมพล ศิลปอาชา ได้รับเลือกเป็นหัวหน้าพรรค นายพันธุ์เทพ สุลีสถิร เป็นเลขาธิการพรรค และนายวัชระ กรรณิการ์ เป็นโฆษกพรรค กระทั่งในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพรรคชาติไทยพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

ตราจารย์วิสามัญ มหาอำมาตย์ตรี พระยามานวราชเสวี (นามเดิม ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (18 กันยายน พ.ศ. 2433 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)

นาวาเอก พระยาศราภัยพิพัฒ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2432 - 21 กันยายน พ.ศ. 2511) นักหนังสือพิมพ์ อดีตปลัดทูลฉลอง กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และวุฒิสมาชิก พระยาศราภัยพิพัฒ มีชื่อจริงว่า เลื่อน ศราภัยวานิช สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญรุ่นเดียวกับพระยาอนุมานราชธน และไปศึกษาต่อด้านสื่อสารมวลชน จาก School of Journalism เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย สมรสกับ หม่อมหลวงฉลอง ศราภัยวานิช พระยาศราภัยพิพัฒ ได้รับราชการเป็นนายเวรวิเศษ เลขาประจำตัวของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ ตำแหน่งสุดท้ายเป็นเจ้ากรมเสมียนตรา และปลัดทูลฉลอง กระทรวงกลาโหม ถูกปลดออกจากราชการหลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 พร้อมกับทำงานด้านหนังสือพิมพ์กรุงเทพเดลิเมล์ ไปพร้อมกับนายหลุย คีรีวัต นายสอ เศรษฐบุตร เป็นต้น หนังสือพิมพ์กรุงเทพเดลิเมล์ที่พระยาศราภัยพิพัฒ นั้นได้ถูกเพ่งเล็งจากฝ่ายรัฐบาล ว่าเป็นสื่อที่สนับสนุนการปกครองแบบเก่า หลังเหตุการณ์กบฏบวรเดช ในปี พ.ศ. 2476 และพระยาศราภัยพิพัฒเขียนบทความชื่อ "ฟ้องในหลวง" โจมตี กรณีนายถวัติ ฤทธิ์เดช ยื่นฟ้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อศาลอาญา อีกทั้งยังเดินทางไปเข้าเฝ้าสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ปีนัง พระยาศราภัยพิพัฒและพวกถูกหมายจับในข้อหาแจกใบปลิวเถื่อนและปลุกระดมการกบฏ จึงหลบหนีด้วยการลงเรือตังเกหนีลงทะเล แต่ถูกจับได้ที่อ่าวไทย หลังจากนั้นจึงถูกส่งไปจำคุกในฐานะนักโทษการเมือง ที่เกาะตะรุเตา พร้อมกับนักโทษคนสำคัญอีกหลายคน จนกระทั่งในวันที่ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)

ันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล: 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งในสภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 และองคมนตรี ในรัชกาลปัจจุบัน บทบาทในทางการเมืองเป็นสมาชิกและเป็น..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)

ระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) (? — 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำประเทศญี่ปุ่น และองคมนตรีไทย พระยาศรีเสนา มีนามเดิมว่า ฮะ สมบัติศิริ ได้ศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ก่อนที่จะเป็นคนไทยกลุ่มแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านการปกครอง ที่ London School of Economics ประเทศอังกฤษ เมื่อ..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค)

ระยาอภิบาลราชไมตรี มีนามเดิมว่า ต่อม บุนนาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ คนที่ 3 และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา พระยาอภิบาลราชไมตรี เป็นบุตรพลโท เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับคุณใหญ่ (สกุลเดิม โอสถานนท์) เริ่มรับราชการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (พ.ศ. 2476-2477) จากนั้นไปดำรงตำแหน่งอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ระหว่าง..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2507) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ อดีตอธิบดีกรมต่างๆ อาทิ เช่น อธิบดีกรมที่ดินและโลหะกิจ เป็นต้น อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)

ลตำรวจโท พระยาอธิกรณประกาศ เป็นอธิบดีกรมตำรวจคนที่ 2 ของประเทศไทย และต้นสกุลจาติกวณิช พระยาอธิกรณ์ประกาศ มีชื่อจริงว่าว่า หลุย จาติกวณิช (ชื่อเดิม: ซอ เทียนหลุย) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)

ตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน (14 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2512) นักปราชญ์และนักการศึกษาคนสำคัญของไทย ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมและเป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลกชาวไทย ประจำปี พ.ศ. 2531 ขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) (27 มิถุนายน พ.ศ. 2433 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2517) อดีตปลัดทูลฉลอง กระทรวงศึกษาธิการ ผู้บังคับการโรงเรียนมหาดเล็กหลวง เชียงใหม่ รักษาการณ์ผู้บังคับการโรงเรียนราชวิทยาลัย เจ้ากรมโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ในสมัยรัชกาลที่๖ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็นบิดาของนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีของไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) · ดูเพิ่มเติม »

พระคาร์ดินัล

ตราประจำสมณศักดิ์พระคาร์ดินัล คาร์ดินัล (Cardinal) เป็นสมณศักดิ์ชั้นสูง รองจากพระสันตะปาปา ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาพระสันตะปาปา ในการปกครองคริสตจักรโรมันคาทอลิก ตำแหน่งนี้อาจเทียบเท่ากับสมเด็จพระราชาคณะในศาสนาพุทธ หรือสมาชิกวุฒิสภาในทางโลก ในสมัยก่อนตำแหน่งคาร์ดินัลมักเป็นฆราวาส แต่นับตั้งแต่ตราประมวลกฎหมายพระศาสนจักรฉบับล่าสุด (ค.ศ. 1917–83) เฉพาะบาทหลวงและมุขนายกเท่านั้นที่มีสิทธิ์เป็นพระคาร์ดินัลได้ หน้าที่พิเศษอย่างหนึ่งของพระคาร์ดินัลคือ เข้าร่วมการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาองค์ใหม่ แทนตำแหน่งที่ว่างลง และตนเองก็มีสิทธิ์ได้รับเลือกเป็นพระสันตะปาปาด้วย พระคาร์ดินัลอาจมีตำแหน่งมุขนายกหรือเป็นหัวหน้าปกครองคณะบาทหลวง คณะนักบวชคาทอลิกชาย-หญิง และคริสต์ศาสนิกชนฆราวาส ในมุขมณฑลที่ท่านปกครองด้ว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระคาร์ดินัล · ดูเพิ่มเติม »

พระไพศาล วิสาโล

ระอธิการไพศาล วิสาโล (วงศ์วรวิสิทธิ์) เป็นพระนักเผยแผ่ที่เป็นที่รู้จักดีรูปหนึ่งของเมืองไทยในปัจจุบัน ท่านเกิดเมื่อ พ.ศ. 2500 บรรพชาและอุปสมบทเป็นพระ เมื่อ พ.ศ. 2526 ปัจจุบันพระไพศาลเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าสุคะโต อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ พระไพศาล เป็นพระนักวิชาการ นักคิดนักเขียนในบวรพระพุทธศาสนารุ่นใหม่ เป็นนักปฏิบัติธรรม และนักบรรยายธรรมที่ผลิตผลงานออกมาในรูปสื่อโทรทัศน์ และหนังสือออกมาอย่างสม่ำเสมอในยุคปัจจุบัน ท่านยังเป็นผู้ริเริ่มในการเตรียมตัวทางจิตวิญญาณก่อนตาย เพื่อให้ผู้ตายจากไปอย่างสงบ มีผลงานเผยแพร่ในสื่อหลายรูปแ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระไพศาล วิสาโล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)

ตราจารย์ พระเจริญวิศวกรรม ศาสตราจารย์กิตติคุณ พระเจริญวิศวกรรม (26 เมษายน พ.ศ. 2438 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) มีนามเดิมว่า เจริญ เชนะกุล ปรมาจารย์หรือครูใหญ่ของเหล่าช่างทั้งปวง อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานให้แก่วงการวิศวกรรมศาสตร์ของไทย และ บิดาแห่งการวิศวกรรมไทย นอกจากนั้นยังเป็น นายกคณะฟุตบอลแห่งสยาม คนที่ 5.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)

ระเจนดุริยางค์ (ปีติ วาทยะกร) (มักเขียนเป็น "ปิติ") ชื่อเดิม ปีเตอร์ ไฟท์ (Peter Feit - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2511) บุคคลสำคัญในวงการดนตรีของประเทศไทย ผู้ริเริ่มการบันทึกเพลงไทยเดิมด้วยโน้ตสากลโดยเทียบเสียงให้ตรงกับเครื่องดนตรีไทยทุกชิ้น เรียกว่า เพลงไทยประสานเสียง (Thai Music Harmony) ของ กรมศิลปากร เป็นอาจารย์วิชาดนตรีผู้ทุ่มเทสนับสนุนศิษย์เอก ครูเอื้อ สุนทรสนาน และ ครูชลหมู่ ชลานุเคราะห์ (นักเชลโล่,ผู้เรียบเรียงและอำนวยเพลงวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) ครูประสาน สุทัศน์ ณ อยุธยา (นัก Cello, Double Bass และผู้เรียบเรียงเสียงประสานแห่งวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) รวมทั้งเป็นผู้วางรากฐานวงดุริยางค์ทหารอากาศ และ วงดุริยางค์ตำรว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยBloomberg,, 19 December 2008 กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง สัญลักษณ์หลักของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย มีการใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์หลัก และมีการใส่เสื้อสีเหลืองพร้อมผ้าโพกศีรษะที่มีข้อความว่า "กู้ชาติ" และผ้าพันคอสีฟ้า และมีมือตบเป็นเครื่องมือสัญลักษณ์ ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

พันทิป.คอม

ันทิป.คอม หรือพันทิป ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพันทิป.คอม · ดูเพิ่มเติม »

พิรัส พัชรเศวต

ผู้ช่วยศาตราจารย์ พิรัส พัชรเศวต (นามสกุลเดิม: เหล่าไพศาลศักดิ์) ชื่อเล่น: ย้ง เป็นสถาปนิกชาวไทย อาจารย์และอดีตหัวหน้าภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ก่อตั้งสำนักออกแบบอีสต์อาร์คีเท็กตส์ จำกัด (EAST Architects) มีผลงานร่วมออกแบบทั้งอาคารสาธารณะและอาคารพักอาศัยหลายแห่ง โดยเป็นการผสมผสานระหว่างงานสถาปัตยกรรมไทยและงานสมัยใหม่ ทั้ง อาคารจุฬาพัฒน์ 1 ของคณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอาคารจุฬาพัฒน์ 13 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ คณะจิตวิทยา คณะสหเวชศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) เป็นต้น งานส่วนใหญ่ของ ผ.พิรัส มีจุดเด่นทั้งการใช้หลังคาทรงจั่วสูง โดยใช้เสากลม-เสาเหลี่ยมลอยแยกออกจากผนังเข้ามารับส่วนหลังคา การวางแปลนอาคารเป็นตัว L หรือ I ซึ่งปรับเข้ากับสภาพภูมิอากาศแบบเขตร้อนชื้นแบบไทยได้อย่างดี รวมไปถึงการวางบันไดที่มักวางออกหน้าอาคาร เช่น ในอาคารจุฬาพัฒน์ 1 และอาคารวิชชาคาม 1 นอกจากนี้ยังมีการทำค้ำยัน ทรง V shape มาใช้รับส่วนที่ยื่น (Cantilever) ซึ่งใช้ใน อาคารจามจุรี 10 เขายังมีความเชี่ยวชาญในงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกับเรื่องแสง และการนำพลังงานทางเลือกจากแสงธรรมชาติ เข้ามาใช้ในงานสถาปัตยกรรม มีผลงานหนังสือ งานวิจัย และนิตยสารวิชาการเช่น แสงสร้างสรรค์, แสงในงานสถาปัตยกรรม, หลักเบื้องต้นการออกแบบแสงธรรมชาติ เป็นต้น เขาเคยได้รับรางวัล AIA Henry Adams Gold Medal for Excellence in the Study of Architecture จากสถาบันสถาปนิกอเมริกัน ในระหว่างที่ศึกษาระดับปริญญาโทที่ประเทศสหรัฐอีกด้ว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพิรัส พัชรเศวต · ดูเพิ่มเติม »

พิทักษ์ จารุสมบัติ

ลตำรวจโท พิทักษ์ จารุสมบัติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ พล.ต.ท.พิทักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ที่อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นพี่ชายแท้ๆ ของนายพินิจ จารุสมบัติ นักการเมืองที่มีชื่อเสียงและอดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา ปริญญาตรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (รัฐศาสตรบัณฑิต-ร่วมรุ่นเดียวกับ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ) และปริญญาโท มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รับราชการเป็นตำรวจ โดยมีตำแหน่งสำคัญ ๆ ได้แก่ ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 8 ดูแลพื้นที่ภาคใต้ทั้งหมด, รองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2 ดูแลพื้นที่ภาคตะวันออก, รองผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล และรองผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พล.ต.ท.พิทักษ์ ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ในพื้นที่เขต 4 จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งประกอบไปด้วย อำเภอบ้านโพธิ์, อำเภอบางปะกง และอำเภอแปลงยาว โดยต้องแข่งขันกับนายวุฒิพงศ์ ฉายแสง จากพรรคเพื่อไทย และเป็นฝ่ายได้รับเลือกตั้งไป โดย พล.ต.ท.พิทักษ์ได้คะแนนไปทั้งสิ้น 59,036 คะแนน ขณะที่นายวุฒิพงศ์ได้ไป 36,723 คะแนน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพิทักษ์ จารุสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์

รงคเวโรจน์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมคนแรกของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมาชิกสภาความมั่นคงแห่งชาติ ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

พูนสวัสดิ์ ธีมากร

ูนสวัสดิ์ ธีมากร (พ.ศ. 2471-พ.ศ. 2545) อดีตนักแสดงละครเวทีและภาพยนตร์ ที่มีความสามารถรอบด้าน นอกจากการแสดงแล้ว ยังเป็นผู้กำกับแสง ผู้กำกับภาพ ช่างถ่ายภาพ นักแสดงตั้งแต่ยุคละครเวทีคณะศิวารมย์ คณะอัศวินการละคร และเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการถ่ายภาพที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในฝีมือความสามารถระดับสากล.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพูนสวัสดิ์ ธีมากร · ดูเพิ่มเติม »

พจน์ เภกะนันทน์

ลตำรวจเอก พจน์ เภกะนันทน์ (26 พฤศจิกายน 2457 - 2536) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพจน์ เภกะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

พีรพล เอื้ออารียกูล

ีรพล เอื้ออารียกูล หรือ แชมป์ เป็นพิธีกร ผู้ประกาศข่าว คอลัมนิสต์ นักร้อง ในโปรเจกต์ "the Album อยากบอกต้องออกเทป" และ ดีเจจัดรายการวิทยุ แชมป์เริ่มเข้าวงการ ด้วยการเป็น ผู้ประกาศข่าวกีฬา รายการ ทันโลกกีฬา และหลังจากนั้นได้รับโอกาส เป็นพิธีกร ในรายการสีสันบันเทิงสด "สีสันบันเทิงสด Saturday" "Sport Gossip" "168 Hrs." แชมป์ได้ชื่อว่าเป็น ไพโอเนียร์ ที่ทำทั้งสองสถานะในเวลาเดียวกัน คือเป็นทั้งผู้ประกาศข่าวกีฬา และ พิธีกรวาไรตี้รายการบันเทิง ปัจจุบันแชมป์ เป็นพิธีกรรายการ เที่ยงวันทันเหตุการณ์ ช่วง ชอตเด็ด กีฬาแชมป์ สีสันบันเทิงสด 168 ชั่วโมง ทางช่อง 3 และ ดีเจ รายการวิทยุ แชมป์คลับ แชมป์ครับ ทาง.ทร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและพีรพล เอื้ออารียกูล · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในชื่อ กระทรวงเกษตรพานิชการ มี เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาภาสกรวงศ์เป็นเสนาบดีคนแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 ได้ยุบรวมกระทรวงเกษตรพานิชการเข้ากับ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พร้อมกับลดฐานะลงเป็นกรม ๆ หนึ่ง ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2442 มีพระบรมราชโองการแยกกรมเกษตรพานิชการออกมาตั้งเป็นกระทรวงใหม่ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตราธิการ มี เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์เป็นเสนาบดีคนแรก โดยใช้ หอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นที่ทำการชั่วคราว ในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการยุบรวมกระทรวงเกษตราธิการเข้ากับ กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตรพาณิชยการ ต่อมาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อและอำนาจหน้าที่จากกระทรวงเกษตรพาณิชยการเป็น กระทรวงเศรษฐการ ในวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา

อาคารใหม่สวนอัมพร อาคารศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ (ฟาสาดเดิม) อาคารสำนักงานใหญ่การบินไทย ถนนวิภาวดีรังสิต เอ็มบีเคเซ็นเตอร์ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา (9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 12 มกราคม พ.ศ. 2553) เป็นสถาปนิกชาวไทย นักธุรกิจ ผู้ก่อตั้งบริษัทคาซ่า อดีตคณะบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คนที่ 4 พ.ศ. 2517-2521),นักแสดง, นักบินสมัครเล่น, อดีตนักกีฬายิงปืนทีมชาติในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

กฤตย์ รัตนรักษ์

กฤตย์ รัตนรักษ์ (19 เมษายน พ.ศ. 2489) เป็นประธานกรรมการบริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด และเป็นประธานกรรมการสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 อดีตเจ้าของธนาคารกรุงศรีอยุธยา และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกฤตย์ รัตนรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเดอะมอลล์

ริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จำกัด (The Mall Group Company Limited) หรือ กลุ่มเดอะมอลล์ เป็นกลุ่มบริษัทธุรกิจค้าปลีกในประเทศไทย ผู้ดำเนินกิจการห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์, ย่านการค้าดิ เอ็ม ดิสทริค, ศูนย์การค้าสยามพารากอน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกลุ่มเดอะมอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเซ็นทรัล

ริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำกัด (Central Group) เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจค้าปลีก ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า โรงแรม และร้านอาหาร ของบุคคลผู้เป็นสมาชิกในสกุลจิราธิวัฒน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกลุ่มเซ็นทรัล · ดูเพิ่มเติม »

กวินรัฏฐ์ ยศอมรสุนทร

กวินรัฎฐ์ ยศอมรสุนทร มีชื่อเล่นว่า หยวน เป็นนักร้อง, นักแสดง, นายแบบ อดีตสมาชิกวงดราก้อน ไฟว์ (Dragon 5) เกิดวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2524 ที่จังหวัดลำปาง จบมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปัจจุบันยังมีผลงานทางการแสดงมากม.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกวินรัฏฐ์ ยศอมรสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

กษิติ กมลนาวิน

กษิติ กมลนาวิน กษิติ กมลนาวิน ผู้ประกาศข่าว ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (ช่อง 5) นักเขียน คอลัมนิสต์ นายแบบ พิธีกรดำเนินรายการภาษาไทย อังกฤษ ฝรั่งเศส วิทยากรบรรยายพิเศษ ผู้บรรยายกีฬา มัคคุเทศก.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกษิติ กมลนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

กันต์ พิมานทิพย์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กันต์ พิมานทิพย์ แกนนำคณะรัฐบุคคล, อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ และรองผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกันต์ พิมานทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

การบินไทย

ริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (Thai Airways International Public Company Limited; ชื่อย่อ: ไทย, THAI) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ทำหน้าที่ดำเนินธุรกิจการบินพาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 จากเว็บไซต์การบินไทย โดยปฏิบัติการบินจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหลัก ทั้งนี้ การบินไทยยังได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรการบิน สตาร์อัลไลแอนซ์ เคยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสายการบินนกแอร์ และเปิดตัวสายการบินลูก ไทยสมายล์ อีกด้วย ปัจจุบัน(มิถุนายน พ.ศ. 2561) การบินไทยบิน 64 สนามบินรวมต่างประเทศและในประเทศ แบ่งเป็นต่างประเทศ 60 สนามบิน ในประเทศไทย 4 สนามบินไม่รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้งหมด 3 ทวีป 32 ประเทศทั่วโลกไม่รวมประเทศไทย จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้วยฝูงบินกว่า 84 ลำ การบินไทยเป็นสายการบินลำดับต้นในเอเชีย ที่ทำการบินในเส้นทางกรุงเทพ ลอนดอน (ท่าอากาศยานฮีทโธรว์) นอกจากนี้ การบินไทยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจากองค์การอนามัยโลกว่าด้วยสุขอนามัยบนเครื่องบินอีกด้ว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

กิตติรัตน์ ณ ระนอง

กิตติรัตน์ ณ ระนอง เป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยชินวัตร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกิตติรัตน์ ณ ระนอง · ดูเพิ่มเติม »

กิตติศักดิ์ ระวังป่า

กิตติศักดิ์ ระวังป่า เป็นอดีตผู้รักษาประตูทีมชาติไทย มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักเมื่อครั้งเล่นให้กับสโมสรสินธนา และเคยเล่นให้กับสโมสรอื่นๆในไทยพรีเมียร์ลีกเช่นพนักงานยาสูบ,โอสถสภา เอ็ม-150,บางกอกกล๊าส และเล่นให้กับรังสิต เอฟซีในระดับลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2เป็นสโมสรสุดท้าย กิตติศักดิ์ ระวังป่า จัดว่าเป็นผู้รักษาประตูฝีมือดีที่มีรูปร่างสูงใหญ่คนหนึ่งในประเทศไทย โดยติดทีมชาติครั้งแรกในชุดเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปีชิงแชมป์เอเชีย ที่ประเทศเกาหลีใต้ จากนั้นแจ้งเกิดได้เป็นผู้รักษาประตูมือหนึ่งของทีมชาติไทยและสโมสรสินธนา ในยุคของปีเตอร์ วิธ ซึ่งเป็นผู้ฝึกสอนชาวอังกฤษ กิตติศักดิ์ ระวังป่า ประสบความสำเร็จในทีมชาติ เมื่อทีมชาติไทยได้อันดับที่ 4 เอเชียนเกมส์ที่ปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ และเข้าถึงรอบ 10 ทีมสุดท้ายในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2002 รอบคัดเลือก โซนเอเซีย โดยในปัจจุบันกิตติศักดิ์ ระวังป่า รับหน้าที่เป็นโค้ชผู้รักษาประตูให้ทีมชาติไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกิตติศักดิ์ ระวังป่า · ดูเพิ่มเติม »

กนก วงษ์ตระหง่าน

ตราจารย์ ดร.กนก วงษ์ตระหง่าน รองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) และคณะกรรมการขับเคลื่อนวาระประชาชนของพรรคประชาธิปัตย์ ด้านเศรษฐกิจและการศึกษ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและกนก วงษ์ตระหง่าน · ดูเพิ่มเติม »

ภัทร์ ฉัตรบริรักษ์

ัทร์ ฉัตรบริรักษ์ (ชื่อเล่น:ภัทร์) เป็น นายแบบ นักแสดง ชาวไทย สังกัด ช่อง 3 และเป็นน้องชายของนักแสดงหนุ่มบอย ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ และหน่อง ธนา ฉัตรบริรักษ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและภัทร์ ฉัตรบริรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภิกษุ

กษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา มีความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และสามารถแปลว่า ผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ก็ได้ ดังรูปวิเคราะห์ว่า "วฏฺฏสํสาเร ภยํ อิกฺขตีติ ภิกฺขุ" ในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ" แปลว่าผู้ประเสร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและภิกษุ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยชินวัตร

มหาวิทยาลัยชินวัตร (Shinawatra University; ตัวย่อ: SIU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนขนาดเล็กและนักศึกษาค่อนข้างน้อย จัดการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรภาษาไทย โดยมหาวิทยาลัยชินวัตรก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมหาวิทยาลัยชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (Assumption University) หรือ เอแบค (ABAC) จัดอยู่ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล มี 2 วิทยาเขตหลัก วิทยาเขตหัวหมาก ตั้งอยู่ที่ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ตั้งอยู่ที่ ตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ และ 2 ศูนย์การศึกษา city campus ในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ศูนย์การศึกษา ACC Campus มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยที่มีระบบการสอนหลักสูตรนานาชาติ และยังเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีจำนวนศาสตราจารย์มากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) มีอายุครบ 370 ปีใน พ.ศ. 2549 ฮาร์วาร์ดเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก โดยในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์

ในตัวมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ (University of California, Berkeley.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ตั้งอยู่ในเมืองเบิร์กลีย์ ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองซานฟรานซิสโก ในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2411 (ค.ศ. 1868) และเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดในบรรดากลุ่มมหาวิทยาลัยในแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มีชื่อเสียงในหลากหลายด้านเช่น ประวัติศาสตร์ วรรณกรรม วิทยาศาสตร์ รวมถึงมีการค้นพบไซโคลตรอน (cyclotron) โดย เออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์ และมีการค้นพบธาตุเคมี 17 ธาตุใหม่ การพัฒนาอินเทอร์เน็ต การพัฒนายูนิกซ์ BSD และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ติดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในโลกลำดับที่ 4 สำหรับการจัดอันดับของ ของปี 2012 และ อันดับที่ 5 สำหรับการจัดมหาวิทยาที่มีชื่อเสียงของ ของปี 2013 สำหรับนักศึกษาที่อาศัยอยู่ใน California จะมีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนและค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 12,876 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี (ปี พ.ศ. 2555) ส่วนนักศึกษาปริญญาตรีที่มาจากที่อื่นจะมีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนและค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 35,754 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี (ปี พ.ศ. 2555) ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

มาลัย หุวะนันทน์

ตราจารย์ มาลัย หุวะนันทน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมาลัย หุวะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายก

ันทบุรี เป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นมุขนายก บิชอป (Bishop) กรมการศาสนาและราชบัณฑิตยสถานบางครั้งให้เรียกว่ามุขนายก เป็นตำแหน่งการปกครองในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ หรือแม้แต่ในนิกายโปรเตสแตนต์บางคณะ เช่น แองกลิคัน ลูเทอแรน เมทอดิสต.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายกกิตติคุณ

มิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก มุขนายกกิตติคุณ (bishop emeritus) หรือ พระสังฆราชกิตติคุณ หมายถึง มุขนายกที่ได้รับอนุมัติจากพระสันตะปาปาให้ลาออกจากตำแหน่ง กรณีเป็นอัครมุขนายกที่ลาออกเรียกว่าอัครมุขนายกกิตติคุณ เนื่องจากมุขนายกกิตติคุณพ้นจากอำนาจในการบริหารมุขมณฑลแล้ว ประมวลกฎหมายพระศาสนจักรจึงถือว่ามุขนายกกิตติคุณเป็นมุขนายกเกียรตินามประเภทหนึ่ง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมุขนายกกิตติคุณ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิชัยพัฒนา

ตราสัญลักษณ์มูลนิธิ มูลนิธิชัยพัฒนา เป็นมูลนิธิซึ่ง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้มีพระราชดำริให้จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และโครงการพัฒนาอื่น ๆ เพื่อช่วยเหลือประชาชนในด้านเศรษฐกิจ และสังคมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองได้ การดำเนินงานของมูลนิธิชัยพัฒนา จะเน้นกิจกรรมเพื่อการพัฒนาที่ไม่ซ้ำซ้อนกับโครงการของรัฐที่มีอยู่แล้ว แต่จะพยายามสนับสนุน ส่งเสริม และ ประสานงานให้โครงการต่างๆ เกิดความสมบูรณ์และสามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว สอดคล้องกับสถานการณ์ โดยเฉพาะในกรณีที่โครงการของรัฐถูกจำกัดด้วยเงื่อนไขของระเบียบต่างๆ ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ทันที เช่นในกรณีที่อาจต้องจัดซื้อที่ดินจากราษฎรบางส่วน แต่รัฐมีปัญหางบประมาณ หรือถูกจำกัดด้วยเงื่อนไขของระเบียบต่างๆ มูลนิธิชัยพัฒนาจะช่วยเหลือตามความเหมาะสม เพื่อให้โครงการนั้นดำเนินการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงสุด พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นทุนเริ่มแรกในการจัดตั้งมูลนิธิชัยพัฒนา และผู้มีจิตศรัทธาได้ทูลเกล้าฯ ถวายสมทบ มูลนิธิชัยพัฒนาก่อตั้งเมื่อ 14 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมูลนิธิชัยพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง

ตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิฯ มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง (หัวเฉียวเป้าเต๋อซ่านถัง; ฮกเกี้ยน: หัวเกียเปอเตียกเชียงต๋อง; แต้จิ๋ว: ฮั่วเคี้ยวป่อเต็กเซี่ยงตึ๊ง) เป็นมูลนิธิบรรเทาสาธารณภัย ปัจจุบันตัั้งอยู่ที่เลขที่ 326 ถนนเจ้าคำรบ ตัดกับถนนพลับพลาไชย แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100 ที่มาจาก คณะเก็บศพไต้ฮงกง ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

มีชัย กิจบุญชู

ระคาร์ดินัลไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู เป็นพระคาร์ดินัลชาวไทยองค์แรก ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอัครมุขนายกกิตติคุณมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและมีชัย กิจบุญชู · ดูเพิ่มเติม »

ยอด พิมพิสาร

ตราประจำตำแหน่ง พระคุณเจ้ายอร์ช ยอด พิมพิสาร (19 มกราคม พ.ศ. 2476 - 18 ธันวาคม 2560) บาทหลวงโรมันคาทอลิกคณะพระมหาไถ่ ชาวกรุงเทพมหานคร เคยดำรงตำแหน่งมุขนายกกิตติคุณมิสซังโรมันคาทอลิกอุดรธานี.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและยอด พิมพิสาร · ดูเพิ่มเติม »

รองพล เจริญพันธุ์

รองพล เจริญพันธุ์ นักกฎหมายชาวไทย อดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและรองพล เจริญพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

รักแห่งสยาม

รักแห่งสยาม เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดย ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์, ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี, มาริโอ้ เมาเร่อ และ วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรัก และการค้นหาตัวตน ผ่านมุมมองของเด็กชายสองคน โดยมีสยามสแควร์เป็นสถานที่เชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมด ซึ่งการถ่ายทำเป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจากสยามสแควร์เป็นสถานที่ซึ่งมีผู้คนพลุกพล่านเป็นอุปสรรคต่อการถ่ายทำ การประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ก่อนการออกฉาย นำเสนอว่าเป็นภาพยนตร์เกี่ยวกับความรักใส ๆ ของวัยรุ่นหญิงชาย แต่เมื่อภาพยนตร์ออกฉายจริง กลับมีเนื้อหาเกี่ยวกับความสับสนในจิตใจของวัยรุ่นชาย รวมถึงมีฉากล่อแหลม ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง ส่วนเสียงตอบรับในด้านกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์นั้นก่อให้เกิดข้อถกเถียงทั้งในแง่บวกและแง่ลบ ภาพยนตร์ออกฉายเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยทำรายได้ในสัปดาห์แรก 18.5 ล้านบาท และปิดรายได้รวมที่ 42 ล้านบาท นอกจากนั้นยังมีการฉายในฉบับ “Director's Cut” มีความยาวประมาณ 3 ชั่วโมงเศษ ที่โรงภาพยนตร์เฮาส์ อาร์ซีเอ และจากกระแสตอบรับที่ดีของภาพยนตร์เรื่องนี้ จึงมีกิจกรรมเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่ชื่นชอบและทีมงาน เช่น รอบพิเศษ ที่โรงภาพยนตร์สกาลา สยามสแควร์ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและรักแห่งสยาม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย

รายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและรายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารเรือ แห่งกองทัพเรือไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

รุ่นพี่ Secret Love

รุ่นพี่ Secret Love เป็นรายการโทรทัศน์ ประเภทละครชุด ผลิตโดย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และ จีเอ็มเอ็มทีวี ออกอากาศทุกวันอาทิตย์เวลา 15:00 - 16:00 น. (ช่วงแรกออกอากาศในเวลา 14:00-15:00 น.) เริ่มออกฉายครั้งแรก วันที่ 7 กุมภาพันธ์ ทางช่องวัน ปัจจุบันออกอากาศเวลา 22:00-23:00น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและรุ่นพี่ Secret Love · ดูเพิ่มเติม »

รณชัย รังสิโย

รณชัย รังสิโย (ชื่อเล่น:แซม) เกิดวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและรณชัย รังสิโย · ดูเพิ่มเติม »

วชิรวิชญ์ เรืองวิวรรธน์

วชิรวิชญ์ เรืองวิวรรธน์ ชื่อเล่น ชิม่อน เป็นนักแสดงชายชาวไทย เป็นที่รู้จักจากซีรีส์เรื่อง รุ่นพี่ Secret Love และ ''My Dear Loser รักไม่เอาถ่าน''.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวชิรวิชญ์ เรืองวิวรรธน์ · ดูเพิ่มเติม »

วรรณ ชันซื่อ

ร้อยตำรวจตรี วรรณ ชันซื่อ (16 สิงหาคม พ.ศ. 2466 - 19 สิงหาคม พ.ศ. 2558) อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวรรณ ชันซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

วราวุธ เลาหพงศ์ชนะ

วราวุธ เลาหพงศ์ชนะ เป็นผู้ประกาศข่าว พิธีกร ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวราวุธ เลาหพงศ์ชนะ · ดูเพิ่มเติม »

วราวุธ เจนธนากุล

วราวุธ เจนธนากุล (ชื่อเล่น เอ) เกิดเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวราวุธ เจนธนากุล · ดูเพิ่มเติม »

วรนาถ อภิจารี

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วรนาถ อภิจารี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กอู๊ด อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศและอดีตผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวรนาถ อภิจารี · ดูเพิ่มเติม »

วัลลภ เจียรวนนท์

ร.วัลลภ เจียรวนนท์ (12 มกราคม พ.ศ. 2484 - ปัจจุบัน) เป็นนักธุรกิจ ตระกูล เจียรวนนท์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองประธานกรรมการ เครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP) นายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย นายกสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย และ นายกสมาคมกิตติศักดิ์อัสสัมชัญ อดีตนายกสมาคมศิษย์เก่าอัสสัมชัญ ประธานคณะกรรมการดำเนินการจัดงานมหกรรมสัตว์เลี้ยงแห่งประเทศไทยเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกเครือซีพี เช่นเดียวกับ ธนินท์ เจียรวนนท์ ซึ่งเป็นประธานกรรมการและประธานคณะผู้บริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์ คนปัจจุบัน วัลลภ เจียรวนนท์ เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2484 เป็นบุตรชายของนายชนม์เจริญ เจียรวนนท์ ซึ่งเป็นน้องชายแท้ๆของนายเอ๊กซอ แซ่เจี่ย ชาวจีนโพ้นทะเล ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทเจียไต๋ บริษัทนำเข้า และจำหน่ายเมล็ดพันธุ์พืชที่มีชื่อเสียงในขณะนั้น วัลลภ เจียรวนนท์ มีศักดิ์เป็นลูกพี่ลูกน้องกับ นายธนินท์ เจียรวนนท์ สำหรับด้านการศึกษา ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวัลลภ เจียรวนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร

วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นสำนักสงฆ์เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2484 และเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหารเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2485 สร้างในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยได้เสนอคณะรัฐมนตรีให้สร้างวัดขึ้นบริเวณใกล้เคียงกับอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นอนุสรณ์การปกครองระบอบประชาธิปไตย และกำหนดให้แล้วเสร็จทันวันชาติ คือวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้สร้างวัดขึ้นโดยให้ชื่อว่า วัดประชาธิปไตย ระหว่างการก่อสร้างพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ขณะมียศเป็นนาวาเอก หลวงธำรงค์นาวาสวัสดิ์) ได้เดินทางไปขอพระบรมสารีริกธาตุจากประเทศอินเดีย รวมทั้งกิ่งพระศรีมหาโพธิ 5 กิ่ง จากต้นที่สืบเนื่องมาจากต้นที่พระโคตมพุทธเจ้าเสด็จประทับ และตรัสรู้ พร้อมดินจากสังเวชนียสถานคือสถานที่ประสูติ ที่ตรัสรู้ ที่แสดงปฐมเทศนา และที่ปรินิพพาน รัฐบาลได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ กิ่งต้นพระศรีมหาโพธิ์และดินดังกล่าวมาประดิษฐานที่วัดซึ่งกำลังสร้างนี้ ได้มีการตั้งนามวัดว่า วัดพระศรีมหาธาตุ และถวายเป็นเสนาสนะเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วันชัย จิราธิวัฒน์

วันชัย จิราธิวัฒน์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2470 - 15 กันยายน พ.ศ. 2555) ประธานกรรมการบริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำกัด, อดีตประธานกรรมการบริหารบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำกัด (มหาชน), อดีตประธานกรรมการบริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำกัด และบริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จำกั.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวันชัย จิราธิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิชา รัตนโชติ

วิชา รัตนโชติ เกิดวันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นนักกีฬาว่ายน้ำ อดีตนักกีฬาทีมชาติ 2532-2543 ได้รับทุนจากการกีฬาแห่งประเทศไทย ไปฝึกซ้อมกับทีมชาติสหรัฐอเมริกา เป็นเวลา 4 ปี ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวิชา รัตนโชติ · ดูเพิ่มเติม »

วิชิต สุรพงษ์ชัย

วิชิต สุรพงษ์ชัย เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารรัตนสิน ธนาคารกรุงเทพ ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการบริหารธนาคารไทยพาณ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวิชิต สุรพงษ์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์

ตราจารย์ วิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์ เป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการในคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการอำนวยการ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็นกรรมการในหน่วยงานต่างๆ อีกหลายหน่วยงาน ท่านเป็นผู้พิการทางสายตา ที่มีบทบาทในการเป็นแกนนำรณรงค์เพื่อประโยชน์ของผู้พิการในหลายด้าน และได้รับรางวัลและการยกย่องจากหลายๆ หน่วยงาน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวิริยะ นามศิริพงศ์พันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยาลัยที่เปิดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิชาเทคโนโลยีปิโตรเคมี วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ และสาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยจากประเทศสหรัฐอเมริกาและฝรั่ง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภา

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวุฒิสภา · ดูเพิ่มเติม »

วงลายคราม

ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดนตรีกับ วงลายคราม รุ่นแรก ณ วังอัศวิน วงลายคราม (Lay Kram) เป็นวงดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงตั้งขึ้นที่พระที่นั่งอัมพรสถานภายหลังเสด็จนิวัตประเทศไทย เล่นดนตรีในแนวแจ๊ส Dixieland ซึ่งมีความสนุกสนานเบิกบาน เปิดโอกาสให้ผู้เล่นแสดงความสามารถเฉพาะตัว "วงลายคราม" ประกอบด้วยนักดนตรีสมัครเล่นทั้งหมด ซึ่งล้วนเป็นพระราชวงศ์ผู้ใหญ่ที่พระองค์ทรงคุ้นเคยมาแต่ทรงพระเยาว์ อาท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและวงลายคราม · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู ประชากริช

รัณยู ประชากริช (บีม) เกิดเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2526 เป็นนักแสดง พิธีกร ดีเจชาวไทย ลูกชายคนโตของ รุ่งโรจน์ ประชากริช และ คุณวีณา ประชากริช เจ้าของห้างหุ้นส่วนจำกัด ป.รุ่งโรจน์อะไหล่ยนต์ แห่งวงการอะไหล่รถยนต์ของหลายยี่ห้อดัง ศรัณยูเล่าว่าในสมัยเรียนมัธยม ตอนชั้น ม.2 เขาขอพ่อซื้อรถ แข่งรถ โดดเรียน ดูดบุหรี่ เที่ยวเธค ทั้งเจาะลิ้น เจาะสะดือ เจาะหัวนม หลังจบ ม.6 เข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ แต่เรียนพอเรียนปีหนึ่ง คิดว่าไม่ใช่และสนใจอยากเรียนภาษาญี่ปุ่น จึงไปศึกษาที่เมืองโอซะกะ (โอซาก้า) ประเทศญี่ปุ่น ในสาขา Business แต่พอเรียนแล้วคิดว่าไม่ใช่ที่เขาต้องการอีก ประกอบกับไปมีเรื่องกับยากูซ่าจนต้องหนีกลับมาประเทศไทย หนำซ้ำยังโดนตามมาถึงบ้านจนทางบ้านต้องจ่ายเงินให้ไป จึงย้ายไปเรียนในสาขาออกแบบภายใน ที่สถาบันศิลปะแห่งซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา หลังจากกลับประเทศไทยได้ทำงานเป็นดีเจ คลื่น 95.5 เวอร์จิ้น ฮิตซ์ เป็นพิธีกรรายการสีสันบันเทิงสด และยังแสดงละครเรื่องแรกกับทางช่อง 3 เรื่อง เสน่หาเงินตรา รับบท “ภานุทัต” เล่นละครเรื่อง อนันตาลัย และ เพลงดินกลิ่นดาว ต่อมาเดือนพฤศจิกายน 2552 มีข่าวทางหน้าหนังสือพิมพ์ว่าขับรถฟอร์จูนเนอร์ชนแล้วหนี ทั้งนี้รถตกแต่งเลียนแบบรถตำรวจที่ใช้ในราชการ ประตูทั้งสี่ทำสีเป็นสีขาวเข้าข่ายเปลี่ยนแปลงสีรถโดยไม่แจ้งให้เจ้าพนักงานทราบเพราะสีเดิมคือสีดำ สีขาวที่ทำเพิ่มถือว่าเกิน 30% ของตัวรถ มีตราสำนักงานตำรวจแห่งชาติข้างประตู ประตูหลังติดหมายเลข2-0แปลว่าร้อยเวรสอบสวน กระจกหลังติดตรากองปราบปราม และเมื่อตรวจสอบภายในรถพบอาวุธปืน ขน.22 ซึ่งเป็นของผู้อื่น 1 กระบอก มีดสปาต้า 1 เล่ม กุญแจมือ วิทยุโทรคมนาคมแบบมือถือของตำรวจ เครื่องช็อตไฟฟ้า ทั้งนี้ศรัณยูเปิดเผยว่า เป็นของตนเองเอาไว้ป้องกันตัว ส่วนรถเพื่อไว้ใช้ในการอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใหญ่ที่นับถือในการเดินทางไปไหนมาไหนและใช้ในการแสดง ส่วนข้อหาพนักงานสอบสวนแจ้งเพียงข้อหาเดียวคือ พกพาอาวุธปืนผิดมือในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งทำให้เป็นข้อกังขาแก่สาธารณชนว่าตำรวจสน.สามเสนเป็นสองมาตรฐาน เพราะหากเป็นบุคคลธรรมดามีข้อหาหนักเยอะเช่นนี้คงจะไม่รอดจากการเข้าคุกและค่าปรับเป็นหลายแสนแน่นอน และมีหลายคนเคยเห็นรถคันนี้ใช้ทะเบียนหมายเลขอื่นซึ่งคันนี้อาจจะเข้าข่ายปลอมแปลงทะเบียนด้วย ชีวิตครอบครัว บีม - ศรัณยู หมั้นในวันที่ 27 กันยายน 2558 และฉลองมงคลพร้อมจดทะเบียนสมรส ในวันที่ 20 ธันวาคม 2558 กับหญิงสาวลูกครึ่งไทย-ญี่ปุ่น นอกวงการ ชื่อ "ชาช่า ทามาดะ" หรือ "ชาช่า ภักค์ไพบูลย์" เป็นพี่สาวของ ชัญญ่า ทามาดะ ซึ่งชาช่าและหนุ่มบีม คบหาดูใจกันมาได้ 4 ปี.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและศรัณยู ประชากริช · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์ นานา

ักดิ์ นานา ชื่อเล่น กีกี้ (8 มกราคม พ.ศ. 2518) เป็นนักดริฟท์รถ นักแข่งรถ นักธุรกิจชาวไทย ได้รับฉายาว่า "ดริฟท์คิงส์ประเทศไทย" ศักดิ์ เกิดและเติบโตในตระกูล "นานา" เริ่มเข้ารับการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ (AC107) โรงเรียนดอนบอสโก จังหวัดราชบุรี ตามลำดับ และศึกษาต่อระดับอุดมศึกษายังมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด บรู๊ค (Oxford Brookes University) สหราชอาณาจักร จนจบได้วุฒิปริญญาตรีและโทบัณฑิต ศักดิ์เริ่มทำการแข่งขันในรายการ "ฟอร์ด ฟอร์มูล่า" (Ford Formula) ด้วยรถที่มีเครื่องยนต์ขนาด 1.3 ลิตร และสามารถคว้าอันดับ 3 มาครองได้สำเร็จ หลังจากนั้นมาเมื่อมีเวลาว่าง เขาก็ได้เริ่มเอารถไปฝึกดริฟท์ และเริ่มทำการลงแข่งขันดริฟท์นับตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน ศักดิ์เคยได้รับการจัดอันดับให้เป็น "ดริฟท์คิง" อันดับที่ 5 ของโลกปี 2011 และเคยได้แชมป์ในคลาส จีที4 อีกด้วย ชีวิตส่วนตัวนับถือศาสนาอิสลาม ปัจจุบันสมรสกับจอมขวัญ ลีละพงศ์ประสุต (จีจี้) อดีตนักแสดงหญิงสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยมีอายุห่างกันกว่า 19 ปี มีบุตรสาวสองคน คนแรกชื่อมารีอา นานา (12 พฤศจิกายน 2556) และคนที่สองชื่อเอ็มม่า นานา (19 มกราคม 2560) ศักดิ์ยังเป็นเจ้าของรถหลายคัน เช่น นิสสันซิลเวียเอส 15 ซึ่งเป็นรถที่ศักดิ์ใช้ดริฟท์บ่อยครั้ง ลัมโบร์กีนี อะเวนตาโดร์ และเฟอร์รารี่ เอฟ12เบอร์ลิเนตต้าสีเหลือง ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและศักดิ์ นานา · ดูเพิ่มเติม »

ศิริศิลป์ โชติวิจิตร

ริศิลป์ โชติวิจิตร (ชื่อเล่น: กวาง) เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2525 อดีตเป็นนักร้องนำของวง เอบีนอร์มัล และผ่านการประกวดนักร้องนำยอดเยี่ยมจากการประกวด Ac Music Contest มีผลงานเพลงกับเอบีนอร์มัลตั้งแต่ชุดอัลบั้ม ปกติ และร้องเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน ในปีถัดมา ปัจจุบันเป็นศิลปินเดี่ยว อีกทั้งยังเป็นนักแข่งรถยนต์และครูสอนดำน้ำ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและศิริศิลป์ โชติวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ศิริโชค โสภา

นายศิริโชค โสภา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา และรองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นที่รู้จักในฉายา วอลล์เปเปอร์ จากการมักปรากฏตัวหลังนายกรัฐมนตรีเมื่อปรากฏภาพในจอโทรทัศน์เสมอ ๆ ซึ่งเจ้าตัวก็ยอมรับในฉายานี้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังเป็นผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ รายการสายล่อฟ้า ทางสถานีโทรทัศน์บลูสกายแชนแนล อีกด้ว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและศิริโชค โสภา · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย เจียรวนนท์

ัย เจียรวนนท์ (เกิด: 24 มีนาคม พ.ศ. 2510) เป็นนักธุรกิจชาวไทย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานคณะผู้บริหาร เครือเจริญโภคภัณฑ์ ประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) และกรรมการในคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา และได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการบริษัท ประชารัฐรักสามัคคี (ประเทศไทย) จำกั.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและศุภชัย เจียรวนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สภากรรมการองคมนตรี

กรรมการองคมนตรี เป็นคณะที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 40 คน ตั้งเป็น สภากรรมการองคมนตรี ทำหน้าที่พิจารณาร่างกฎหมาย ต่อมาได้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งองคมนตรี ขึ้นใหม่ทุกปีในวันที่ 4 เมษายน เนื่องในพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ในขณะที่กฎหมายกำหนดให้องคมนตรี ดำรงตำแหน่งจนถึงสิ้นรัชกาล และมีกำหนดหลังจากนั้นอีก 6 เดือน เมื่อสิ้นรัชกาลจึงมีองคมนตรีมากถึง 233 คน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาขึ้นสามคณะ ประกอบด้วย อภิรัฐมนตรีสภา เสนาบดีสภา และ สภากรรมการองคมนตรี โดยอาศัยอำนาจตาม พระราชบัญญัติองคมนตรี พุทธศักราช ๒๔๗๐ ซึ่งทรงตราขึ้นมาใช้บังคับแทน พระราชบัญญัติปรีวีเคาน์ซิล พุทธศักราช ๒๔๑๗ ประกอบด้วยกรรมการองคมนตรีจำนวน 40 คน ซึ่งจะทรงตั้งจากองคมนตรี มีหน้าที่ประชุมปรึกษาหารือ ถวายความเห็นเกี่ยวกับสวัสดิภาพแห่งบ้านเมืองและประชาชน โดยกำหนดให้กรรมการองคมนตรี อยู่ในตำแหน่งได้ครั้งละ 3 ปี หลังจากนั้นอาจจะทรงแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งซ้ำอีกก็ได้ สภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีทั้งสิ้น 2 ชุด คือ ชุดที่หนึ่ง ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 2 กันยายน 2470 - 31 มีนาคม 2474 และชุดที่สอง ตั้งแต่ 1 เมษายน 2474 - 31 มีนาคม 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 คณะราษฎรได้มีประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติองคมนตรี เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสภากรรมการองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นองค์กรไม่แสวงหากำไรที่เป็นตัวแทนของภาคอุตสาหกรรมเอกชนของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์การดำเนินงานเพื่อประสานนโยบายภาครัฐกับเอกชน ส่งเสริมและพัฒนาการประกอบอุตสาหกรรม และดูแลสมาชิกให้ปฏิบัติตามนโยบาย สภาอุตสาหกรรมฯ ได้รับการยกฐานะเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2530 จากเดิมคือ "สมาคมอุตสาหกรรมไทย" ซึ่งดำเนินการมาตั้งแต่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 สภาอุตสาหกรรมฯ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ตามพระราชบัญญัติสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย

ประมุขแห่งบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทยกรมการศาสนา, รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓, กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6 คริสตชนคาทอลิกในประเทศไทยเรียก สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย (The Catholic Bishops' Conference of Thailand) เป็นองค์การปกครองสูงสุดของคริสตจักรโรมันคาทอลิกในประเทศไทย ประกอบด้วยมุขนายกชาวไทยซึ่งเป็นประมุขเขตมิสซังต่าง ๆ ทั่วประเทศไทยทั้งสิบมิสซัง ปัจจุบัน สำนักงานเลขาธิการสภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 122/6-7 ซอยนาคสุวรรณ ถนนนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ รอดโพธิ์ทอง

ลตรี สมบัติ รอดโพธิ์ทอง เป็นอดีตแกนกบฏยังเติร์ก เมื่อปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสมบัติ รอดโพธิ์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ โหตระกิตย์

ตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสมภพ โหตระกิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมหมาย ฮุนตระกูล

มหมาย ฮุนตระกูล (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2536) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ และอดีตผู้ว่าการการไฟฟ้ายันฮี และอดีตกรรมการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตั้งแต..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสมหมาย ฮุนตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย

ตราสัญลักษณ์สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย หรือ Thai Association of Landscape Architects (เรียกย่อๆว่า TALA) เป็นสมาคมวิชาชีพ 1 ใน 4 สาขาหลักของสภาสถาปนิก ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

ัญลักษณ์สมาคมสถาปนิกสยาม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage of His Majesty the King) หรือ อาษา (ASA) เป็นสมาคมของบุคคลในวิชาชีพสถาปนิกและผู้ที่สนใจในงานสถาปัตยกรรมของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่งในสี่สมาคมวิชาชีพออกแบบสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม เป็นสมาคมที่มีลักษณะเป็นนิติบุคคล.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมใจนึก เองตระกูล

มใจนึก เองตระกูล ประธานกรรมการ บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จำกัด (มหาชน) อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสมใจนึก เองตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ อริยะชัยพาณิชย์

มเกียรติ อริยะชัยพาณิชย์ หรือ Mr.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสมเกียรติ อริยะชัยพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

สยามสแควร์

มสแควร์ด้านนถนนพญาไท สยามสแควร์ ศูนย์การค้าแบบเชิงราบ จากภาพคือบริเวณสยามสแควร์ซอย 7 สยามสแควร์ ปี พ.ศ. 2558 สยามสแควร์ หรือเรียกกันว่า สยาม เป็นศูนย์การค้าแบบเชิงราบในกรุงเทพมหานคร เนื้อที่ 63 ไร่ ตั้งอยู่บนหัวมุมถนนพญาไท และถนนพระราม 1 โดยด้านหลังติดกับถนนอังรีดูนังต์ และด้านทิศตะวันออกติดต่อกับคณะเภสัชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขและคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกด้านหนึ่งติดกับ ห้างสรรพสินค้าเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ และอีกด้านหนึ่งติดกับ สยามดิสคัฟเวอรี สยามเซ็นเตอร์และสยามพารากอน สยามสแควร์เป็นพื้นที่ในความดูแลของสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธุรกิจในสยามสแควร์มีความหลากหลาย ทั้งโลกของแฟชั่น อาหาร พื้นที่โฆษณา โรงเรียนกวดวิชา สังคมเด็กแนว หรือในแวดวงทางการธุรกิจการตลาด เป็นสถานที่ที่มีการทดลองสินค้า และกิจกรรมการตลาดแบบแปลกใหม่และเข้มข้นที่สุดแห่งหนึ่ง มีจำนวนคนเดินในสยามสแควร์ในวันธรรมดาเฉลี่ยวันละ 20,000 คน วันหยุดไม่ต่ำกว่า 50,000 คน ซึ่งแต่ละคนมีกำลังซื้อเฉลี่ย 1,000 บาท/ครั้ง/คน สยามสแควร์ในปัจจุบันมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายนอก รูปแบบอาคารอยู่เสมอ แต่ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมถึงภูมิทัศน์ มีการเพิ่มการแพร่ภาพสื่อผ่านทางจอโทรทัศน์ทั่วสยามสแควร์ และทางสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาโครงการศึกษาผังแม่บทสยามสแควร์ขึ้นอย่างจริงจัง และโครงการหลังจากเซ็นเตอร์พอยท์ได้หมดสัญญาลงไป ก็คือโครงการ "ดิจิตอล เกตเวย์" และยังมีโครงการอาคารจอดรถ โครงการโรงแรม 3 ดาวครึ่ง ในอนาคต สยามสแควร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมสมัยนิยมของไทย โดยมีภาพยนตร์ที่มีฉากหรือเนื้อหาเกี่ยวกับสยามสแควร์ เช่น รักแห่งสยาม และ สยามสแควร์ นอกจากนี้มิวสิกวิดีโอก็นิยมใช้สยามสแควร์เป็นฉากในเรื่อง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสยามสแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

สรรพสินค้าเซ็นทรัล

ริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำกัด (Central Department Store Company Limited) หรือ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล เป็นห้างสรรพสินค้าเก่าแก่แห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งโดย เตียง จิราธิวัฒน์ เริ่มดำเนินการเมื่อปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสรรพสินค้าเซ็นทรัล · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์

ลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ (20 กันยายน พ.ศ. 2478 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2534 สมาชิกว..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสวัสดิ์ อมรวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุรวมได้ 94 ปี.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสัญญา ธรรมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ลุนเผ่

รือตรีไพศาล ลุนเผ่ หรือชื่อในวงการว่า สันติ ลุนเผ่ (22 มิถุนายน 2479 —) เป็นข้าราชการทหารชาวไทย และศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสันติ ลุนเผ่ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ทักราล

นายสันติ ทักราล (8 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 29 เมษายน พ.ศ. 2554) อดีตองคมนตรี (ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง) และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสันติ ทักราล · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) (Office of the Private Education Commission: OPEC) เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เดิมมีชื่อว่า "สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน" ในปี พ.ศ. 2545 ได้มีพระราชบัญญัติปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ำนักงานตำรวจแห่งชาติ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ เชาว์วิศิษฐ

ร้อยเอกสุชาติ เชาว์วิศิษฐ (21 เมษายน พ.ศ. 2483 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุชาติ เชาว์วิศิษฐ · ดูเพิ่มเติม »

สุชน ชามพูนท

นายสุชน ชามพูนท ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายสมั.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุชน ชามพูนท · ดูเพิ่มเติม »

สุพล พัวศิริรักษ์

ล พัวศิริรักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุพล พัวศิริรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุกิจ นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ สุกิจ นิมมานเหมินท์ (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449 — 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519) อดีตราชบัณฑิต อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีหลายกระทรวง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุกิจ นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุลักษณ์ ศิวรักษ์

150x150px สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2475) เจ้าของนามปากก.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุลักษณ์ ศิวรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุวบุญ จิรชาญชัย

ตราจารย์ สุวบุญ จิรชาญชัย (เกิด ปี พ.ศ. 2507 -) เป็นคณบดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และที่ปรึกษาสมาคมโพลิเมอร์แห่งประเทศไท.สุวบุญ จิรชาญชัย หรือ.ดร.สุวบุญ จิรชาญชัย มีความเชี่ยวชาญด้านสาขาเคมี โดยเฉพาะเรื่อง พอลิเมอร์ชีวภาพ ซุปปราโมเลกุล พอลิเมอร์สังเคราะห์ พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ (biodegradable plastics) พอลิเมอร์เมมเบรนเซลล์ เชื้อเพลิง โดยได้สร้างผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการชั้นนำกว่า 80 เรื่อง เขาได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติในสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุวบุญ จิรชาญชัย · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณ วลัยเสถียร

ร.สุวรรณ วลัยเสถียร เป็นนักกฎหมาย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการบริหารชุดแรกของพรรคไทยรักไทย เป็นผู้ก่อตั้งชมรมคนออมเงิน และปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานชมรมฯ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุวรรณ วลัยเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

สุวิช จันทประดิษฐ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุวิช จันทประดิษฐ์ อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม ดำรงตำแหน่งตั้งแต..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุวิช จันทประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุหฤท สยามวาลา

หฤท สยามวาลา (8 สิงหาคม พ.ศ. 2511) ชื่อเล่น โต้ เป็นนักร้อง นักดนตรี นักจัดรายการวิทยุ และผู้บริหารบริษัท ดีเอชเอ สยามวาลา ธุรกิจของครอบครัว สุหฤทเกิดในครอบครัวเชื้อสายอินเดียชีอะห์ เป็นบุตรคนที่สี่จากทั้งหมดห้าคนของมิตร (นามเดิม อามีร) กับซามีนา สยามวาลา บรรพบุรุษโยกย้ายมาจากรัฐคุชราต จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ จบการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และปริญญาโท สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เข้าสู่วงการดนตรีจากการเป็นนักร้องนำวงครับ ของเพื่อนเรียนชั้นมัธยม จากนั้นได้มาทำงานบริหารธุรกิจของครอบครัว แต่ยังใช้เวลาว่างเล่นดนตรี ร้องเพลง และออกผลงานเพลงในแนวอิเล็กทรอนิกส์มาแล้ว 4 ชุด มีจุดเด่นที่การแต่งกายสีสันฉูดฉาด และเป็นนักจัดรายการวิทยุ คลื่นแฟตเรดิโอ นอกจากนี้แล้วในทางการเมือง เป็นหนึ่งในผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2556 โดยไม่สังกัดพรรคการเมืองใด ได้เบอร์ 17 แม้จะไม่ได้รับการเลือกตั้ง แต่ก็ได้คะแนนไปทั้งหมด 107,138 คะแนน ถือว่าเป็นลำดับที่ 4 (จากทั้งหมด 25 ราย) ซึ่งขณะหาเสียง สุหฤทได้ชื่อว่าเป็นขวัญใจของวัยรุ่น คนรุ่นใหม่ โดยมีวิธีการหาเสียงแบบแหวกแนว คือ ไม่มีป้ายโฆษณาตัวเองตามสถานที่สาธารณะต่าง ๆ แต่จะใช้การหาเสียงหลักในโซเชียลเน็ตเวิร์กแทน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุหฤท สยามวาลา · ดูเพิ่มเติม »

สุจินต์ จินายน

ตราจารย์ ดร.สุจินต์ จินายน ศาสตราจารย์ สุจินต์ จินายน (12 เมษายน พ.ศ. 2478 -) ศาสตราจารย์สาขาพันธุศาสตร์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช ได้รับการคัดเลือกให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์ และชีววิทยา เมื่อปี พ.ศ. 2533 เคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุจินต์ จินายน · ดูเพิ่มเติม »

สุขุม นวลสกุล

รองศาสตราจารย์ สุขุม นวลสกุล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นักพูด และนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ. 2486 ที่จังหวัดยะลา โดยเป็นลูกคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 8 คน (ชาย 4 หญิง 4) บิดามีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปครอง พ.ศ. 2475 โดยที่ครอบครัวมีธุรกิจประเภทอสังหาริมทรัพย์ เริ่มศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา แล้วไปศึกษาต่อยังโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยขณะเรียนได้เรียนในสายวิทยาศาสตร์เพราะมีความตั้งใจจะเป็นแพทย์ แต่คะแนนวิทชาทางเคมีหรือชีววิทยาได้ไม่ดี แต่กลับได้คะแนนดีในวิชาภาษาไทย จึงเปลี่ยนไปสอบเอนทรานซ์สายสังคมศาสตร์แทน ซึ่งสอบได้คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาในปี พ.ศ. 2511 (รุ่นที่ 15) ด้วยการใช้เวลาศึกษานานถึง 5 ปี ต่อมาได้เรียนระดับปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์และสังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยเท็กซัส เอแอนด์เอ็ม (Master of Science Texas A & M University) สหรัฐอเมริกา และได้ศึกษาเพิ่มเติมที่สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้รับประกาศนียบัตรสงครามจิตวิทยา เมื่อครั้งจบปริญญาตรี ได้ทำงานเป็นคอลัมนิสต์ในนิตยสารมวยไทยอยู่ 6 เดือน ก่อนจะเดินทางไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา เมื่อจบปริญญาโทในปี พ.ศ. 2514 ได้เข้าทำงานเป็นอาจาย์ในมหาวิทยาลัยรามคำแหง ซึ่งเพิ่งก่อตั้ง นับเป็นคณาจารย์รุ่นบุกเบิกของมหาวิทยาลัยด้วยคนหนึ่ง จนกระทั่งได้รับตำแหน่งทางวิชาการเป็นรองศาสตราจารย์ และได้เป็นคณบดีคณะรัฐศาสตร์ จนถึงตำแหน่งอธิการบดี เมื่อปลายปี พ.ศ. 2525 และยุติการรับราชการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ก่อนเกษียณอายุราชการจริงหลายปี นอกจากนี้แล้วในทางการเมือง เคยเป็นที่ปรึกษาทางการมืองให้แก่นายกรัฐมนตรี พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524-พ.ศ. 2531 ซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายของการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พล.อ.เปรม ในระหว่างดำรงตำแหน่งอธิการบดี ได้เกิดเหตุนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรามคำแหงผู้หนึ่ง ได้เข้าทำร้ายร่างกาย พล.อ.เปรม ด้วยการชกหน้าและด่าทอด้วยคำหยาบคาย ขณะที่ พล.อ.เปรมเป็นประธานในพิธีปิดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย ที่ทางมหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นเจ้าภาพ จน พล.อ.เปรมต้องเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล ทาง ร.สุขุมในฐานะอธิการบดีและที่ปรึกษาของ พล.อ.เปรม ได้แสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออกทันที แต่ทว่าทางสภามหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุขุม นวลสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุเมธ ตันติเวชกุล

ร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา สุเมธ ตันติเวชกุล หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2482 ที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรของนาย อารีย์ ตันติเวชกุล อดีต ส.ส.จังหวัดนครราชสีมา 5 สมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ ท่านผู้หญิง ประสานสุข ตันติเวชกุล ต้นเครื่องพระกระยาหารไทยในพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สมรสกับคุณหญิง รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสุเมธ ตันติเวชกุล · ดูเพิ่มเติม »

สีขาว

ีขาว คือ โทนสี หรือ การรับรู้ที่เกิดจากแสงไปกระตุ้นเซลล์สีรูปกรวยทั้ง 3 แบบในดวงตาของมนุษย์ในปริมาณที่เกือบจะเท่ากันและมีความสว่างสูงสุดเมื่อเทียบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง สีขาว เป็นสีที่เกิดจากการรวมความเข้มของแสงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ เป็นสีที่เต็มไปด้วยความสว่าง แต่ไม่มีสีสัน แหล่งกำเนิดของแสงสีขาวมีอยู่หลายแหล่ง เช่น ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน, หลอดไฟแบบไส้, หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนท์ และหลอด LED สีขาว สีขาวยังมีความพิเศษอยู่อีกอย่างหนึ่ง ก็คือ เป็นสีที่เกิดจากการผสมกันระหว่างแสงสีปฐมภูมิ ซึ่งได้แก่ สีแดง, เขียว และน้ำเงิน (RGB) โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า การผสมแสงสี (additive mixing) ซึ่งพบได้ทั่วไปในเทคโนโลยีการแสดงผล แสงสีขาวที่สะท้อนออกมาจากวัตถุจะสามารถมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อไม่มีสเปกตรัมของแสงส่วนไหนที่สะท้อนมากกว่าส่วนอื่นๆและวัตถุที่สะท้อนแสงนั้นมีมุมตกกระทบที่เหมาะสมที่จะทำให้เกิดการกระจัดกระจายของแสง (diffusion) ได้.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสีขาว · ดูเพิ่มเติม »

สีแดง

ีแดง คือสีมีความถี่ของแสงที่ต่ำที่สุด ที่ตามนุษย์สามารถแยกแยะได้ แสงสีแดงมีบริเวณช่วงคลื่นระหว่าง 630-760 นาโนเมตร สีแดงเป็นสีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง จัดเป็น 1 ในแม่สี 3 สี ร่วมกับสีเขียว, สีน้ำเงิน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสีแดง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

นีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย และแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดำเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) ออกอากาศแทนสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ก่อนแพร่ภาพอย่างเป็นทางการในอีก 1 เดือนต่อม.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

สดุดีอัสสัมชัญ

ลงสดุดีอัสสัมชัญ (Glorify Assumption) เป็นเพลงหนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นเพลงที่ปลุกความเป็น “อัสสัมชัญ” ในบรรดานักเรียนให้พลุ่งพล่านในสายเลือด เป็นเพลงที่ถูกนำไปใช้เป็นเพลงประจำสถาบันในเครือมูลนิธิคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแขวงประเทศไทย ที่มีนามว่าอัสสัมชัญหลายแห่ง เว้นแต่ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา ที่มีเพลงประจำโรงเรียนเป็นแบบเฉพาะหรือใช้เพลงสีแดงและขาวเป็นเพลงประจำโรงเรียน แต่ก็ยังคงใช้เพลงสดุดีอัสสัมชัญเป็นเพลงของโรงเรียนด้วย เช่น โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยใช้เพลงเกียรติศักดิ์ MC ซึ่งดัดแปลงเพลงสดุดีอัสสัมชัญเป็นเพลงใหม่ที่เข้ากับโรงเรียนมงฟอร์ต ใช้ในการประกวดผู้นำเชียร์ในงานกรีฑาสีของโรงเรียนทุกปี ที่มาของเพลงสดุดีอัสสัมชัญนั้น พบว่า ตั้งแต..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสดุดีอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ด เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทยจากเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ปัจจุบันเล่นอยู่ในไทยลีก.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโร

มสรฟุตบอลโปลิศ เทโร (Police Tero F.C.) สโมสร ฟุตบอล ใน ประเทศไทย โดยปัจจุบันลงทำการแข่งขันอยู่ใน ไทยลีก เกิดจากการรวมกันของ บีอีซี-เทโรศาสน และ เพื่อนตำรวจ ใน ฤดูกาล 2560 โดยเปลี่ยนเป็น โปลิศ เทโร ตั้งแต่ ฤดูกาล 2561 เป็นต้นไป.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโร · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน

มสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน (Everton Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลของอังกฤษ มีสนามเหย้าคือกูดิสันพาร์กในเมืองลิเวอร์พูล ซึ่งห่างจากสนามแอนฟีลด์ของลิเวอร์พูลเพียงแค่สวนสาธารณะกั้น เอฟเวอร์ตันเป็นคู่ปรับร่วมเมืองของลิเวอร์พูล สนามประจำทีมเอฟเวอร์ตันชื่อ กูดิสันพาร์ก ซึ่งห่างจากสนามของลิเวอร์พูลเพียงแค่สวนสาธารณะกั้น แฟนฟุตบอลชาวไทยตั้งฉายาให้ว่า "ทอฟฟีสีน้ำเงิน".

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

สเลอ

มาชิกยุคเริ่มแรก (จากซ้ายไปขวา):แถวหลัง: เป้, เย่, แบงค์แถวหน้า: บู้, เอม สะเลอ (Slur) วงดนตรีสัญชาติไทย การรวมตัวกันของ 5 หนุ่มที่มีใจรักในแนวเพลงสไตล์ “Rock N' Roll” โดยพวกเขาได้ผสมผสานความเป็น Rock และ Pop เข้าไว้ด้วยกันจนเกิดเป็นเพลงทางเลือกใหม่ที่ฟังง่าย ฟังสนุก และพ่วงความหฤหรรษ์ ด้วยการแทรกเสียงเครื่องเป่าทองเหลืองอย่าง “ ทรัมเป็ต ” เข้าไปไว้ในบทเพลงของพวกเขา เพื่อช่วยเพิ่มสีสัน ความสนุก และจังหวะที่ชวนให้ต้องขยับแข้งขยับขาเต้นรำเป็นอย่างยิ่ง บวกกับความตั้งใจจริงด้วยการ Produce เพลงของพวกเขาเองทั้งหมด ทั้งเนื้อร้อง ทำนอง เรียบเรียง ด้วยการแสดงสดแบบสุดมันส์ ปนความสนุกสนานของจังหวะดนตรีที่คึกคัก ชวนเต้นรำในสไตล์ ROCK N' ROLL จนเข้าตาถูกแนวทางของค่ายเพลงอย่าง สมอลล์รูม คว้ามาเป็นศิลปินในสังกัด ด้วยลีลา และภาพลักษณ์ที่สะดุดตา ทั้ง แนวทางงานเพลง บวกกับบุคลิกท่าทางในสไตล์ส่วนตัวของแต่ละคน ที่เรียกได้ว่าสุดๆ แบบไม่ยอมใคร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและสเลอ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี

ลตรี หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี (26 ตุลาคม พ.ศ.2475 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2559) หรือ คุณชายศุภวัฒย์ นักประวัติศาสตร์คนสำคัญของไทย และที่ปรึกษาคณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์อ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและหม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตไทย ประจำสหรัฐอเมริกา มาก่อน ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "เสนีย์" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับพระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจากเสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคำรบ) เป็นทหาร ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช มีบุตรชาย-หญิง 3 คน บุตรชาย ได้แก่ ม.ล.เสรี ปราโมช, ม.ล.อัศนี ปราโมช และ บุตรี ได้แก่ ม.ล.นียนา ปราโมช ม.ร.ว.เสนีย์ มีน้องชายที่มีชื่อเสียงคู่กันคือ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่มีความสามารถในหลายสาขา โดยสื่อมวลชนนิยมเรียก ท่านทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ยังมีพี่สาวคือ ม.ร.ว.บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พล.ต.อ.พระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) ม.ร.ว เสนีย์ เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่อายุน้อยที่สุดในประศาสตร์การเมืองไทย ด้วยอายุขณะรับตำแหน่ง คือ 40 ปี.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวงษ์มหิป ชยางกูร

หม่อมเจ้าวงษ์มหิป ชยางกูร (19 เมษายน พ.ศ. 2452 - 19 สิงหาคม พ.ศ. 2530) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศเนเธอร์แลนด์และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและหม่อมเจ้าวงษ์มหิป ชยางกูร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์

อง ม.จ.อากาศดำเกิงรพีพัฒน์ บนปกหนังสือ ละครแห่งชีวิต หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ (12 พฤศจิกายน 2447 — 18 พฤษภาคม 2475) หรือเป็นที่รู้จักในนามปากกา วรเศวต เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ กับหม่อมอ่อน ทรงได้รับการศึกษาชั้นต้นจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และศึกษาต่อชั้นมัธยม 4 ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ แต่สอบตกชั้นมัธยม 7 จึงออกจากโรงเรียน เดินทางไปศึกษาต่อวิชากฎหมายที่สำนักมิดเดิ้ลเทมเปิ้ล กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ แต่โดยที่ไม่โปรดในเรื่องกฎหมาย จึงทรงคลุกคลีอยู่กับหมู่นักหนังสือพิมพ์อังกฤษ จนล้มเหลวในเรื่องการศึกษา แต่โชคดีที่ได้รับพระราชทานทุนจากรัชกาลที่ 7 ให้ไปศึกษาวิชาการต่างประเทศ ที่เมืองจอร์จทาวน์ สหรัฐอเมริกา แต่ประชวรหนักทำให้ต้องเดินทางกลับประเทศไทย ม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

อบ วสุรัตน์

นายอบ วสุรัตน์ เป็นนักธุรกิจชาวไทย เจ้าของกิจการบริษัทวิทยาคม ผู้แทนจำหน่ายเครื่องพิมพ์ดีดเรมิงตัน เป็นอดีตประธานสภาหอการค้าไทย และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอบ วสุรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อภิชาติ ชูสกุล

อภิชาติ ชูสกุล (พ.ศ. 2499-6 กันยายน พ.ศ. 2553) มีชื่อเล่นว่า หมึก เป็นนักแสดงชาวไทยที่มีชื่อเสียงมาจากการรับบท หมู่เชียร อดีตตำรวจรถถังผู้เป็นลูกพี่ของแดง ไบเล่ และเพื่อน ๆ จากภาพยนตร์เรื่อง 2499 อันธพาลครองเมือง ในปี พ.ศ. 2540 ซึ่งบทบาทการแสดงในเรื่องนี้ของอภิชาติ เป็นที่กล่าวขานอย่างมากว่า แสดงได้ดี เป็นที่น่าจดจำ สมบทบาทนักเลงจริง ๆ ทั้ง ๆ ที่เป็นเพียงตัวประกอบ แต่สามารถแย่งความเด่นของตัวละครอื่นที่เข้าฉากด้วยกันได้ เช่นเดียวกับนักแสดงประกอบชายอีกคน คือ สมชาย ศักดิกุล หลังจากนั้น ก็ได้รับบทเป็นตัวประกอบและตัวร้ายในละครโทรทัศน์และภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ เช่น "เต่า" บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ siam observer ในปมไหม ทางไอทีวี, "ดาบเหล็ก" ในละครชุด น้องใหม่ร้ายบริสุทธิ์ ทางช่อง 3, "พระยาพลเทพ" ตัวร้ายใน นิราศสองภพ และ "พระเชียงเงิน" ใน ตากสินมหาราช ทางช่องเดียวกัน ในส่วนของภาพยนตร์ก็ได้แก่ ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ ในปี พ.ศ. 2547, แค่เพื่อนค่ะพ่อ, โหน่ง เท่ง นักเลงภูเขาทอง ในปี พ.ศ. 2549 และคนหิ้วหัว ในปี พ.ศ. 2550 เป็นต้น นอกจากนั้นยังเคยร่วมแสดงในภาพยนตร์ต่างประเทศ เรื่อง The Beach ในปี พ.ศ. 2543 ในบทมาเฟียเจ้าของเกาะและไร่กัญชา และ Rescue Dawn ภาพยนตร์สัญชาติเยอรมัน ในปี พ.ศ. 2548 ในบท พิสิษฐ์ อินทรทัต งานเบื้องหลัง อภิชาติเคยเป็นผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์ต่างประเทศ เช่น Return To Paradise (ค.ศ. 1998) Aces go places V (ค.ศ. 1989) และนอกจากนี้ยังเป็นผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์ไทยเรื่อง สุริโยไท ในปี พ.ศ. 2544 ด้วย ชีวิตส่วนตัว อภิชาติ เป็นชาวอำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญบางรัก ปริญญาตรีจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการอ่านสปอตโฆษณาและเป็นผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์ สมรสกับ นางชไมพร กัลยาณมิตร ภรรยาที่อยู่กินกันมานานกว่า 30 ปี โดยไม่มีบุตร โดยความชอบส่วนตัวเป็นคนที่รักสุนัขมาก ได้เลี้ยงสุนัขไว้ทั้งหมด 3 ตัว อภิชาติเสียชีวิตเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2553 ด้วยโรคมะเร็งตับ โดยตรวจพบเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปีเดียวกัน แต่เจ้าตัวปฏิเสธที่เข้ารับการรักษาด้วยวิธีการฉายแสง โดยมีผลงานเรื่องสุดท้ายเป็นภาพยนตร์อิสระเรื่อง สติ สื.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอภิชาติ ชูสกุล · ดูเพิ่มเติม »

อภิภู สุนทรพนาเวศ

ร้อยตรีอภิภู สุนทรพนาเวศ เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย จังหวัดสมุทรปราการ ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลโอสถสภา เอ็ม–150 สระบุรี ในไทยพรีเมียร์ลีก เล่นในตำแหน่งกองกลางตัวรุก เขาเคยเล่นให้กับ ฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี ในการแข่งขันซีเกมส์ ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอภิภู สุนทรพนาเวศ · ดูเพิ่มเติม »

อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายกราชบัณฑิตยสถาน และ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นนายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบประสาทและระบบสมองของไทย บิดาของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายกรัฐมนตรี คนที่ 27 ของประเทศไท.น.อรรถสิทธิ์ เกิดวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 เป็นบุตรคนที่ 7 ในจำนวน 10 คนของนายโฆสิต เวชชาชีวะ น้องชายของพระบำราศนราดูร (หลง เวชชาชีวะ) อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข มีพี่ชายคือนายนิสสัย เวชชาชีวะ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ที่เป็นบิดาของนายสุรนันท์ เวชชาชีวะ นักการเมืองพรรคไทยรักไทย และเป็นพี่ชายของนายวิทยา เวชชาชีวะ ที่เป็นอดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศเช่นกัน ระหว่างเป็นคณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล น.อรรถสิทธิ์ เป็นผู้ริเริ่มโครงการศูนย์วินิจฉัยก้าวหน้าและรังสีร่วมรักษา (AIMC) เป็นโครงการนำร่องของการบริหารงานภายใต้การกำกับดูแลของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สังกัดศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ มีระบบบริหารจัดการแบบพิเศษ โดยมูลนิธิรามาธิบดี เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อรุณ สรเทศน์

ตราจารย์ อรุณ สรเทศน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอรุณ สรเทศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ออกัส

ออกัส เป็นวงดนตรีชาวไทย ก่อตั้งขึ้นเพื่อร่วมแสดงเป็นวงดนตรีชื่อเดียวกัน ในภาพยนตร์ไทยเรื่อง รักแห่งสยาม (2550) ซึ่งชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล ผู้กำกับการแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้ เป็นผู้จัดการวง และมีสมาชิกทั้งหมด 13 คน ออกอัลบั้มเพลงมาแล้วสองชุด ในช่วงต้นและปลายปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและออกัส · ดูเพิ่มเติม »

อัมมาร สยามวาลา

ตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482 -) นักเศรษฐศาสตร์ อดีตประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องข้าว เศรษฐศาสตร์การเกษตรกรรม และการพัฒนา บรรพบุรุษของ ศาสตราจารย์พิเศษ อัมมาร สยามวาลา หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อัมมาร สยามวาลา เป็นชาวอินเดียที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาในประเทศไทย ดร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอัมมาร สยามวาลา · ดูเพิ่มเติม »

อัมรินทร์ เยาดำ

อัมรินทร์ เยาดำ (ชื่อเล่น: อํ่า) เกิดวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2523 ปัจจุบันได้ลงเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด ในไทยลีกดิวิชั่น 1.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอัมรินทร์ เยาดำ · ดูเพิ่มเติม »

อัครมุขนายก

2553. อาร์ชบิชอป (Archbishop) หรืออัครมุขนายก ชาวไทยคาทอลิกเรียกว่าพระอัครสังฆราช เป็นตำแหน่งการปกครองระดับสูงในบางคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน ถือว่ามีสถานะเหนือกว่ามุขนายกกรมการศาสนา, รายงานการศาสนา ประจำปี ๒๕๔๓, กรมการศาสนา, 2543, หน้า 194-6 (bishop) การเป็นอัครมุขนายกหมายถึงการได้ปกครองอัครมุขมณฑล (archdiocese) ซึ่งเป็นมุขมณฑลที่มีความสำคัญเป็นกรณีพิเศษ หรือในกรณีของแองกลิคันคอมมิวเนียนจะหมายถึงกลุ่มมุขมณฑลที่รวมกันเป็นภาคคริสตจักร เช่น ภาคแคนเทอร์เบอรีที่ปกครองโดยอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี แต่ก็ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป “อัครมุขนายก” มีฐานะเท่าเทียมกับมุขนายกในด้านการศาสนา แต่มีอภิสิทธิ์บางอย่างมากกว่า ฉะนั้นถ้าผู้ที่เป็นมุขนายกอยู่แล้วได้รับการแต่งตั้ง (appointment) เป็นอัครมุขนายกก็ไม่จำเป็นต้องรับการอภิเษก (consecration) อีก มีแต่พิธีเข้ารับตำแหน่ง (installation) แต่ถ้าผู้ที่ได้รับตำแหน่งไม่ได้เป็นมุขนายกมาก่อน ผู้นั้นก็ต้องเข้าพิธีอภิเษกเพื่อรับศีลอนุกรมเสียก่อนที่จะทำหน้าที่เป็นอัครมุขนายก คำว่า “Archbishop” มาจากภาษากรีกว่า “αρχι” ที่แปลว่า “ที่หนึ่ง” หรือ “หัวหน้า” และคำว่า “επισκοπος” ที่แปลว่า “ปกครองดูแล” “อัครมุขนายก” ปกครอง “อัครมุขมณฑล” หรือภาคคริสตจักร ถ้าเป็นในสมัยโบราณโดยเฉพาะในสมัยจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ อัครมุขนายกก็จะปกครอง “รัฐอัครมุขนายก” เช่น อาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์ (Archbishop of Mainz) ผู้ปกครอง “ราชรัฐอัครมุขนายกไมนซ์” (Archbishopric of Mainz).

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอัครมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

อาชว์ เตาลานนท์

ร.อาชว์ เตาลานนท์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นักธุรกิจชาวไทย รองประธานกรรมการเครือเจริญโภคภัณฑ์ และ ทรูคอร์ปอเรชั่น อดีตประธานกรรมการหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เป็นนักนิยมธรรมชาติ และนักดูนก ระดับแถวหน้าของเมืองไทย จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ปริญญาตรีจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต และปริญญาเอกจากสถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์ นอกจากนั้นยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี และนายกสภามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรรมการสภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประธานกรรมการหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กรรมการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อดีตอุปนายกคนที่ 2 สภาวิศวกร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอาชว์ เตาลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อายิโนะโมะโต๊ะ

ำนักงานใหญ่ บริษัท อะจิโนะโมะโตะ จำกัด, เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น บริษัทอะจิโนะโมะโตะ จำกัด หรือจดทะเบียนในประเทศไทยว่า อายิโนะโมะโต๊ะ เป็นบริษัทสัญชาติญี่ปุ่น ผลิตสินค้าประเภทผงชูรส, น้ำมัน (อาหาร), สารให้ความหวาน, กรดอะมิโนและยารักษาโรค อีกทั้งยังเป็นผู้ผลิตแอสปาร์แตมรายใหญ่ที่สุดของโลก ครองสัดส่วนการตลาด 40 เปอร์เซ็นต์ คำว่า "อะจิโนะโมะโตะ" มีความหมายในภาษาอังกฤษคือ "Essence of Taste" หรือแปลเป็นภาษาไทยว่า "แก่นแท้ของรสชาติ" ซึ่งบริษัทได้ใช้เป็นเครื่องหมายการค้าของผลิตภัณฑ์ผงชูรส บริษัทมีสำนักงานใหญ่อยู่ในเขตชูโอ เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีเครือข่ายสาขาอีกกว่า 100 ประเทศ รวมทั้งในประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอายิโนะโมะโต๊ะ · ดูเพิ่มเติม »

อารักษ์ อมรศุภศิริ

อารักษ์ อมรศุภศิริ (เกิดเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2527 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นนักแสดง นายแบบ และนักดนตรีชาวไทย มีผลงานในวงการบันเทิงครั้งแรก กับการเป็นมือกีตาร์วงสะเลอ หลังจากนั้นมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ บอดี้..ศพ#19 ที่สร้างชื่อเสียง ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ วงศ์อารยะ

อารีย์ วงศ์อารยะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล สระบุรี ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอารีย์ วงศ์อารยะ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอัสสัมชัญ

อาสนวิหารอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ หรือโบสถ์อัสสัมชัญ (Assumption Cathedral) เป็นอาสนวิหารประจำมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ และ 3 โรงเรียนได้แก่ โรงเรียนอัสสัมชัญ โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ และโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา ตั้งอยู่ที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร วิหารสร้างขึ้นครั้งแรกในรูปแบบทรงไทยโดยบาทหลวงปาสกัล ซึ่งเป็นชาวไทย-โปรตุเกส โบสถ์หลังปัจจุบันนี้ถูกสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2452 โดยคุณพ่อกอลมเบต์ เจ้าอาวาสวัดชาวฝรั่งเศสในขณะนั้น เพื่อรองรับการขยายตัวของคริสต์ศาสนิกชนที่มีเพิ่มมากขึ้น โดยมีสถาปนิกชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง โดยมีวัสดุก่อสร้างเช่นหินอ่อนและกระจกสี ซึ่งสั่งมาจากประเทศฝรั่งเศส สิงคโปร์และอิตาลี วิหารได้รับการออกแบบในรูปของงานสถาปัตยกรรมเรเนซองส์ มีความสูงของหอระฆังตั้งแต่ยอดหอคอยจดพื้น 32 เมตรด้วยกัน ส่วนด้านในผนังและเพดานก็ตกแต่งด้วยจิตรกรรมแบบเฟรสโกและประติมากรรมปูนปั้นที่แสดงถึงเรื่องราวความเชื่อของทางศาสนาคริสต์ ปัจจุบันวิหารมีอายุเก่าแก่อายุกว่า ปี เป็นหนึ่งในอาสนวิหารที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทยและยังได้การยกย่องให้เป็นหนึ่งในอาสหวิหารที่สวยที่สุดในไทยอีกด้ว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอาสนวิหารอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

อาคม มกรานนท์

อาคม มกรานนท์ (3 กันยายน พ.ศ. 2474 -) นักร้อง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักแสดง อดีตสมาชิกวุฒิสภา มีผลงานที่น่าจดจำ คือเป็นพิธีกรรายการ "นาทีทอง" และ "ประตูดวง" รายการที่มีผู้ชมสูงสุดทางสถานีโทรทัสน์สีกองทัพบกช่อง 7ในขณะนั้น เป็นผู้ประกาศข่าวทางโทรทัศน์ รุ่นแรก ๆ ของเมืองไทยและเป็นโฆษกประกาศการรัฐประหารในประเทศไทย ถึง 8 ครั้ง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอาคม มกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย วีรวรรณ

ตราจารย์พิเศษ อำนวย วีรวรรณ อดีตหัวหน้าพรรคนำไทย และพรรคมวลชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นบิดาของนายถกลเกียรติ วีรวรรณ เจ้าของธุรกิจทางด้านรายการโทรทัศน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอำนวย วีรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

อุเทน เตชะไพบูลย์

อุเทน เตชะไพบูลย์ (3 มกราคม พ.ศ. 2456 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550) เป็นคนไทยเชื้อสายจีนที่ในสมัยหนึ่งได้ชื่อว่าเป็นมหาเศรษฐีระดับต้นๆของเมืองไทย ผู้ก่อตั้งธนาคารศรีนคร และมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง นายอุเทน เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท สุรามหาคุณ ที่ได้สัมปทานในการผลิตและจำหน่ายสุราของโรงงานสุราบางยี่ขัน ในชื่อ “แม่โขง” และ “กวางทอง” เมื่อ..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอุเทน เตชะไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

อธิการ

อธิการ (authority; superior) มาจากคำในภาษาบาลี "อธิการ" (adhikāra, ออกเสียงว่า "อะธิการะ") แปลว่าเจ้าหน้าที่ การหมายใจ หรือความดี ในภาษาไทยปัจจุบันใช้คำนี้หมายถึงผู้มีอำนาจในด้านการปกครอง พบทั้งในศาสนจักร และการทหาร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอธิการ · ดูเพิ่มเติม »

อธิการเจ้าคณะแขวง

อธิการเจ้าคณะแขวง (Provincial superior) เรียกโดยย่อว่า เจ้าคณะแขวง (Provincial) คืออธิการชั้นผู้ใหญ่ในคณะนักบวชคาทอลิก มีสถานะต่ำกว่าอัคราธิการซึ่งเป็นอธิการสูงสุดของคณะ เจ้าคณะแขวงมีอำนาจบริหารปกครองนักบวชในคณะของตนที่ประจำอยู่ในแขวงนั้น แขวงนี้มีลักณะคล้ายภาคคริสตจักร ต่างกันที่ภาคคริสตจักรมีมุขนายกมหานครเป็นประมุขและไม่ใช่เขตปกครองคณะนักบวช การที่แบ่งการปกครองคณะนักบวชออกเป็นแขวงต่าง ๆ นั้นมักคำนึงถึงลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นหลัก และอาจมีพื้นที่ครอบคลุมหลายประเทศ (ที่คณะนักบวชนั้นปฏิบัติศาสนกิจอยู่) ในแต่ละแขวงประกอบด้วยบ้านนักบวชหรืออาราม ซึ่งแต่ละแห่งมีอธิการเป็นหัวหน้า อธิการบ้านจึงทำหน้าที่ภายใต้การควบคุมของอธิการเจ้าคณะแขวงอีกต่อหนึ่ง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอธิการเจ้าคณะแขวง · ดูเพิ่มเติม »

อดุล อดุลเดชจรัส

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยขณะนั้นหลวงอดุลเดชจรัส มียศเป็น ร้อยโท (ร.ท.) ประจำกรมทหารปืนใหญ่ นครราชสีมา และได้หนีราชการมาพระนครด้วยรถไฟเพื่อร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จนถูกหมายจับจากทางต้นสังกัด ซึ่งตัวของหลวงอดุลเดชจรัสก็ได้อาศัยบ้านของพรรคพวกหลบซ่อนสลับกันไป โดยเฉพาะบ้านของหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท หรือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเวลาต่อมา เป็นรองนายกรัฐมนตรีและผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นรองหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในประเทศไทย ในช่วงปลายสงคราม หลังจากมีการผลัดเปลี่ยนรัฐบาล ซึ่งมีส่วนอย่างมากที่ทำให้การดำเนินงานเสรีไทยเป็นไปโดยราบรื่น ทั้งที่เป็นอธิบดีกรมตำรวจภายใต้รัฐบาลที่เป็นพันธมิตรกับกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในอภิรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และองคมนตรี หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว หลวงอดุลเดชจรัส ยังได้ร่วมกับนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง ก่อตั้งพรรคสหชีพขึ้น โดยมีแนวทางสนับสนุนนายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และหัวหน้าขบวนการเสรีไทย โดยหลวงอดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และ นายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอดุล อดุลเดชจรัส · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ ดุลยรัตน์

อดุลย์ ดุลยรัตน์ (5 เมษายน พ.ศ. 2475 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีตำแหน่งเป็น คณะกรรมการของสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอดุลย์ ดุลยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (Thai Public Broadcasting Service) หรือเรียกโดยย่อว่า "..ท." (TPBS) เป็นหน่วยงานของรัฐ มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชน ซึ่งไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ อัศวโภคิน

อนันต์ อัศวโภคิน (21 มีนาคม พ.ศ. 2493 -) เป็นนักธุรกิจชาวไทย เป็นเจ้าของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชื่อดังของไทย เป็นอดีตประธานและกรรมการผู้จัดการ บริษัทแลนด์แอนด์เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) เคยได้รับรางวัล Best CEO Of The Year และเคยได้ตำแหน่งเศรษฐีหุ้นที่มีมูลค่าสูงที่สุดในไทยหลายปีซ้อน อนันต์มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 840 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 26,000 ล้านบาท) และได้รับการจัดอันดับโดยนิตยสารฟอร์บให้เป็น มหาเศรษฐีของไทยลำดับที่ 18 (ประจำปี พ.ศ. 2555).

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอนันต์ อัศวโภคิน · ดูเพิ่มเติม »

อนุทิน ชาญวีรกูล

นายอนุทิน ชาญวีรกูล หัวหน้าพรรคภูมิใจไทย กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นนักการเมืองที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ซึ่งถูกยุบในปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและอนุทิน ชาญวีรกูล · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป โดยกำหนดให้ดำรงตำแหน่งจนกว่าจะมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคําสั่งเปลี่ยนแปลงเป็นประการอื่น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

จำนง รังสิกุล

ำนง รังสิกุล ข้าราชการกรมโฆษณาการ (ต่อมาเปลี่ยนเป็นกรมประชาสัมพันธ์), นักสื่อสารมวลชนชาวไทย ผู้ร่วมก่อตั้งสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม อันเป็นแห่งแรกของประเทศไทย, กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด, ผู้อำนวยการสถานีวิทยุกระจายเสียง ท.ท.ท.และสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหมเป็นคนแรก.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและจำนง รังสิกุล · ดูเพิ่มเติม »

จิตต์ จงมั่นคง

ตต์ จงมั่นคง ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพถ่ายศิลปะ) เกิดวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2465 ที่ กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาชั้นมัธยม 4 จาก โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก จิตต์ จงมั่นคง เป็นทั้งช่างภาพ และช่างห้องมืด เป็นศิลปินภาพถ่ายที่มีผลงานภาพถ่ายศิลปะมากมาย และทำงานต่อเนื่องมานานกว่า 40 ปี เป็นผู้ที่ได้อุทิศตนให้กับงานด้านภาพถ่ายศิลปะ อย่างแท้จริง มีผลงานได้รับรางวัล และได้รับเกียรติบัตรจากสมาคมถ่ายภาพต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศเป็นจำนวนมาก ในปีพุทธศักราช 2538 ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพถ่ายศิลปะ) จิตต์ จงมั่นคง เสียชีวิตเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2552 ณ โรงพยาบาลศิริราช ด้วยอาการโรคหัวใจ เมื่อเวลาประมาณ 14.00 น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและจิตต์ จงมั่นคง · ดูเพิ่มเติม »

จิ๊ด เศรษฐบุตร

thumb ศาสตราจารย์จิ๊ด เศรษฐบุตร (18 มกราคม 2449 — 19 มกราคม 2538) เป็นตุลาการ นักนิติศาสตร์ และนักการทูตชาวไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและจิ๊ด เศรษฐบุตร · ดูเพิ่มเติม »

จุมภฏ รวยเจริญทรัพย์

มภฏ รวยเจริญทรัพย์ หรือ ต้นโก๋แก่ เกิดวันที่ 23 มกราคม 2515 เขามีชีวิต 2 ด้าน ด้านหนึ่งคือธุรกิจ เขาดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการบริหารโรงงานโก๋แก่ ผู้ผลิตขนมถั่วอบกะทิที่มีชื่อเสียงยาวนานของไทย ซึ่งเป็นกิจการของครอบครัว ชีวิตอีกด้านหนึ่งเขาเป็นศิลปินที่รักการวาดรูปและเป็นผู้กำกับหนัง หลังจบด้านบริหารธุรกิจทั้งปริญญาตรีและโทจากมหาวิทยาลัยชิลเลอร์ ประเทศอังกฤษ และมีโอกาสได้เดินทางท่องเที่ยวหลายประเทศในแถบยุโรป อเมริกา และเอเชีย เมื่อกลับมาเมืองไทยได้ตั้ง ‘โก๋ฟิล์ม’ ค่ายหนังของตัวเอง เพื่อทำหนังสั้นแนวทดลองเรื่องแรกในโครงการ ‘มันส์ทำเรื่อง’ เมื่อปี 2552 และโครงการ ‘ดู มันส์ ทำ’ ในฐานะผู้อำนวยการสร้างก็ได้สนับสนุนผลักดันนักทำหนังรุ่นใหม่อีก 4 คน ให้ทำหนังและฉายหนังร่วมกับหนังของเขาเอง นอกจากนี้เขายังเป็นผู้อุปถัมภ์นักสร้างภาพยนตร์ไทยนอกกระแสที่มีชื่อเสียง อาทิ อภิชาติพงษ์ วีระเศรษฐกุล, ลี ชาตะเมธีกุล ผลงานล่าสุดของเขา SURREAL คือ หนังสั้นไตรภาค เข้าฉายแบบ Exclusive ในโรงภาพยนตร์ เครือ Major, SF และ Apex เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 ต่อมาได้รับรางวัลจากหลายเวทีนานาชาติ อาทิ Gold Award Winner จาก Documentary & Short International Movie Award 2015 (Jakarta Indonesia),Winner Best Comedy Scene และ Best Foreign Film จาก 11th Annual Action On Film International Film Festival and Writers' Event 2015 (CA, USA),Best Foreign Film Nominated จาก Sanford international Film Festival 2015, Depth of Field International Film Festival Competition 2015, Rugged Phoenix Underground Film Festival 2015 เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและจุมภฏ รวยเจริญทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็มทีวี

ีเอ็มเอ็มทีวี (GMMTV) หรือชื่อเดิม แกรมมี่ เทเลวิชั่น เป็นบริษัทผลิตรายการโทรทัศน์ ละครซีรีส์ เพลง และมิวสิกวิดีโอ ในเครือของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แชนแนล เทรดดิ้ง จำกัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและจีเอ็มเอ็มทีวี · ดูเพิ่มเติม »

จตุรมิตรสามัคคี

การแข่งขันฟุตบอลประเพณีจตุรมิตรสามัคคี เป็นการแข่งขันฟุตบอลประเพณีระดับมัธยมศึกษาระหว่างโรงเรียนชายล้วนเก่าแก่สี่โรง ประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย จัดขึ้นเป็นประจำทุก 2 ปี ณ สนามศุภชลาศัย กรีฑาสถานแห่งชาติ สำหรับการแข่งขันจตุรมิตรสามัคคี ครั้งที่ 28 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย เป็นเจ้าภาพในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและจตุรมิตรสามัคคี · ดูเพิ่มเติม »

ธารินทร์ นิมมานเหมินท์

รินทร์ นิมมานเหมินท์ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธารินทร์ นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ สูตะบุตร

ตราจารย์ ธีระ สูตะบุตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นเจ้าของกิจการโรงเรียนพิชญศึกษา เกิดวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สมรสกับ นางสุนงนาท สูตะบุตร มีบุตรชื่อ ธีร์ภัทร สูตะบุตร โดยบุตรชายเสียชีวิตในวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธีระ สูตะบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ธีร์ อริยฤทธิ์วิกุล

ีร์ อริยฤทธิ์วิกุล หรือชื่อเดิมคือ อัครณัฐ อริยฤทธิ์วิกุล และ ปณต บุญก่อ เกิดวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มวิชาโค้ชและจิตวิทยาการกีฬา เริ่มเข้าวงการจากการเข้ารอบ 50 คน หนุ่มโสดคลีโอปี 2009 ผลงานล่าสุด คือ ภาพยนตร์เรื่อง "ทองสุก 13" รับบท แจ็.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธีร์ อริยฤทธิ์วิกุล · ดูเพิ่มเติม »

ธีรเดช เมธาวรายุทธ

ีรเดช เมธาวรายุทธ (เกิด 15 กันยายน พ.ศ. 2532) ชื่อเล่น อาเล็ก เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่อง คุณนายโฮ ปัจจุบันเขาเป็นนักแสดงในสังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 มีผลงานที่โดดเด่นคือละครเรื่อง สะใภ้จ้าว ในบทบาท "คุณชายเล็ก" ซึ่งทำให้เขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำสาขาดาราสนับสนุนชายดีเด่น ประจำปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธีรเดช เมธาวรายุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ธนัญชัย บริบาล

นัญชัย บริบาล (3 ตุลาคม 2515 -) นักฟุตบอลชาวไทยเล่นในตำแหน่งกองกลาง ให้กับสโมสรฟุตบอลการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้ร่วมเล่นในฟุตบอลทีมชาติไทยตั้งแต่ปี 2540 และเล่นในทีมชาติชุดใหญ่ ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยผู้ฝึกสอนของสโมสรฟุตบอลลูกพ่อขุน ยูไนเต็.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนัญชัย บริบาล · ดูเพิ่มเติม »

ธนา ฉัตรบริรักษ์

นา ฉัตรบริรักษ์ (ชื่อเล่น: หน่อง) เป็นนักแสดง นายแบบ ชาวไทย และเป็นน้องชายแท้ ๆของ บอย ปกรณ์ และมีน้องชายอีกคนคือ ภัทร ฉัตรบริรักษ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนา ฉัตรบริรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

นาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) (Bank of Ayudhya Public Company Limited ชื่อย่อ: BAY) เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2488 มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นอาณาจักรเก่าในประเทศไทย เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2488 มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1 ล้านบาท ต่อจากนั้นได้ก่อตั้งสำนักงานในกรุงเทพมหานคร ณ ถนนราชวงศ์ และย้ายสำนักงานใหญ่มาตั้งอยู่ที่ถนนอนุวงศ์และถนนลำพูนไชยในปี พ.ศ. 2491 และ พ.ศ. 2493 ตามลำดับ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ธนาคารได้รับตราครุฑมาประดิษฐาน ณ ธนาคาร ในปีเดียวกันได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ถนนเพลินจิต ในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ธนาคารได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2536 ธนาคารได้แปรสภาพเป็นบริษัทจำกัดมหาชน ในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2539 ธนาคารได้ย้ายสำนักงานใหญ่มาอยู่ที่ถนนพระรามที่ 3 เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 และใช้สำนักงานที่ถนนพระรามที่ 3 มาตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2550 จีอี แคปปิตอล ซึ่งเป็นสถาบันการเงินเพื่อรายย่อยชั้นนำของโลกได้บรรลุข้อตกลงการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับธนาคารกรุงศรีอยุธยา โดยปัจจุบัน จีอี แคปปิตอล และกลุ่มรัตนรักษ์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของธนาคารในสัดส่วนร้อยละ 33 และร้อยละ 25 ตามลำดับ ในเดือนกันยายน 2555 กลุ่มจีอีประกาศขายหุ้นที่ถืออยู่ในกรุงศรีร้อยละ 7.60 โดยเป็นการขายในตลาดหลักทรัพย์แบบเจาะจง ส่งผลให้กลุ่มจีอี แคปปิตอลมีสัดส่วนการถือหุ้นเหลือร้อยละ 25.33 วันที่ 18 ธันวาคม 2556 ธนาคารโตเกียว-มิตซูบิชิ ยูเอฟเจ จำกัด (The Bank of Tokyo-Mitsubishi UFJ, Ltd:BTMU) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือที่มีผู้ถือหุ้น 100% คือกลุ่มมิตซูบิชิ ยูเอฟเจ ไฟแนนเชียล กรุ๊ป (Mitsubishi UFJFinancial Group:MUFG) กลุ่มสถาบันการเงินที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่นและเป็นหนึ่งในกลุ่มสถาบันการเงินที่ใหญ่ที่สุดและมีความหลากหลายในผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินที่สุดในโลก ได้เป็นผู้ถือหุ้นร่วมกับกลุ่มรัตนรักษ์แทนที่กลุ่มจีอี ธนาคารกรุงศรีอยุธยาเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนาคารกรุงศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกรุงเทพ

นาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BANGKOK BANK PUBLIC COMPANY LIMITED) จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน" รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยธนาคารกรุงเทพเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนาคารกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกสิกรไทย

นาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) (Kasikornbank Public Company Limited) เป็นธนาคารในประเทศไทย มีสำนักงานใหญ่แห่งแรกตั้งอยู่ที่ สำนักถนนเสือป่า ต่อมาได้ขยายการบริหารงาน ไปยังสำนักถนนสีลม, สำนักถนนพหลโยธิน, สำนักงานใหญ่ถนนราษฎร์บูรณะ และสำนักถนนแจ้งวัฒนะ ตามลำดับ โดยสำนักงานใหญ่แห่งปัจจุบัน ตั้งอยู่ภายในซอยกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ เชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งธนบุรี และมีคำขวัญว่า "บริการทุกระดับประทับใจ" ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,132 สาขา และเป็นธนาคารที่มีรายได้มากที่สุดในประเทศไทย ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนาคารกสิกรไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารศรีนคร

นาคารศรีนคร เป็นธนาคารของไทย เปิดดำเนินกิจการเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2493 (ในอดีตใช้ชื่อว่า ธนาคารสิงขร) โดยมีจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น เป็นประธานในพิธีเปิด ณ อาคารเลขที่ 84 ถนนยุคล 2 แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร คณะผู้ก่อตั้งประกอบด้วย พระยาโทณวณิกมนตรี (วิสุทธิ์ โทณวณิก) นายอื้อจือเหลียง นายอุเทน เตชะไพบูลย์ พระยาจินดารักษ์ นายเกียรติ ศรีเฟื่องฟุ้ง โดยมีวัตถุประสงค์เบื้องต้น เพื่อจะส่งเสริมการออมทรัพย์ของประชาชนให้เป็นปึกแผ่น และนำเงินออมเหล่านั้นมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ในด้านการสร้างสรรค์ เป็นต้นว่า ให้กู้ยืมแก่กิจการอุตสาหกรรม การพาณิชยกรรมในประเทศและต่างประเทศ การเกษตรกรรม และอื่น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนาคารศรีนคร · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารออมสิน

นาคารออมสิน มีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย เน้นการให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชน โดยให้สินเชื่อระยะสั้น แก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับและจ่ายเงินกู้ จากโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศ ของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลากหลาย เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย รวมทั้งมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งหมด 1,039 แห่งทั่วประเท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนาคารออมสิน · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

นาคารอาคารสงเคราะห์ หรือ ธอ. (Government Housing Bank) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง โดยปัจจุบันกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2496 ทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม ร่วมกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการให้สมาชิกกู้เงินเพื่ออสังหาริมทรัพย์ ความช่วยเหลือด้านการมีบ้าน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ได้รับโอนลูกหนี้และสินทรัพย์จากองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ ซึ่งเป็นอดีตรัฐวิสาหกิจของไทย เข้ามารวมไว้ด้วยกัน ในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนาคารอาคารสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารดีบีเอสไทยทนุ

นาคารดีบีเอส ไทยทนุ จำกัด (มหาชน) หรือธนาคารไทยทนุ เป็นธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2492 ปัจจุบันควบรวมกิจการเข้ากับธนาคารทหารไทย ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนาคารดีบีเอสไทยทนุ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารไทยพาณิชย์

นาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (The Siam Commercial Bank Public Company Limited ชื่อย่อ: SCB) เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและเป็นหนึ่งในห้าธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดยพระบรมราชานุญาต ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2449 ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,070.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนาคารไทยพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนู กุลชล

นู กุลชล สมาชิกวุฒิสภา จากการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาไทย พ.ศ. 2551 เป็นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ และอดีตสมาชิกวุฒิสภา (ชุด ส.ว.แต่งตั้ง) อธิการบดีมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC).

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธนู กุลชล · ดูเพิ่มเติม »

ธเนศ วงศ์ยานนาวา

นศ วงศ์ยานนาวา (เกิด 22 มิถุนายน พ.ศ. 2500) เป็นศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิชาการชาวไทยที่มีความถนัดและผลงานทางด้านสังคมศาสตร์โดยเฉพาะด้านปรัชญาการเมือง ทฤษฎีสังคม ประวัติศาสตร์ความคิด โดยเฉพาะในเรื่องของแนวคิดหลังยุคนวนิยมหรือ โพสต์โมเดิร์น จนได้รับฉายาว่าเป็น "'เจ้าพ่อโพสต์โมเดิร์น'" คนหนึ่งของเมืองไทย นอกจากนี้เขายังมีความสนใจในเรื่องของวัฒนธรรมทางสังคมเช่น ดนตรี ภาพยนตร์ เพศและ อาหาร อีกด้วย ธเนศยังเป็นบรรณาธิการรัฐศาสตร์สารของคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเขียนคอลัมน์เกี่ยวกับดนตรีและภาพยนตร์ในสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์โดยใช้นามปากกา "ธนา วงศ์ญาณณาเวช" ซึ่งเป็นคำผวนของชื่อจริงและนามสกุลของธเนศเอง นอกจากนี้ธเนศยังมีรายการ ทางช่องใน Youtube ทำร่วมกับแขกผู้ดำเนินรายการอื่นๆ และยังมีกลุ่ม ใน Facebook ที่ซึ่งสมาชิกจะสามารถถามคำถามต่างๆได้ตั้งแต่ก้อนขี้หมายันก้อนอุกาบาต โดยอาจารย์จะเข้ามาตอบคำถามเพื่อคลายข้อสงสัยนั้น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและธเนศ วงศ์ยานนาวา · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนัด คอมันตร์

.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2559) อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จนถึงรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและถนัด คอมันตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสาทร

นนสาทร ถนนสาทร (Thanon Sathon) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ในพื้นที่เขตสาทรและเขตบางรัก.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและถนนสาทร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเจริญกรุง

นนเจริญกรุงในสมัยรัชกาลที่ 5 ถนนเจริญกรุงในกลางปี พ.ศ. 2559 ช่วงเชิงสะพานพิทยเสถียร (สะพานเหล็กล่าง) ย่านตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ ถนนเจริญกรุง (Thanon Charoen Krung) ถนนสายสำคัญสายหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นตั้งแต่ถนนสนามไชยบริเวณวงเวียน รด. หน้าหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน สิ้นสุดที่แม่น้ำเจ้าพระยาที่ถนนตก บริเวณโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และการไฟฟ้านครหลวง เขตยานวานา เป็นถนนรุ่นแรกที่ใช้เทคนิคการสร้างแบบตะวันตก ผ่านพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย, เขตสัมพันธวงศ์, เขตบางรัก, เขตสาทร และเขตบางคอแหลม และเป็นเส้นแบ่งของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย (ด้านซ้าย) กับเขตสัมพันธวงศ์ (ด้านขวา) ตั้งแต่ช่วงคลองถมไปจนถึงบริเวณแยกหมอมี ถนนเจริญกรุงเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2405 แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2407 มีความยาวจากถนนสนามไชยถึงดาวคะนอง 8,575 เมตร การก่อสร้างถนนเจริญกรุงนั้นเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีชาวต่างประเทศเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ มากขึ้น และมีพวกกงสุลได้เข้าชื่อกันขอให้สร้างถนนสายยาวสำหรับขี่ม้าหรือนั่งรถม้าตากอากาศและอ้างว่า “เข้ามาอยู่ที่กรุงเทพมหานครไม่มีถนนหนทางที่จะขี่รถม้าไปเที่ยว พากันเจ็บไข้เนือง ๆ” ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงาน รับผิดชอบในการก่อสร้างถนนช่วงตั้งแต่คูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางคอแหลม เรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ (แต่ชาวบ้านมักเรียกว่าเจริญกรุงตอนล่าง) กว้าง 5 วา 4 ศอก (ประมาณ 10 เมตร หรือเทียบได้กับถนน 4 เลน) โดยมีนายเฮนรี อาลาบาศเตอร์ (ต้นสกุลเศวตศิลา) เป็นผู้สำรวจแนวถนนและเขียนแผนผังถนน และในปีจอ พ.ศ. 2405 โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กอง พระยาบรรหารบริรักษ์ (สุ่น) เป็นนายงาน รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน คือช่วงระยะทางตั้งแต่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็กบน) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เมื่อถูกฝนไม่กี่ปีก็ชำรุด การก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนในนี้เดิมกำหนดให้ตัดตรงจากสะพานดำรงสถิต ถึงกำแพงเมืองด้านถนนสนามไชย แต่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทักท้วงว่าการสร้างถนนตรงมาสู่พระบรมมหาราชวังอาจเป็นชัยภูมิให้ข้าศึกใช้ตั้งปืนใหญ่ยิงทำลายกำแพงเมืองได้ จึงต้องเปลี่ยนแนวถนนมาหักมุมเลี้ยวตรงเชิงสะพานดำรงสถิต เมื่อสร้างถนนเจริญกรุงเสร็จใหม่ ๆ นั้น ยังไม่ได้พระราชทานนาม จึงเรียกกันทั่วไปว่า ถนนใหม่ และชาวยุโรปเรียกว่า นิวโรด (New Road) ชาวจีนเรียกตามสำเนียงแต้จิ๋วว่า ซิงพะโล่ว (新打路) แปลว่าถนนตัดใหม่ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนว่า "ถนนเจริญกรุง" ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่นเดียวกับชื่อถนนบำรุงเมืองและถนนเฟื่องนคร ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในคราวเดียวกัน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและถนนเจริญกรุง · ดูเพิ่มเติม »

ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 12

‎ ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 12 เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ เพื่อค้นหานักร้องนักแสดงเข้าสู่วงการบันเทิง ในชุดทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย โดยซีซั่นนี้ทรูใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการประชาสัมพันธ์รายการร่วมกับเว็บไซต์หลัก โดยปีนี้เป็นปีที่ 3 ที่กำหนดอายุผู้สมัครที่ 15-30 ปี เช่นเดียวกับซีซั่นที่ 10 และ 11 เริ่มการแข่งขันระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน - 19 กันยายน พ.ศ. 2558 ออกอากาศ 12 สัปดาห์ โดยในซีซั่นนี้ การรับสมัครนักล่าฝันได้กลับมาใช้วิธีตระเวนรับสมัครแบบ 4 ภาค 4 จังหวัด (สงขลา, ขอนแก่น, เชียงใหม่ และกรุงเทพฯ) เช่นเดียวกับซีซั่นที่ 1-9 หลังจากที่ในซีซั่นที่ 10 ใช้การรับสมัครแบบทุกจังหวัดทั่วประเทศ และซีซั่นที่ 11 ที่เปิดรับสมัครที่กรุงเทพมหานครที่เดียว โดยปีนี้ไม่มีการออดิชั่นในช่องทาง Online Audition และตัวแทนสถาบัน ซึ่งปีนี้มีคอนเซ็ปต์ในการออดิชั่นว่า ไม่ว่าคุณจะเป็นใคร เปลี่ยนความฝันให้กลายเป็นความจริง และในซีซั่นนี้เป็นปีที่ 2 ที่จัดคอนเสิร์ตประจำสัปดาห์ในบริเวณบ้านพักของนักล่าฝัน ณ The Whizdom Studio ส่วนคอนเสิร์ตรอบชิงชนะเลิศของซีซั่นนี้ได้ย้ายสถานที่แสดงไปยังธันเดอร์โดม เมืองทองธานี ในซีซั่นนี้ได้เพิ่มความแปลกใหม่ให้กับการประกาศผล 12 นักล่าฝันตัวจริง โดยมีการเซอร์ไพรส์ถ่ายทำเป็นฉากให้นักล่าฝันตัวจริงเหล่านั้นได้ทราบผล โดยทะยอยประกาศผลวันละ 2 คน ผ่านทาง Facebook/afupdate, Twitter/afupdate และ Truevisions แล.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย ซีซั่นที่ 12 · ดูเพิ่มเติม »

ทรู คอร์ปอเรชั่น

ทรู คอร์ปอเรชั่น (True Corporation) (ชื่อเดิม: เทเลคอมเอเซีย คอร์ปอเรชั่น; Telecom Asia Corporation ชื่อย่อ: ทีเอ; TA) แต่เดิมเป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐาน และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(ISP) ด้วยความร่วมมือและสนับสนุนจากบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์ หลังจากที่เริ่มมีการขยายตัว และการแข่งขันในด้านการสื่อสารกันมากขึ้น จึงทำการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์จากเดิมมาเป็น กลุ่มบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น พร้อมกับเปลี่ยนชื่อบริษัทในเครือ เช่น จาก ทีเอ ออเร้นจ์ ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ (ร่วมทุนระหว่างซีพี และออเร้นจ์ฝรั่งเศส) หลังจากฝรั่งเศสถอนหุ้นกลับไปมาเป็น ทรู มูฟ ซึ่งเป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ อันดับ 3 ของประเทศ และได้ขยายกิจการด้านการโทรคมนาคมอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านโทรศัพท์พื้นฐาน (โทรศัพท์บ้าน) ซึ่งเป็นผู้ให้บริการรายใหญ่เป็นอันดับ 1 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล, โทรศัพท์บ้านพกพา (วีพีซีที), ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ทรู อินเทอร์เน็ต), เคเบิลทีวีระบบบอกรับเป็นสมาชิกรายเดือน ทรูวิชั่นส์ และรวมไปถึงบันเทิง ทั้งด้าน โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต เกมออนไลน์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ตามลำดับ ซึ่งประกอบไปด้วย ทรูวิชั่นส์ ทรูมูฟ ทรูมันนี่ เอ็นซี ทรู ทรู ดิจิตอล คอนเทนท์ แอนด์ มีเดีย (Future Gamer ทรูไลฟ์ Good Game จีสแควร์ ทรูไอพีทีวี).

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและทรู คอร์ปอเรชั่น · ดูเพิ่มเติม »

ทิปโก้แอสฟัลท์

ริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จำกัด (มหาชน) (TIPCO ASPHALT PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:TASCO) บริษัทเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ยางมะตอย ยางมะตอยสำเร็จรูป และผลิตภัณฑ์แอสฟอลต์ รายใหญ่ของประเทศไทย รวมทั้งเป็นรายแรกในประเทศไทยที่นำระบบ ISO 26000 มาเป็นแนวทางในการทำงานและผ่านการทวนสอบโดยสถาบันรับรองมาตรฐาน ISO 26000 (MASCI) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและทิปโก้แอสฟัลท์ · ดูเพิ่มเติม »

ทินกร พันธุ์กระวี

นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก และเป็นประธานกรรมการและผู้ก่อตั้ง บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด อดีตนายกสมาคมอัสสัมชัญ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและทินกร พันธุ์กระวี · ดูเพิ่มเติม »

ณวัชร์ พุ่มโพธิงาม

ณวัชร์ พุ่มโพธิงาม (เกิด 2 มิถุนายน พ.ศ. 2538) ชื่อเล่น ไวท์ เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นที่รู้จักจากละครซีรีส์เรื่อง เลิฟซิคเดอะซีรีส์ รักวุ่น วัยรุ่นแสบ ในบท "ปุณณ์" นอกจากด้านการแสดง ณวัชร์มีผลงานมิวสิกวีดิโอ เพลง ขอร้อง, สั่น และผลงานเพลงและมิวสิกวิดีโอ เพลง หัวใจมีเพียงเธอ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและณวัชร์ พุ่มโพธิงาม · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐ อินทรปาณ

ร.ณัฐ อินทรปาณ กรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตประธานสหพันธ์ยิงเป้าบินแห่งเอเชี.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและณัฐ อินทรปาณ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา

ร.ณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา หรือ ดร.ตุ้ย นักการตลาดผู้สร้างสีสันให้แก่แวดวงมาร์เก็ตติ้งมาตลอดกว่า 20 ปี  ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) หรือ CPN ผู้ที่ทำให้ภาพของบริษัทอสังหาริมทรัพย์ อันดับหนึ่งของประเทศ ดูสนุกสนานและเข้าถึงง่ายมากขึ้นผ่านการสร้างสรรค์แคมเปญต่างๆ และสื่อสารออกมาได้อย่างตรงจุดและมีประสิทธิภาพ จนศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา และ เซ็นทรัลเฟสติวัล ทั้ง 32 สาขาทั่วประเทศ (ณ วันที่ 24 เมษายน 2561) กลายเป็นศูนย์กลางของการใช้ชีวิตของคนไทยและนักท่องเที่ยวจากทั่วโลก ปั้นกิจกรรมต่างๆ จนกลายเป็น Talk of The Town อย่างงาน Elle Fashion Week, Bangkok Varee, Krungthep Thara, Royal Project รวมไปถึง Bangkok Countdown ที่ CNN เปรียบเทียบว่าบริเวณลานด้านหน้าศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์เปรียบเสมือน Time Square ของกรุงเทพมหานคร และได้รับคัดเลือกเป็น 1 ใน 10 เมืองที่เหมาะสำหรับการไปเคาน์ดาวน์มากที่สุดในโลก และยังดำรงตำแหน่งประธานอนุกรรมการธรรมาภิบาลและกิจกรรมเพื่อสังคม ของการประปานครหลวง (กปน.) ถึง 2 สมัยซ้อน ตั้งแต่ปี 2557 ที่พากปน.ไปกวาดรางวัลด้าน CG และ CSR มาแล้วถึง 14 รางวัลใหญ่ โดยก่อนหน้านี้ ดร.ณัฐกิตติ์ยังเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการรีแบรนด์ดิ้งครั้งใหญ่ของซัมซุง เปลี่ยนภาพจากแบรนด์เกาหลีให้กลายเป็น Global Brand และ วาง Positioning ของแบรนด์ให้ดู Premium ขึ้นได้ภายในระยะเวลา 3 ปี และ ผู้อยู่เบื้องหลังการเพิ่ม Market Share ของบริษัท Post Tel บริษัทในกลุ่มสามารถคอร์ปอเรขั่น จำกัด (มหาชน) ให้ขึ้นเป็นที่ 2 จากที่ 4 ของตลาดได้ภายใน 1 ปี ความท้าทายของงานด้านการตลาดก็คือ “คน” ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอยู่เสมอทั้งในส่วนของผู้บริโภคและทีมงานเอง ดร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา · ดูเพิ่มเติม »

ดอม เหตระกูล

อม เหตระกูล เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2519 เป็นนักแสดง พิธีกร และนายแบบไทย เป็นบุตรชายคนโตของนายประชา เหตระกูล ประธานผู้บริหารหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ การศึกษาประถม - มัธยมปลายจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพฯ และปริญญาตรีจากคณะบริหารธุรกิจ ภาคภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการวิทยาลัยนานาชาติ เข้าสู่วงการจากการชักชวนของคุณมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ เริ่มด้วยการประกวดหนุ่มแพรว จากนั้นมีผลงานการแสดงด้วยการเป็นดารารับเชิญใน เจ้าพ่อจำเป็น รักหลอก ๆ อย่าบอกใคร รักเธอเสมอ (เรือ) พอใกล้เรียนจบจึงได้เป็นพระเอกเต็มตัวใน เสือ โจรพันธุ์เสือ, ล่าระเบิดเมือง มีงานละครทางช่อง 3 เช่น เรื่องกัลปังหา, เขยลิเก, 5 คม, เล่ห์ลับสลับร่าง ทางช่อง 5 เรื่อง แสนแสบ และเป็นพิธีกรรายการ กระตุกหนามเตย ด้านชีวิตส่วนตัว ดอมสมรสกับ ก้อย - ศศิลักษณ์ ฝ่ายจำปา มีบุตรสาว 1 คน และมีธุรกิจส่วนตัวคือ บริษัท บริทไบค์ จำกัด ซึ่งนำเข้าและเป็นตัวแทนจำหน่ายมอเตอร์ไซค์ แบรนด์ Triumph.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและดอม เหตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ดิเรก ชัยนาม

นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและดิเรก ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะภราดาเซนต์คาเบรียล

ณะภราดาเซนต์คาเบรียล (Frères de Saint-Gabriel, The Montfort Brothers of St.) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกคณะหนึ่งซึ่งขึ้นตรงต่อพระสันตะปาปา นักบุญหลุยส์ มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ตเป็นผู้ก่อตั้งคณะ และบาทหลวงกาเบรียล เดแอ เป็นผู้ฟื้นฟูคณะ นักบวชในคณะปฏิญาณตนต่อพระเจ้าเพื่อถือ ความยากจน ความบริสุทธิ์ และความนบนอบ ทำงานรับใช้พระเจ้าแต่เพียงผู้เดียว ด้วยการอุทิศตน เสียสละ รับใช้ผู้อื่นดังพี่น้อง โดยมุ่งที่จะให้บริการศึกษาอบรมที่เป็นความรู้ทางโลกและทางธรรมแก่สังคม คณะภราดาเซนต์คาเบรียลมีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี สมาชิกประกอบด้วยภราดาที่ทำงานรับใช้พระเป็นเจ้าผ่านทางการให้การศึกษาแก่เยาวชน และเอาใจใส่เป็นพิเศษต่อคนยากจน ตามจิตตารมณ์ของนักบุญมงฟอร์ต ปัจจุบัน ภราดา John Kallarackal เป็นอัคราธิการ และภราดาสุรสิทธิ์ สุขชัย เป็นอธิการเจ้าคณะแขวงประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและคณะภราดาเซนต์คาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Faculty of Architecture and Planning) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2542 นักศึกษาคณะนี้มักใช้คำเรียกแทนตัวเองว่า "ชาวเรา".

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติราษฎร์

ณะนิติราษฎร์ เป็นกลุ่มอาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีข้อเสนอทางวิชาการด้านนิติศาสตร์ต่อสังคมไทย เริ่มจากเสนอให้ลบล้างผลพวงของการรัฐประหาร พ.ศ. 2549 เมื่อวัน 19 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและคณะนิติราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะนิติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีก.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีคอนสแควร์

ซีคอนสแควร์ (Seacon Square) เป็นศูนย์การค้า ดำเนินโครงการโดย บริษัท ซีคอน ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นการร่วมทุนระหว่าง กลุ่มซีคอน (ตระกูลซอโสตถิกุล) และสถาบันการเงิน 5 แห่ง ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 77 ไร่ ริมถนนศรีนครินทร์ ระหว่าง แยกศรีนุช และ แยกศรีอุดม มีระยะห่างจากถนนเทพรัตน 2 กิโลเมตร และห่างจากทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (กรุงเทพ-ชลบุรี) 3 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังใกล้กับสวนหลวง ร.9 และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและซีคอนสแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์

ัชกร ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2527 เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทยเชื้อสายจีน สังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ (28 สิงหาคม พ.ศ. 2487 —) อดีตหัวหน้าพรรคมัชฌิมาธิปไตย อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช เป็นผู้ก่อตั้งและอดีตผู้บริหารบริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทีพีไอ(ปัจจุบันคือ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน)) และบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) หรือทีพีไอโพลีน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและประชัย เลี่ยวไพรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประชา มาลีนนท์

นายกองเอก ประชา มาลีนนท์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและประชา มาลีนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ จิรกิติ

ร.ประกอบ จิรกิติ (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 -) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร เกิดวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ที่เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายประสิทธิ จิรกิติ และนางอิงอร จิรกิติ สมรสกับ นางวรรณา จิรกิติ (สกุลเดิม เบญจรงคกุล) น้องสาวของ นายบุญชัย เบญจรงคกุล อดีตผู้บริหารกลุ่มยูคอมและดีแทค และเป็นพี่สาวนายสมชาย เบญจรงคกุล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ดร.ประกอบ จิรกิติ เคยทำงานด้านวิชาการเป็นอาจารย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) มีผลงานจนได้ดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ก่อนจะเข้าเป็นผู้บริหารบริษัทหลายแห่งในเครือยูคอม ที่เป็นหนึ่งในธุรกิจสื่อสารยักษ์ใหญ่ของไทย กระทั่งได้ขึ้นดำรงตำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ยูไนเต็ด คอมมูนิเกชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) หรือ ยูคอม และต่อมาเป็น กรรมการผู้จัดการบริษัท เลิร์นทูเกเธอร์ จำกัด ธุรกิจการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (e-Learning) ในเครือยูคอม ซึ่งเท่ากับได้ทำงานในสายงานการศึกษาอีกครั้ง ดร.ประกอบ จิรกิติ เคยเข้าสู่วงการเมือง โดยลงสมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 10 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เมื่อปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและประกอบ จิรกิติ · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ ชันซื่อ

ประมาณ ชันซื่อ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและประมาณ ชันซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

ประยูร จรรยาวงษ์

ประยูร จรรยาวงษ์ "ราชาการ์ตูนไทย" ภาพลายเส้นโดย ประยูร จรรยาวงษ์ จากซ้าย ศุขเล็ก, ฮิวเมอร์ริสต์, คึกฤทธิ์ และ นายรำคาญ ประยูร จรรยาวงษ์ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2535 สิริอายุ ปี นักเขียนการ์ตูนฉายา "ราชาการ์ตูนไทย" ผู้ให้กำเนิดตัวการ์ตูน "ศุขเล็ก" ตัวการ์ตูนลิเกล้อเลียนบุคลิกของนักมวยชื่อดัง สุข ปราสาทหินพิมาย และการ์ตูนชุดขบวนการแก้จน (ได้รับการแนะนำให้เป็น 1 ในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน) นอกจากนี้ยังเป็นเจ้าของรางวัลชนะเลิศการประกวดเขียนภาพการ์ตูนของโลก ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2503 จากผลงานชื่อ "การทดลองระเบิดปรมาณูลูกสุดท้าย" (The Last Nuclear Test) และรางวัลแมกไซไซสาขาวารสารศาสตร์ วรรณกรรม และศิลปะการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ ในปี พ.ศ. 2514 เขามีบทบาทในการวาดการ์ตูนล้อเลียน 3 ทรราช และเข้าร่วมชุมนุมในเหตุการณ์ 14 ตุล.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและประยูร จรรยาวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

ประสาร ไตรรัตน์วรกุล (เกิด 20 สิงหาคม พ.ศ. 2495) ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ประธานกรรมการในคณะกรรมการกำกับการจัดซื้อจัดจ้างในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 9/2560 คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เขาดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและประสาร ไตรรัตน์วรกุล · ดูเพิ่มเติม »

ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์

นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ ประธานคณะกรรมการบริษัท ไทย แอ็กโกร เอ็กซเชนจ์ จำกัด (ตลาดไท) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตเลขาธิการพรรครวมชาติพัฒนาและพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร 4 สมั.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทือง กีรติบุตร

ตราจารย์พิเศษ นายกองใหญ่ ประเทือง กีรติบุตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ (ครม.42) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (ครม.41) อดีตตุลาการรัฐธรรมนูญ อดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตประธานกรรมการอัยการ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและประเทือง กีรติบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี เกษมทรัพย์

ตราจารย์ ปรีดี เกษมทรัพย์ นักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแพ่ง และนิติปรัชญา อดีตสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้ก่อตั้งและอดีตอธิการวิทยสถานแห่งวัฒนธรรมตะวันออก อดีตรองประธานสหพันธ์คีตาอาศรมแห่งโลก และอดีตประธานคีตาอาศรมแห่งประเทศไทย ท่านอาจารย์ปรีดีถือว่าเป็นปรมาจารย์ในแวดวงนิติศาสตร์ เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีกฎหมายสามชั้น และผู้ริเริ่มให้บรรยายวิชากฎหมายแพ่ง นิติปรัชญา ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย และหลักวิชาชีพนักกฎหมาย ขึ้นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นแห่งแรกของประเทศ ปัจจุบันท่านเป็นประธานกิติมศักดิ์มูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย์ ที่ลูกศิษย์ลูกหาร่วมกันจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นมูลนิธิเพื่อให้การสนับสนุนด้านวิชานิติศาตร์ในประเทศไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและปรีดี เกษมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ผู้จัดรายการ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" และคอลัมนิสต์ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2513 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นายเจริญ และนางสุจิตรา พัวพงษ์พันธ์ บิดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนไหหลำ และมารดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนแต้จิ๋ว นามสกุล "พัวพงษ์พันธ์" ตั้งให้สอดคล้องกับแซ่ "พัว" ของตระกูลนั่นเอง นายปานเทพเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนอัสสัมชัญ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และระดับปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขา การเงินการจัดการ จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นสมาชิกเครือข่ายสันติอโศกโดยมีถูกวางบทบาทในด้านสุขภาพ การเมือง และอื่นๆ เมื่อกลับมาเมืองไทยได้เข้าทำงานกับองค์กรภาคเอกชน โดยเข้าไปเป็นผู้บริหารดูด้านการเงิน และการก่อสร้างอยู่ช่วงหนึ่ง ก่อนที่ประเทศไทยจะประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจ เมื่อปี พ.ศ. 2540 ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ เข้าสู่วงการเมือง โดยมีผู้แนะนำให้รู้จักกับ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ในปี พ.ศ. 2541 โดยเข้าไปช่วยงานในพรรคความหวังใหม่ ขณะที่มีอายุ 28 ปี กระทั่งได้เป็นกรรมการบริหารพรรค เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น..บัญชีรายชื่อของพรรคความหวังใหม่ และมีตำแหน่งสุดท้ายเป็นรองโฆษกพรรคความหวังใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 ก่อนที่จะไปดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการองค์การฟอกหนัง ด้วยวัย 31 ปี ซึ่งถือว่าเป็นผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ ที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย เมื่อ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ได้ยุบพรรคความหวังใหม่ รวมกับพรรคไทยรักไทย นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ได้เป็นทีมที่ปรึกษาเศรษฐกิจในช่วง รัฐบาลทักษิณ 1 โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจภาคใต้ ก่อนที่จะถอนตัวในเวลาต่อมาด้วยความเห็นที่ไม่ตรงกัน และหลังจากนั้นยืนอยู่ฝั่งตรงข้ามกับรัฐบาลทักษิณมาโดยตลอด โดยชื่อของ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ โด่งดังอีกครั้ง เมื่อออกหนังสือชื่อ "บันทึกลับ ๒๕๔o" โดยมีเนื้อหาชี้แจงถึงปัญหาเศรษฐกิจในช่วงที่ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ที่ถูกโจมตีว่าเป็นผู้ก่อให้เกิดวิกฤต ปานเทพ พัวพงษ์พันธุ์ ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรัฐบาลมาโดยตลอด เช่น การเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐชื่อ " วิสัยทัศน์เศรษฐกิจ " รวมทั้งถึงเคยจัดรายการโทรทัศน์ทาง UBC ช่อง 7 ร่วมกับดุสิต ศิริวรรณ ด้วยอยู่ช่วงหนึ่ง ในชื่อรายการ " โต๊ะข่าวเช้านี้ " ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปานเทพ ก็ได้เข้าไปทำงานในเครือผู้จัดการ ของสนธิ ลิ้มทองกุล และได้ทำรายการใน ASTV คือ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" ในช่วงเวลา 20:30น.-21:30น.ทุกวันจันทร์ ถึง ศุกร์ และเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์ผู้จัดการด้วย ซึ่งยังทำมาจนปัจจุบัน ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2549 ปานเทพ พัวพงษ์พันธุ์ ทำหน้าที่เป็นโฆษกบนเวที และในการขับไล่ รัฐบาลสมชาย วงศ์สวั..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะบุตร ชลวิจารณ์

ปิยะบุตร ชลวิจารณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และนายกสมาคมอัสสัมชัญ (สมาคมศิษย์เก่า) คนปัจจุบัน ประธานกรรมการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานอำนวยการและรองประธานกรรมการสถาบันคีนันแห่งเอเซี.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและปิยะบุตร ชลวิจารณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ที่ประเทศอังกฤษ สเตฟาน คอลินยองส์ (Stefan Collingnon) นักวิชาการร่วมสมัยชาวเยอรมัน ได้กล่าวยกย่องป๋วยว่าเป็น "บิดาของเมืองไทยสมัยใหม่" (Founding Father of Modern Thailand) ในฐานะผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ป๋วยได้รับ รางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2508 และได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก ในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและป๋วย อึ๊งภากรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบวช

นักบวช หรือ บรรพชิต เป็นผู้สละชีวิตฆราวาสเข้าพิธีบวชตามลัทธิศาสนาต่าง ๆพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและนักบวช · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและนิรุตติ์ ศิริจรรยา · ดูเพิ่มเติม »

นิสสัย เวชชาชีวะ

นายนิสสัย เวชชาชีวะ อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสัญญา ธรรมศักดิ์ อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ และเป็นบิดาของนายสุรนันทน์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและนิสสัย เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

นิเวส ศิริวงศ์

นิเวส ศิริวงศ์ (เกิด 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม) เป็นอดีตกองหลังทีมชาติไทย ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งกองหลังให้กับเกษตรศาสตร์ เอฟซี และได้รับการ ยกย่องให้เป็นกองหลังที่ดีที่สุดคนหนึ่งของทีมประเทศไทย เริ่มตันอาชีพกับ สโมสรฟุตบอลสินธนา เขาเคยค้าแข้งกับ สโมสรฟุตบอลกอมบัคยูไนเต็ด สโมสรฟุตบอลเซมบาวัง สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสน สโมสรฟุตบอลพัทยา ยูไนเต็ด ปี 2012 หลังจากจบทัวร์นาเมนต์ AFF Suzuki Cup'2012 นิเวส ศิริวงศ์ ได้ประกาศอำลาทีมชาติไทย แต่สามารถโชว์ฟอร์มได้ดีให้กับต้นสังกัดอย่าง พัทยา ยูในเต็ด จนถูกวินฟรีด เชเฟอร์ เรียกกลับมาติดทีมชาติชุดสู้ศึกฟุตบอลโลก 2014 รอบคัดเลือกและหลังจากจบทัวร์นาเม็นคัดเลือกฟุตบอลโลก 2014 ก็ได้ประกาศอำลาทีมชาติไทยอย่างเป็นทางการอีกครั้ง แฟนฟุตบอลส่วนใหญ่นิยมเรียก นิเวส ศิริวงศ์ ว่า " น้าเป็ด".

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและนิเวส ศิริวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

แมนรัตน์ ศรีกรานนท์

รืออากาศตรี ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและแมนรัตน์ ศรีกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

โภคิน พลกุล

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโภคิน พลกุล · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลกรุงเทพ

รงพยาบาลกรุงเทพ (Bangkok Hospital) ได้ขยายเครือข่ายรวม 44 สาขา โรงพยาบาลครอบคลุมพื้นที่ให้บริการแทบทุกภูมิภาคของไทย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่และแหล่งท่องเที่ยว ด้วยทีมแพทย์เฉพาะทาง บุคลากรมืออาชีพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย ประสิทธิภาพสูง เพรียบพรัอมด้วยบริการฉุกเฉินและบริการพิเศษเหนือระดับ สิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน เพื่อสนองตอบทุกความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ บริษัทเป็นผู้ประกอบการธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ของประเทศ โดยมีโรงพยาบาลเครือข่ายในไทยและกัมพูชา ดำเนินการภายใต้ชื่อโรงพยาบาล 6 กลุ่ม คือ กลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพ กลุ่มโรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลบี เอ็น เอช กลุ่มโรงพยาบาลพญาไท กลุ่มโรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล และกลุ่มโรงพยาบาลรอยัล นอกจากนี้เครือข่ายของบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) ยังรวมถึงธุรกิจที่ให้การสนับสนุนด้านการแพทย์ ได้แก่ ธุรกิจห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ธุรกิจผลิตยาและธุรกิจผลิตน้ำเกลือ เป็นต้น ตั้งอยู่ 2 ซ.ศูนย์วิจัย 7 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร และเป็นโรงพยาบาลที่ได้รับพระราชทานตราครุฑ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงพยาบาลกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลหัวเฉียว

รงพยาบาลหัวเฉียว (华侨; พินอิน: Huáqiáo) เป็นโรงพยาบาลเอกชนทั่วไป ก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ตั้งอยู่ที่ 665 ถนนบำรุงเมือง แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงพยาบาลหัวเฉียว · ดูเพิ่มเติม »

โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ

รงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ (Mandarin Oriental, Bangkok) ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก โดยในอดีตมีชื่อว่า "โรงแรมโอเรียนเต็ล" โดยปัจจุบันบริหารงานโดย บริษัท OHTL จำกัด (มหาชน) (เดิมมีชื่อว่า บริษัท โรงแรมโอเรียนเต็ล (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)) เป็นโรงแรมที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชีย และเคยเป็นหนึ่งในโรงแรมที่ถือว่าดีที่สุดของโลก.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ

รงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ เป็นโรงเรียน ในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ตั้ง อยู่เลขที่ 101 ซอยสาทร 13 (เซนต์หลุยส์ 2) ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร บนที่ดินของสำนักมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ โดยมีเนื้อ ที่จำนวน 14 ไร่ 2 งาน 26 ตารางว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา

ราดามงฟอร์ต เดลโรซาริโอ อธิการนักสร้างของยุคลงหลักปักฐาน โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา (Assumption College Sriracha; อักษรย่อ: อสช, ACS) ก่อตั้งโดย ภราดาเทโอฟาน (ชิน บุณยานันทน์) วันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1944 (พ.ศ. 2487) และเป็นอันดับที่ 5 ใน 14 สถาบันของคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ปัจจุบันเปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เปิดสอนในระบบสหศึกษา รับทั้งนักเรียนประจำและไป-กลั.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ

รงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ (Assumption Samutprakarn School, ACSP) (ชื่อเดิม โรงเรียนอัสสัมชัญสำโรง, Assumption College Samrong, ACSR) โรงเรียนเอกชน ในเครือมูลนิธิคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2522 ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านทิพวัล หมู่ที่ 5 ตำบลเทพารักษ์ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการเป็นสถาบันการศึกษา ลำดับที่ 13 ของมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย โดยมีปณิธานร่วมกัน ดังนี้ “เราชาวอัสสัมชัญ ต้องตั้งมั่นในคุณธรรมของศาสนา ต้องเชื่อมั่นในคุณค่าและศักดิ์ศรีของคน ต้องมุ่งมั่นในความเป็นเลิศด้านวิชาการ ต้องยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม”.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี

รงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี (Assumption College Ubonratchathani) เป็นสถาบันการศึกษาในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ลำดับที่ 10 และตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา คณะภราดาเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทยได้นำภราดาเข้ามาดูแลโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง มีการจัดการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชน อบรมสั่งสอนเยาวชน ให้มีความรู้อย่างลึกซึ้ง เพื่อสามารถนำความรู้ ไปประกอบอาชีพและเป็นบุคคลที่ดีต่อประเทศชาต.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี

รงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี (Assumption College Thonburi; อักษรย่อ: อ.ส.ธ.) เป็นโรงเรียนเอกชนลำดับ 8 ก่อตั้งโดยคณะภราดาเซนต์คาเบรียล เมื่อปี พ.ศ. 2504 เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2552 ได้รับนักเรียนหญิงเข้ามา จึงเปลี่ยนแปลงเป็นโรงเรียนสหศึกษา มีสถานที่ตั้งอยู่ที่ 92 ถนนอัสสัมชัญ แขวงบางไผ่ เขตบางแค กรุงเทพมหานคร 10160 ปัจจุบันโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรีมีอายุครบ ปี โรงเรียนก่อตั้งขึ้นโดยได้รับที่ดินจำนวนหนึ่งจากนายไถง สุวรรณทัต ศิษย์เก่าอาวุโสโรงเรียนอัสสัมชัญ (อดีต ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์)ผู้ก่อตั้งหมู่บ้านจัดสรรแห่งแรกของประเทศไทยชื่อว่า "หมู่บ้านเศรษฐกิจ" ซึ่งท่านได้บริจาคที่ดินเนื้อที่ทั้งหมด 56 ไร่ 1 งาน 9 ตารางวา ให้กับโรงเรียน ปัจจุบันมีพื้นที่ทั้งหมด 80 ไร่ 27 ตารางวา ผู้อำนวยการคนปัจจุบันของโรงเรียนชื่อ ภราดา ดร.วีรยุทธ บุญพราหมณ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา

มืองโคราชมุมสูง มองจากโรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา (อังกฤษ: Assumption College Nakhonratchasima) (อักษรย่อ: อสช, ACN) เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ของจังหวัดนครราชสีมา ก่อตั้งโดยโดยมูลนิธิคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

โลกยามเช้า

ลกยามเช้า เป็นรายการโทรทัศน์ ที่นำเสนอข่าวต่างประเทศ และสาระความรู้จากทั่วโลก ในลักษณะผสมผสานเชื่อมโยงกับสังคมไทย ผลิตโดย ฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ร่วมกับ บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 04.30-04.55 น. ทางไทยทีวีสีช่อง 3 ช่อง 3 เอสดี และ วิทยุครอบครัวข่าว และตั้งแต่วันจันทร์ที่ 3 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโลกยามเช้า · ดูเพิ่มเติม »

โคทม อารียา

ร.โคทม อารียา รองศาสตราจารย์ โคทม อารียา เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นอดีตกรรมการการเลือกตั้ง (กกต. 2540-2544) ฝ่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 ปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล จบการศึกษา DIPLÔME INGÉNIEUR ÉCOLE SUPÉRIEURE D’ÉLECTRICITÉ, FRANCE Dr.Ing.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและโคทม อารียา · ดูเพิ่มเติม »

ไชยันต์ ไชยพร

ตราจารย์ ดร.ไชยันต์ ไชยพร (เกิด 18 กันยายน พ.ศ. 2502 -) เป็นอาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นที่รู้จักกันในฐานะอาจารย์รัฐศาสตร์จุฬาฯ ผู้ฉีกบัตรเลือกตั้งต่อหน้าสื่อมวลชนในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2549 ในแนวทางอารยะขัดขืน นอกจากนี้ไชยันต์ยังเป็นนักวิชาการที่เขียนบทความเผยแพร่ตามสื่อต่างๆ อีกมากมาย ไชยันต์มีความเชี่ยวชาญด้านทฤษฎีและปรัชญาการเมือง โดยทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเกี่ยวกับแนวคิดทางการเมืองในงานของเพลโต เคยดำรงตำแหน่งรองคณบดีฝ่ายวิชาการ และหัวหน้าภาควิชาการปกครอง นิสิตชอบเรียกว่า "โสกราตีสคนสุดท้าย" จากรูปแบบการสอนหนังสือ ที่เน้นการถามคำถามและสนทนามากกว่าบรรยายอย่างเดียว ในการประท้วงขับไล่นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ไชยันต์อยู่ในกลุ่มนักวิชาการกลุ่มแรก ๆ ที่ออกมาเคลื่อนไหว ในการเลือกตั้งวันที่ 2 เม.ย. พ.ศ. 2549 ไชยันต์ได้ฉีกบัตรเลือกตั้งของตนทิ้งโดยเป็นการเคลื่อนไหวในแนวทางอารยะขัดขืน ให้เหตุผลว่าการยุบสภาและการเลือกตั้งในครั้งนั้นไม่มีความชอบธรรม เขายอมรับว่ากระทำผิดกฎหมายเลือกตั้งและพร้อมสู้คดีในทางกฎหมายต่อไป อย่างไรก็ตามไชยันต์ยืนยันสิทธิของตนตามรัฐธรรมนูญมาตรา 65 ว่าบุคคลย่อมมีสิทธิต่อต้านโดยสันติวิธี หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ตำรวจได้เชิญตัวไปสอบสวน และ หลังจากนั้นได้มีผู้ร่วมฉีกบัตรเลือกตั้งโดยกล่าวว่ามีอุดมการณ์เดียวกับไชยันต์ด้วย ล่าสุดศูนย์นิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ยืนยันว่าจะช่วยเหลือไชยันต์ในทางกฎหมายแล้ว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและไชยันต์ ไชยพร · ดูเพิ่มเติม »

ไพจิตร เอื้อทวีกุล

ตราจารย์ ไพจิตร เอื้อทวีกุล (14 มกราคม พ.ศ. 2477 — 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกองทุนสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและไพจิตร เอื้อทวีกุล · ดูเพิ่มเติม »

ไกรฤกษ์ นานา

กรฤกษ์ นานา (เกิด 24 เมษายน พ.ศ. 2500 -) เป็นนักวิชาการอิสระ นักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี นักเขียน คอลัมนิสต์ประจำคอลัมน์ศิลปะวัฒนธรรมของมติชน ไกรฤกษ์มีความเชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ยุโรป ประวัติผู้นำยุโรป นโยบายการเมืองระหว่างประเทศ พงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะในยุคสมัยจักรวรรดินิยมต่อราชอาณาจักรสยามและประเทศเพื่อนบ้าน ในรัชกาลที่ 4-8 ก่อนหน้าที่ไกรฤกษ์จะมาทำงานเป็นนักเขียนและนักวิชาการอิสระ เขาเคยทำงานเป็นผู้จัดการแผนกทัวร์ยุโรปบริษัท เอ็มดีทัวร์ แอนด์ ทราแวล เป็นเวลาหลายปี ทำให้มีความเชี่ยวชาญทางประวัติศาสตร์ยุโรปโดยเฉพาะประเทศฝรั่งเศสและประเทศอังกฤษ ไกรฤกษ์จึงได้เริ่มศึกษาและค้นคว้าหาหลักฐานเอกสารเก่าของสยามและบันทึกของฝรั่งเศสต่อสยามในยุคสมัยจักรวรรดินิยม รัชกาลที่ 4-8 และได้แต่งหนังสือหลายเล่มที่ได้ใช้ประสบการณ์และหลักฐานทั้งภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส รวมถึงภาพเก่าที่หาดูได้ยากจากการรวบรวมไว้ตลอดระยะเวลารวม 30 ปี มาตีพิมพ์สู่สาธารณะที่รู้กันดีเช่น "พระมหากษัตริย์โลกไม่ลืม" เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและไกรฤกษ์ นานา · ดูเพิ่มเติม »

ไกรศรี นิมมานเหมินท์

นายไกรศรี นิมมานเหมินท์ เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในวิทยาการหลายด้าน ได้ทำการสำรวจค้นคว้าและเขียนบทความเผยแพร่ ทั้งด้านโบราณคดี ด้านประวัติศาสตร์และมานุษยวิทยา เป็นผู้ค้นพบเตาสังคโลกโบราณที่อำเภอสันกำแพง อำเภอสันทราย และอีกหลายแห่งในภาคเหนือ เป็นผู้คนพบเอกสารใบลานที่สำคัญชิ้นหนึ่งที่มีข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายมังราย เป็นผู้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความเป็นอยู่ ภาษา วัฒนธรรมของคนเผ่าผีตองเหลือง ที่จังหวัดน่าน นอกจากนี้ยังเป็นผู้มีบทบาทในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของล้านนา โดยเฉพาะการจัดเลี้ยงแบบขันโตก นายไกรศรี เป็นนักธุรกิจที่มีบทบาทในการพัฒนาตลาดวโรรส ซึ่งเป็นรวบรวมหุ้นจากเจ้านายฝ่ายเหนือในตระกูล ณ เชียงใหม่ จนกลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่และเข้ามาบริหารกิจการเบญจวรรณ บุญโทแสง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและไกรศรี นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยธนาคาร

ทยธนาคาร จำกัด (มหาชน) (BankThai Public Company Limited) เป็นธนาคารของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2541 เดิมมาจากการควบรวมกิจการของธนาคารสหธนาคาร, บริษัท เงินทุนหลักทรัพย์ กรุงไทยธนกิจ จำกัด (มหาชน) และสถาบันการเงินอีก 12 แห่ง มีกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เป็นผู้ถือหุ้นหลักในสัดส่วน 48.98% และมีผลการดำเนินงานที่ก้าวหน้ามาเป็นลำดับ ปัจจุบัน ณ 30 กันยายน พ.ศ. 2548 ธนาคารมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 52,002.5 ล้านบาท สินทรัพย์รวม 259,717 ล้านบาท มีสาขาทั่วประเทศ 112 สาขา เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง 8.64% และมีสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้เพียง 4.81%.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและไทยธนาคาร · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเบฟเวอเรจ

ริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) (Thai Beverage Public Company Limited; ชื่อย่อ: ไทยเบฟ, ThaiBev) ในเครือกลุ่มทีซีซี.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและไทยเบฟเวอเรจ · ดูเพิ่มเติม »

เชษฐ์ ติงสัญชลี

รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี (เกิด 22 เมษายน พ.ศ. 2520 -) เป็นนักวิชาการชาวไทย อาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร มีความชำนาญด้านศิลปะและประวัติศาสตร์อินเดียและเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะศิลปะอินเดีย พม่า และเนปาล อิทธิพลของศาสนาพุทธและพราหมณ์ต่องานศิลปะ รวมทั้งอิทธิพลศิลปะอินเดียในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ มีผลงานแต่งหนังสือที่สำคัญอาทิเช่น "ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้", "พระพุทธรูปอินเดีย" เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเชษฐ์ ติงสัญชลี · ดูเพิ่มเติม »

เกริก มังคละพฤกษ์

ร.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเกริก มังคละพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกริกพล มัสยวาณิช

กริกพล มัสยวาณิช (ฟลุค) เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเกริกพล มัสยวาณิช · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช

ระคาร์ดินัลฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นพระคาร์ดินัลชาวไทยองค์ที่สอง ชาวกรุงเทพมหานคร เคยดำรงตำแหน่งมุขนายกมิสซังโรมันคาทอลิกนครสวรรค์ ต่อมาได้เข้ารับตำแหน่งอัครมุขนายกมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ สืบต่อจากพระคาร์ดินัลไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู ในวันสมโภชแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

Dr.Dan's 60th Birthday: 60 ปี คนดีมีพลัง ศาสตราจารย์ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (เกิด 9 กันยายน พ.ศ. 2498, ชื่อเล่น: แดน) หรือที่รู้จักกันในนาม ดร.แดน กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์สาธารณรัฐซิมบับเวประจำประเทศไทย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ อดีตอาจารย์หลายมหาวิทยาลัย เคยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ พ.ศ. 2551 ในหมายเลข 2 มีผลงานด้านการเขียนหนังสือมากมาย ในหลากหลายสาขา เช่น เศรษฐกิจ นโยบายการศึกษา การต่างประเทศ สังคม การเมือง การศึกษา ความสำเร็จ การดำเนินชีวิต โดยมีหนังสือมากกว่า 200 เล่ม และมีผลงานบทความตีพิมพ์ลงวารสารวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศเป็นประจำมากกว่า 500 เรื่อง และแสดงทัศนะต่างๆมากกว่า 4000 เรื่อง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม จาติกวณิช

นายเกษม จาติกวณิช อดีตประธานกรรมการบริษัท BTSC (รถไฟฟ้า BTS) ผู้ก่อตั้งและผู้ว่าการคนแรกของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารรัฐวิสาหกิจพร้อมกันถึง 4 แห่งคือ ไทยออยล์, บางจากปิโตรเลียม, ปุ๋ยแห่งชาติ และ เอเชียทรัสต์ นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้รับสมญานามจากสื่อมวลชน ว่า "ซูเปอร์เค" หรือ "ด็อกเตอร์เค".

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเกษม จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

เกื้อ วงศ์บุญสิน

ตราจารย์ ดร.เกื้อ วงศ์บุญสิน รองอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, นายกสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนอัสสัมชัญ, อดีตนายกสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้อำนวยการสถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเกื้อ วงศ์บุญสิน · ดูเพิ่มเติม »

เกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร

นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติ สิทธีอมร

นายเกียรติ สิทธีอมร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานผู้แทนการค้าไทย และคณะทำงานด้านเศรษฐกิจพรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานคณะกรรมการบริหาร หอการค้านานาชาติแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2502 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนอัสสัมชัญ ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทด้านการต่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยทัฟส์ และ ประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการบริหาร จาก Harvard Business School ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย จากสถาบันพระปกเกล้.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเกียรติ สิทธีอมร · ดูเพิ่มเติม »

เมธ รัตนประสิทธิ์

นายเมธ รัตนประสิทธิ์ หรือ หลวงวิลาสวันวิท เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 1 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 เป็นอดีตหัวหน้าพรรคเสรีประชาธิปไตย และเป็นผู้อำนวยการคนแรกของโรงเรียนการป่าไม้ จังหวัดแพร่ จนได้รับการกล่าวถึงว่าเป็น "ผู้เริ่มงานโรงเรียนการป่าไม้".

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเมธ รัตนประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงจักรีนฤเบศร

รือหลวงจักรีนฤเบศร (HTMS Chakri Naruebet; ย่อ: CVH-911) เป็นเรือธงและเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกและลำเดียวของราชนาวีไทย ประจำการในส่วนกำลังรบของกองทัพเรือ เป็นเรือที่ต่อขึ้นจากประเทศสเปน โดยนำแบบมาจากเรือ ปรินซีเปเดอัสตูเรียส (Principe de Asturias) ของกองทัพเรือสเปน โดยปรับปรุงระบบขับเคลื่อน ระบบควบคุมการบิน ระบบอาวุธ และลดระวางขับน้ำลงเหลือสองในสาม ขึ้นระวางประจำการเมื่อ วันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเรือหลวงจักรีนฤเบศร · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องเด่นเย็นนี้

รื่องเด่นเย็นนี้ (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 – ปัจจุบัน) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทเล่าข่าว ผลิตโดยฝ่ายข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ร่วมกับบริษัท เซิร์ช ไลฟว์ จำกัด ในเครือเซิร์ช เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ออกอากาศทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 15.40-16.45 น. ทางไทยทีวีสีช่อง 3 (เดิมคือรายการ สถานการณ์ประจำวัน ซึ่งมีสถานะเป็นข่าวประจำวันของสถานีฯ).

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเรื่องเด่นเย็นนี้ · ดูเพิ่มเติม »

เลียว ศรีเสวก

ลียว ศรีเสวก (30 กันยายน พ.ศ. 2455 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2521) นักเขียนชาวไทย ที่เขียนนวนิยายได้หลากหลายแนว ทั้งนิยายรัก โศก วัยรุ่น วาบหวาม โดยเฉพาะนิยายแนวต่อสู้ ที่ใช้นามปากกา "อรวรรณ" เช่นเรื่อง "ชาติอาชาไนย" "ไพรกว้าง" "มังกรแดง" "ชาติเสือ" "อกสามศอก" "กระทิงโทน" "จิ้งเหลนไฟ" "รอยเสือ" เลียว ศรีเสวก เป็นบุตรชายคนโตของพระนรินทราภิรมย์ (เบียบ ศรีเสวก) กับนางละม้าย ศรีเสวก ชื่อ "เลียว" เป็นชื่อที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย ประทานให้ เลียว ศรีเสวก ศึกษาที่โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนเทพศิรินทร์ ริเริ่มการเขียนหนังสือตั้งแต่สมัยเรียนมัธยม เนื่องจากบ้านอยู่ใกล้ และสนิทสนมกับ ส่ง เทภาสิต นักเขียนเรื่องสั้นแนวใหม่ ช่วงชีวิตในวัยหนุ่ม เลียว ศรีเสวก ผจญภัยอย่างโชกโชนทั่วประเทศ คบหาสนิทสนมทั้งกับนักเลง เจ้าพ่อ และพระโอรสของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ทั้งสามพระองค์ โดยเฉพาะกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ซึ่งสนิทสนมกันเป็นพิเศษ เลียว ศรีเสวก เริ่มเขียนหนังสือตั้งแต่เป็นวัยรุ่น ตั้งแต..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเลียว ศรีเสวก · ดูเพิ่มเติม »

เล็ก นานา

นายเล็ก นานา (18 มีนาคม พ.ศ. 2468 - 1 เมษายน พ.ศ. 2553) เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 9 อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร หลายสมั.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเล็ก นานา · ดูเพิ่มเติม »

เวอร์จิเนียเทค

อาคารต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย สถาบันโพลีเทคนิคและมหาวิทยาลัยรัฐเวอร์จิเนีย (Virginia Polytechnic Institute and State University) หรือเรียกย่อว่า เวอร์จิเนียเทค (Virginia Tech) ตั้งอยู่ที่เมืองแบล็กสเบิร์ก (Blacksburg) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐเวอร์จิเนีย เวอร์จิเนียเทคเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่ได้รับการจัดสรรที่และเงินทุน (land-grant) จากทางรัฐบาลกลางและรัฐบาลของรัฐให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้น มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียเทค จัดตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1872 ซึ่งในตอนแรกเป็นมหาวิทยาลัยสำหรับนักเรียนทหารผู้ชายเท่านั้น ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยสำหรับคนทั่วไป และเป็นมหาวิทยาลัยซึ่งเรียนรวมหญิงชายในที.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเวอร์จิเนียเทค · ดูเพิ่มเติม »

เสริม วินิจฉัยกุล

ริม วินิจฉัยกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเสริม วินิจฉัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

เหม เวชกร

หม เวชกร (17 มกราคม พ.ศ. 2446 - 16 เมษายน พ.ศ. 2512) ศิลปินจิตรกรชาวไทย ที่มีผลงานเด่นแนวเหมือนจริงเช่น ภาพวิจิตรชุดวรรณคดีไทย, นางงามในวรรณคดี, ชีวประวัติสุนทรภู่, ภาพประวัติศาสตร์ไทย, ราชาธิราชและกากี และพระลอภาพวิจิตร เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเหม เวชกร · ดูเพิ่มเติม »

เอกชัย เอื้อครองธรรม

อกชัย เอื้อครองธรรม ผู้กำกับภาพยนตร์และละครเวที ซึ่งได้รับยกย่องจากนิตยสารเอเชียวีค ให้เป็น 1 ใน 20 ผู้นำชาวเอเชียแห่งสหัสวรรษในด้านศิลปวัฒนธรรมและสังคม เอกชัยมีผลงานกำกับภาพยนตร์ อาทิ ภาพยนตร์เรื่อง บิวตี้ฟูล บ๊อกเซอร์ เปิดฉายในปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเอกชัย เอื้อครองธรรม · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์

ทหลวงเอมิล โอกุสต์ โกลงเบต์ (Émile August Colombet เอมีล โอกุสต์ กอลงแบ; 26 พฤษภาคม 1849 - 23 สิงหาคม 1933) บาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวฝรั่งเศส ผู้ก่อตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ · ดูเพิ่มเติม »

เอี่ยม ฉายางาม

ตราจารย์ เอี่ยม ฉายางาม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเอี่ยม ฉายางาม · ดูเพิ่มเติม »

เอนก เหล่าธรรมทัศน์

.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บนหน้าปกหนังสือ ''สองนครา ประชาธิปไตย'' ของตัวเอง ศาสตราจารย์พิเศษ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 7/2560 ประธานคณะกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฏิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อธิการ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นักวิชาการและนักการเมือง อดีตหัวหน้าพรรคมหาชน และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2497 ที.ลำปาง เป็นเจ้าของทฤษฎี "สองนคราประชาธิปไตย" ที่สรุปว่า "คนต่างจังหวัดตั้งรัฐบาล คนกรุงเทพฯล้มรัฐบาล" เคยได้รับสมญานามจาก.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ว่า "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง".

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเอนก เหล่าธรรมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวี

อเอสทีวี (Asia Sattelite TV) เริ่มต้นเมื่อปลายปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเอเอสทีวี · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวีผู้จัดการ

ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเอเอสทีวีผู้จัดการ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ คันธวงศ์

ริญ คันธวงศ์ (ร้อยตรี เจริญ คันธวงศ์) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธาน..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเจริญ คันธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่

้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2534) เป็นราชโอรสองค์สุดท้ายในพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 (องค์สุดท้าย) กับหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ ชายารองในเจ้าแก้วนวรัฐ สมรสกับเจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง ราชธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าฟ้าหลวงนครเชียงตุง องค์ที่ 40 กับเจ้าบัวทิพย์หลวง มเหสีพระองค์หนึ่ง การสมรสระหว่างเจ้าอินทนนท์ กับเจ้าสุคันธา นับเป็นการสานสัมพันธ์อันดีระหว่างนครเชียงตุง กับนครเชียงใหม่อย่างดียิ่ง.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่

้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ (170px) (4 มกราคม พ.ศ. 2456 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) เกิดในสายตระกูลเจ้าเจ็ดตน ซึ่งมีพระยาสุลวฦาชัยสงคราม หรือเจ้าหนานทิพย์ช้าง ผู้เป็นบรรพบุรุษของเจ้าชาย 7 องค์ ที่เป็นต้นสกุลสำคัญฝ่ายเหนือ อันได้แก่ ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง สิโรรส ธนันชยานนท์ และลังกาพินธุ์ โดยท่านอยู่ในสายตรงของเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 2 คือ พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังก.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเจ้าไชยสุริวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เทศนา พันธ์วิศวาส

ทศนา พันธ์วิศวาส (ชื่อเล่น: โอม; 14 มีนาคม พ.ศ. 2521 —) เป็นนักกีฬาแบดมินตันชายจากประเทศไทย ซึ่งเป็นผู้ที่จับคู่กับปราโมทย์ ธีระวิวัฒน์ มานานถึง 15 ปี รวมถึงเป็นผู้ฝึกสอนนักแบดมินตันเยาวชนทีมชาติไท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเทศนา พันธ์วิศวาส · ดูเพิ่มเติม »

เทียรี่ เมฆวัฒนา

ทียรี่ เมฆวัฒนา นักร้องและนักดนตรีชาวไทย สมาชิกวงคาราบาว มีชื่อจริงว่า เทียรี่ สุทธิยงค์ เมฆวัฒนา เกิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2501 ที่ประเทศลาว โดยมีพ่อเป็นชาวไทยเชื้อสายจีนชื่อ เอนก เมฆวัฒนา แม่เป็นชาวสวิตเซอร์แลนด์ จากผู้จัดการออนไลน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเทียรี่ เมฆวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางรัก

ตบางรัก เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตลุมพินี ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเขตบางรัก · ดูเพิ่มเติม »

เขตมิสซังกรุงเทพฯ

ื้นที่ในปกครองของมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ เขตมิสซังกรุงเทพฯ คริสต์ศาสนิกชนชาวคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่าอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นอัครมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในประเทศไทย ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ ชัยนาท ฉะเชิงเทราบางส่วน อำเภอบ้านนา (นครนายก) นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา และอ่างทอง สำนักมิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 51 ซอยโรงแรมแมนดารินโอเรียนเต็ล ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเขตมิสซังกรุงเทพฯ · ดูเพิ่มเติม »

เขตมิสซังราชบุรี

อาณาเขตของเขตมิสซังราชบุรี เขตมิสซังราชบุรี ชาวคาทอลิกเรียกว่าสังฆมณฑลราชบุรี เป็นมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุม 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดราชบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดสมุทรสงคราม สำนักมิสซังคาทอลิกราชบุรี ตั้งอยู่ที่ 31/2-4.สมบูรณ์กุล อ.เมือง.ราชบุรี 70000 มีพระคุณเจ้ายอห์น บอสโก ปัญญา กฤษเจริญ เป็นมุขนายกมิสซังองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเขตมิสซังราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตมิสซังอุดรธานี

ตในปกครองของมิสซังโรมันคาทอลิกอุดรธานี เขตมิสซังอุดรธานี เป็นมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในประเทศไทย ครอบคลุมพื้นที่เขตปกครอง 8 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี จังหวัดขอนแก่น จังหวัดเลย จังหวัดหนองคาย จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดบึงกาฬ มุขนายกมิสซังองค์ปัจจุบัน คือ มุขนายกยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย สำนักมิสซังคาทอลิกอุดรธานี ตั้งอยู่ที่ 129/18 ม.1.นิตโย ต.หมากแข้ง อ.เมือง.อุดรธานี 41000.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเขตมิสซังอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

เขตมิสซังนครราชสีมา

ตมิสซังนครราชสีมา หรือสังฆมณฑลนครราชสีมา เป็นมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในประเทศไทย มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ 3 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดบุรีรัมย์ สำนักมิสซังคาทอลิกนครราชสีมา ตั้งอยู่ที่ 387 สุรนารี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 มุขนายกมิสซังองค์ปัจจุบันคือ มุขนายกยอแซฟ ชูศักดิ์ สิริสุท.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเขตมิสซังนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

เขตมิสซังนครสวรรค์

ตมิสซังนครสวรรค์ ชาวคาทอลิกเรียงว่าสังฆมณฑลนครสวรรค์ เป็นมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุม 13 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อุทัยธานี นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ พิจิตร กำแพงเพชร ตาก พิษณุโลก สุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ นับเป็นมุขมณฑลที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย สำนักมิสซังคาทอลิกนครสวรรค์ ตั้งอยู่ที่ 69/39.ดาวดึงส์ อ.เมือง.นครสวรรค์ 60000 มีมุขนายกยอแซฟ พิบูลย์ วิสิฐนนทชัย เป็นมุขนายกมิสซังองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเขตมิสซังนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตมิสซังเชียงใหม่

อาณาเขตมิสซังโรมันคาทอลิกเชียงใหม่ ก่อนตั้งมิสซังเชียงรายในวันที่ 25เมษายน พ.ศ. 2561 เขตมิสซังเชียงใหม่ หรือสังฆมณฑลเชียงใหม่ เป็นมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในประเทศไทย มีอาณาเขตครอบคลุม 4 จังหวัดในภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำปาง (เว้นอำเภองาว) จังหวัดลำพูน และจังหวัดแม่ฮ่องสอน และมีสถานะเป็นปริมุขมณฑลของเขตมิสซังกรุงเทพฯ สำนักมิสซังโรมันคาทอลิกเชียงใหม่ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 5/3.เจริญประเทศ 12 ต.ช้างคลาน อ.เมือง.เชียงใหม่ 50100.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเขตมิสซังเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตสาทร

ตสาทร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเขตสาทร · ดูเพิ่มเติม »

เขตแพริช

ตแพริช (Parish) หรือที่ชาวคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่าเขตวัด เป็นเขตปกครองในคริสต์ศาสนา ใช้หลายคริสตจักร เช่น โรมันคาทอลิก แองกลิคัน เป็นต้น นอกจากใช้ในทางศาสนาแล้วในบางประเทศ เช่น อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ยังใช้เขตแพริชหมายถึงเขตปกครองส่วนท้องถิ่นด้ว.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเขตแพริช · ดูเพิ่มเติม »

เดลินิวส์

ลินิวส์ (Daily News) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย ที่มียอดจำหน่ายมากที่สุดเป็นอันดับสองของประเทศ นำเสนอข่าวทั่วไป ก่อตั้งโดย นายแสง เหตระกูล ออกฉบับปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2493 ใช้ชื่อหัวหนังสือพิมพ์ขณะนั้นว่า เดลิเมล์วันจันทร์ จำนวน 16 หน้า ราคาฉบับละ 1.00 บาท โดยมีนายประพันธ์ เหตระกูล เป็นบรรณาธิการบริหาร ปัจจุบันใช้ชื่อ เดลินิวส์ (ตั้งแต่ 22 มกราคม พ.ศ. 2522) มีจำนวนหน้าระหว่าง 28-48 หน้า ราคาฉบับละ 10.00 บาท มีจำนวนพิมพ์ปัจจุบันที่ 900,000 ฉบับ สำหรับผู้บริหารคือ ประชา เหตระกูล เป็นบรรณาธิการบริหาร และอภิชัย รุ่งเรืองกุล เป็นบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณ.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเดลินิวส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดือน บุนนาค

ตราจารย์ เดือน บุนนาค ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร่วมก่อตั้ง เลขาธิการ และรักษาการผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าพรรคสหชีพ มีผลงานที่สำคัญระหว่างปี..

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเดือน บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

เครือเจริญโภคภัณฑ์

รือเจริญโภคภัณฑ์ (Charoen Pokphand Group) ย่อเป็นซีพี เป็นกลุ่มธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีธุรกิจหลักคืออาหารและการเกษตรผ่านทางบริษัทลูก เจริญโภคภัณฑ์อาหาร หรือ CPF ซึ่งมีรายรับ 116.5 พันล้านบาท และกำไร 6.747 พันล้านบาท (ข้อมูลปี 2005) นอกจากธุรกิจการเกษตรแล้ว เครือเจริญโภคภัณฑ์ยังทำธุรกิจอื่นๆ อีกหลายชนิด เช่น ธุรกิจค้าปลีกร้านเซเว่น อีเลฟเว่น,ธุรกิจค้าส่งห้างแมคโคร, ธุรกิจโทรคมนาคมในบริษัททรู คอร์ปอเรชั่น เป็นต้น.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและเครือเจริญโภคภัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

Make It Right the Series รักออกเดิน

Make It Right the Series รักออกเดิน (Make It Right the Series) เป็นละครชุดที่ผลิตโดย COPY'A BANGKOK จากบทประพันธ์ของ ธนรา โพธิวัฒนางค์กูร, นะเขียน BADBOYZ และบทโทรทัศน์ของ ธนรา โพธิวัฒนางค์กูร, ราชิต กุศลคูณสิริ นำแสดงโดย ภีมพล พาณิชย์ธำรง, กฤตภัค อุดมพานิช, วิชเวช เอื้ออำพน, รัฐพร สุขพันธ์ เริ่มออกอากาศครั้งแรกในรูปแบบรายการโทรทัศน์ทางช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2559 พร้อมช่องทางในการรับชมย้อนหลังผ่านไลน์ทีวี ในฤดูกาลที่ 2 ทางผู้ผลิต COSOCOMO ได้เปลี่ยนรูปแบบการออกอากาศใหม่เป็นการรับชมผ่านไลน์ทีวีเพียงอย่างเดียว โดยมีกำหนดการอัปเดตตอนใหม่ทุกวันอาทิตย์ เวลา 21.00 น. เริ่มตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2560 และมีการเปลี่ยนแปลงวันอัปเดตตอนใหม่อีกครั้ง คือ ทุกวันเสาร์ เวลา 19.00 น. เริ่มวันที่ 3 มิถุนายน 2560 เป็นต้นไป.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและMake It Right the Series รักออกเดิน · ดูเพิ่มเติม »

My Dear Loser รักไม่เอาถ่าน

My Dear Loser รักไม่เอาถ่าน เป็นรายการโทรทัศน์ ประเภทละครชุด ผลิตโดย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ และจีเอ็มเอ็มทีวี ออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา 20:30 - 21:45 น. ทางช่องจีเอ็มเอ็ม 25 และออกอากาศย้อนหลังในวันเดียวกัน เวลา 22:30 น. ทางแอปพลิเคชันไลน์ทีวี My Dear Loser รักไม่เอาถ่าน แบ่งออกเป็นทั้งหมด 3 ตอน ได้แก่ Edge of 17, Monster Romance และ Happy Ever After.

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและMy Dear Loser รักไม่เอาถ่าน · ดูเพิ่มเติม »

16 กุมภาพันธ์

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายนามศิษย์เก่าจากโรงเรียนอัสสัมชัญและ16 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายนามศิษย์เก่าอัสสัมชัญที่มีชื่อเสียง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »