โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดัชนี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

49 ความสัมพันธ์: บัณฑิต จุลาสัยพ.ศ. 2473พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477พ.ศ. 2482พ.ศ. 2486พ.ศ. 2497พ.ศ. 2508พ.ศ. 2517พ.ศ. 2521พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2531พ.ศ. 2539พ.ศ. 2543พ.ศ. 2547พ.ศ. 2551พ.ศ. 2555พ.ศ. 2558พระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์กรมศิลปากรกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยาภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลราชกิจจานุเบกษาละคอนถาปัดวิศวกรรมศาสตร์วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ศิลปินแห่งชาติสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์สีน้ำตาลหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณหนังสือเรือนไทยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถนนพญาไทคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประเทศอังกฤษนารถ โพธิประสาทเลอสม สถาปิตานนท์เขตปทุมวันเดชา บุญค้ำเฉลิม สุจริต23 พฤษภาคม

บัณฑิต จุลาสัย

ตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม..

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบัณฑิต จุลาสัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล)

ตราจารย์ พระเจริญวิศวกรรม ศาสตราจารย์กิตติคุณ พระเจริญวิศวกรรม (26 เมษายน พ.ศ. 2438 - 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) มีนามเดิมว่า เจริญ เชนะกุล ปรมาจารย์หรือครูใหญ่ของเหล่าช่างทั้งปวง อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้วางรากฐานให้แก่วงการวิศวกรรมศาสตร์ของไทย และ บิดาแห่งการวิศวกรรมไทย นอกจากนั้นยังเป็น นายกคณะฟุตบอลแห่งสยาม คนที่ 5.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระเจริญวิศวกรรม (เจริญ เชนะกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ (3 กันยายน 2497 -) หรือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปัจจุบัน(พ.ศ. 2554-) อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(พ.ศ. 2552-2554) อดีตหัวหน้าภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม (พ.ศ. 2540-2545) อดีตนายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย(พ.ศ. 2542 – 2544) อดีตกรรมการสภาสถาปนิกตัวแทนสาขาภูมิสถาปัตยกรรม 2 วาระ (พ.ศ. 2547-2550)และ(พ.ศ. 2550-2553) การศึกษาจบปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยบริทิชโคลัมเบีย เมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา ในสาขาเกี่ยวกับการวางแผนชุมชนและภูมิภาค อาจารย์มีผลงานการวิจัยและวางแผนหลายชิ้น ทั้งในนามของภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม และสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม ปัจจุบัน ผ.พงศ์ศักดิ์ ยังเป็นประธานสภาสถาปนิกอาเซียน (ASEAN Architect Council -AAC).

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา

อาคารใหม่สวนอัมพร อาคารศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ (ฟาสาดเดิม) อาคารสำนักงานใหญ่การบินไทย ถนนวิภาวดีรังสิต เอ็มบีเคเซ็นเตอร์ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา (9 มกราคม พ.ศ. 2475 - 12 มกราคม พ.ศ. 2553) เป็นสถาปนิกชาวไทย นักธุรกิจ ผู้ก่อตั้งบริษัทคาซ่า อดีตคณะบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คนที่ 4 พ.ศ. 2517-2521),นักแสดง, นักบินสมัครเล่น, อดีตนักกีฬายิงปืนทีมชาติในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนปี..

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานฉลองครบรอบ 40 ปี ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ศาลาพระเกี้ยว ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Department of Landscape Architecture Faculty of Architecture Chulalongkorn University) เป็นหนึ่งในหกภาควิชาของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมได้ริเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2514 โดยมี ร.แสงอรุณ รัตกสิกร เป็นผู้ดำเนินการขอเปิดสอน แผนกวิชาภูมิสถาปัตยกรรม จนเมื่อร่างหลักสูตรเสร็จ จึงมีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 ในราชกิจจานุเบกษา และเริ่มเปิดสอนนิสิตรุ่นแรกเมื่อ พ.ศ. 2521, land.arch.chula.ac.th.สืบค้นเมื่อ 31/03/2559 โดยมี.กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ ซึ่งจบการศึกษาภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมในระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดคนแรกๆของไทย ดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาคนแรก ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นการเปิดสอนหลักสูตรภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมแห่งแรกในประเทศไทยและยังเป็นแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกด้ว.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล

มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล (University of Liverpool) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ในสหราชอาณาจักรที่มีเปิดสอนในระบบที่อิงฐานการเรียนการสอนในห้องเรียนและบนพื้นฐานของการทำวิจัย ตั้งอยู่ในเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1881 ในรูปแบบของมหาวิทยาลัยวิทยาลัย (University College) โดยเปิดสอน 3 คณะ (Faculty) ที่ประกอบด้วยภาควิชา (Department) และสำนักวิชา (School) ต่างๆรวมแล้ว 35 สาขาวิชา มหาวิทยาลิเวอร์พูลเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความก้าวหน้าอย่างโดดเด่นในด้านนวัตกรรมงานวิจัย โดยเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มรัสเซล (Russell Group) ซึ่งเป็นกลุ่มของมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรที่ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ใน 18 มหาวิทยาลัยจากสมาชิก 19 แห่ง ติด 20 อันดับแรกของประเทศในด้านงบวิจัย และเป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มความร่วมมือด้านงานวิจัยของมหาวิทยาลัยในเขตภาคเหนือของสหราชอาณาจักรอีกด้วย มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในสหราชอาณาจักรที่สามารถสร้างมหาวิทยาลัยอิสระในประเทศจีนและเป็นมหาวิทยาลัยจีน-บริติชแห่งแรกของโลก เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลกที่เปิดสอนสาขาวิชาสมุทรศาสตร์ (Oceanography) การออกแบบเมือง (Civic Design) สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture) และชีวเคมี (Biochemistry) ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลมีเงินสนับสนุนรายปีกว่า 410 ล้านปอนด์สเตอร์ลิง ซึ่งในจำนวนนี้ประกอบด้วบงบประมาณที่สนับสนุนด้านงานวิจัยถึง 150 ล้านปอนด์สเตอร์ลิง.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

ละคอนถาปัด

ละคอนถาปัด คือละครสถาปัตย์ เป็นกิจกรรมประจำปีของนิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีนิสิตชั้นปีที่ 3 ขึ้นปี 4 เป็นแม่งาน ร่วมกับนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบันของคณะ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ นำความคิดสร้างสรรค์มาทำกิจกรรม เพื่อหารายได้สำหรับใช้ในกิจกรรมของนิสิต หลังจากสิ้นสุดยุคของกิจกรรม"ลูกทุ่งถาปัด"ในอดีตก่อนหน้านี้ลงไป ละคอนถาปัดเป็นกิจกรรมที่นิสิตสถาปัตย์ฯทำกันมาอย่างต่อเนื่องยาวนานกว่า 30 ปี ระหว่างช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อน จนกลายเป็นประเพณีอย่างหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดีของคณะสถาปัตย์ฯ จุฬาฯ ในปัจจุบันมีละคอนถาปัดมีจำนวน 10 รอบ โดยจัดการแสดงช่วงเดือนพฤษภาคม ก่อนเปิดเทอม ที่หอประชุมใหญ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยบริเวณหน้างานมีของที่ระลึกที่เกี่ยวข้องกับละคอน ที่ทำขึ้นโดยนิสิตวางจำหน่ายด้วย เช่น เสื้อ ซีดีเพลงละคอน และหนังสือเรือนไทย เป็นต้น ในวาระพิเศษ อาจมีการจัดการแสดงละครเพิ่มจากปกติ เช่น ในช่วงงานจุฬาวิชาการ ละคอนถาปัด มีมาตั้งแต่ปี 2517 ในบางปีที่พอมีกำลังก็ทำกันหลายเรื่อง การแสดงที่โด่งดังที่สุดคือเรื่อง สามก๊ก ซึ่งได้เปิดการแสดงไปร้อยกว่ารอบด้วยกัน นักแสดงและบุคคลในวงการบันเทิงหลายคน เริ่มจากการแสดงในละคอนถาปัด เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, ศรัณยู วงษ์กระจ่าง, ภิญโญ รู้ธรรม, เหล่า ซูโม่ เพชรฌาตความเครียด ในปัจจุบันนี้ นอกจากละคอนถาปัดที่จุฬาแล้ว ก็ยังมีละคอนถาปัดที่อื่นๆด้วย เช่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นต้น แต่ที่เห็นจะทำกันสืบเนื่องมาจนเป็นประเพณีและเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขว้างก็ยังเป็นของจุฬาฯนั่นเอง ละคอนถาปัดนั้นมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว โดยเป็นละคอนตลกล้อเลียนเสียดสี และมีเอกลักษณ์ในการใช้ไอเดีย มุข และลูกเล่นบนเวทีที่ผู้ชมคาดไม่ถึง จนต้องนึกว่า"คิดได้อย่างไร" อีกทั้งตัวละครมักมีจังหวะของมุขตลกที่เป็นจังหวะเฉพาะตัวแบบละคอนถาปัด รวมถึงมีดนตรีประกอบ และมีฉากที่สวยงามสมจริง โดยทุกสิ่งทุกอย่างข้างต้นล้วนเกิดจากมันสมองและสองมือของเด็กสถาปัตย์ฯเองทั้งหมด มีการเล่าถึงที่มาที่ไปของคำว่า "ละคอนถาปัด" ที่ไม่ใช้คำว่า "ละครสถาปัตย์ฯ" นั้นไม่ใช่การเขียนผิด หรือ เขียนอย่างมักง่ายเป็นเหตุ หากแต่เป็นการสื่อทางอ้อมว่าละคอนถาปัดนี้ไม่ได้ทำในนามของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งนิสิตสถาปัตย์ฯเองเทิดทูนไว้ในที่สูง หากแต่ทำในฐานะเด็กถาปัดที่รักตลกนึกสนุก อยากสร้างความสุขจากเสียงหัวเราะให้คนอื่นเพียงเท่านั้น และละคอนแบบละคอนถาปัด ก็มิใช่ละครที่มีกรรมวิธีขั้นตอนเฉกเช่นละครเวทีทั่วไป คณะสถาปัตย์ฯไม่มีภาควิชาการละครดังเช่นที่มักใช้เปรยหน้าคำโฆษณาละคอนถาปัด และเด็กถาปัดที่มาทำละคอนก็มิเคยร่ำเรียนเทคนิคการทำละครอย่างถูกต้องตามที่โรงเรียนละครที่อื่นๆสั่งสอนกัน ละคอนถาปัดเปิดโอกาสให้เด็กถาปัดได้เลือกทำหน้าที่ต่างๆตามฝ่ายที่ตนเองสนใจ โดยไม่จำกัดอายุ เพศ ความสามารถ หรือ ประสบการณ์ ละครปกติอาจคัดสรรนักแสดงด้วยวิธีที่เรียกว่าการcast หรือ casting นั่นคือ มีบทละครและคาแรกเตอร์ของตัวละครแต่ละตัวอยู่ก่อนแล้ว จึงทำการcast หาบุคคลที่จะเหมาะสมแก่การเป็นนักแสดง หรือตัวละครตัวนั้นๆ แต่ในกรรมวิธีการทำละคอนถาปัด จะไม่มีการcast ใครก็ตามที่มีใจอยากเล่นละคอนจะได้เข้ามาเป็นนักแสดงด้วยการตัดสินใจของตัวเขาเอง และเราเรียกระบบนี้ว่า try out คือการลอง และ/หรือ พยายาม บทละคอนถาปัดจะเขียนขึ้นพร้อมๆกับการฝึกนักแสดง และปรับไปพร้อมๆกับการเลือกบทบาทกับนักแสดง หรือเด็กถาปัดที่มาtry out ให้เหมาะสมซึ่งกันและกัน บทของละคอนถาปัดจึงยังคงปรับเปลี่ยน ตัดแต่ง เสริมเติม และพัฒนาได้ในทุกๆรอบการแสดงจนนาทีสุดท้ายของละคอน จึงไม่น่าแปลกใจเลยว่าทำไมจึงมีมุขตลกที่ทันต่อเหตุการณ์บ้านเมืองแบบสุดๆบนเวทีละคอนถาปัดได้ทุกครั้งไป ละคอนถาปัด เรียงตามปีตั้งแต่แรก มีดังนี้.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและละคอนถาปัด · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมศาสตร์

การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิศวกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (Poh-Chang Academy of Arts, Rajamangala University of Technology Rattanakosin) เดิมคือ โรงเรียนเพาะช่าง ตั้งอยู่ที่ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีสีแดง–สีดำ เป็นสัญลักษณ์ของสถาบัน เพาะช่างเป็นสถาบันศิลปะการช่าง ก่อตั้งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเอาวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

ัญลักษณ์สมาคมสถาปนิกสยาม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage of His Majesty the King) หรือ อาษา (ASA) เป็นสมาคมของบุคคลในวิชาชีพสถาปนิกและผู้ที่สนใจในงานสถาปัตยกรรมของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่งในสี่สมาคมวิชาชีพออกแบบสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม เป็นสมาคมที่มีลักษณะเป็นนิติบุคคล.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สีน้ำตาล

ีน้ำตาล (Brown) เป็นสีชนิดหนึ่งที่คล้ายกับสีของลำต้นของต้นไม้ ออกสีส้มแก่ๆ ผสมกับสีเขียวไปด้วย พบเห็นได้ทั่วไป เช่น กิ่งและลำต้นของต้นไม้ เป็นต้น เป็นสีที่ไม่ค่อยจะสะท้อนแสงเท่าไรนัก จัดอยู่ในกลุ่มจำพวกสีเย็น.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ

ตราจารย์ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ (9 พฤศจิกายน 2443 - 27 สิงหาคม 2524) พระโอรสองค์ที่ 20 ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ และเป็นองค์ที่ 3 ของหม่อมบุญ วรรวรรณ ณ อยุธยา สถาปนิกกรมรถไฟ ผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ อาจารย์พิเศษและต่อมาป็นอาจารย์ประจำและคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาปนิกรุ่นบุกเบิกผู้นำเอาเอกลักษณ์ไทยมาประยุกต์กับการออกแบบอาคารสมัยใหม่ ได้ทรงพัฒนาวัสดุก่อสร้างที่มีใช่ในท้องถิ่นให้เหมาะสม เช่นกระเบื้องปิดหัวจั่วกันผุ รวมทั้งการทดลองการใช้วัสดุพื้นถิ่นเช่นไม้ไผ่ ไม้ระแนงเสริมปูนฉาบซึ่งพบว่าใช้งานได้ดีในระดับเศรษฐกิจขณะนั้น.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเรือนไทย

หนังสือเรือนไทย หรือ เรือนไทย เป็นหนังสือแนวตลกขบขัน ที่จัดทำขึ้นโดยนิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นกิจกรรมนอกหลักสูตรอีกอย่างหนึ่งของนิสิตคณะสถาปัตย์ฯ ที่มีประวัติการทำสืบทอดกันมายาวนานต่อเนื่องเกือบ 50 ปี โดยในปัจจุบัน หนังสือเรือนไทย มีกำหนดออกวางจำหน่ายปีละหนึ่งครั้ง บริเวณหน้างานละคอนถาปัด หอประชุมใหญ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ราวเดือนพฤษภาคมของทุกปี โดยมีนิสิตชั้นปีที่2 ขึ้นปีที่3 ร่วมกันจัดทำระหว่างปิดภาคเรียนฤดูร้อน เพื่อฝึกฝนประสบการณ์ของนิสิตในการร่วมทำงานเป็นทีม รับผิดชอบบริหารจัดการโครงงาน และนำความคิดสร้างสรรค์มาใช้ผลิตชิ้นงาน ให้สำเร็จออกมาเป็นรูปเป็นร่างได้ และนำรายได้จากการขายหนังสือไปใช้ในกิจกรรมของคณ.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและหนังสือเรือนไทย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป โดยกำหนดให้ดำรงตำแหน่งจนกว่าจะมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคําสั่งเปลี่ยนแปลงเป็นประการอื่น.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพญาไท

นนพญาไทช่วงมาบุญครองและสี่แยกปทุมวัน ถนนพญาไท (Thanon Phaya Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกสามย่าน) ไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวังใหม่กับแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นตัดกับถนนพระรามที่ 1 (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองบางกะปิ หรือคลองแสนแสบ (ที่สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกราชเทวี) จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท โดยตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามทางรถไฟสายตะวันออก ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกพญาไท) ไปสิ้นสุดที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนพหลโยธิน.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและถนนพญาไท · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

นารถ โพธิประสาท

อาจารย์นารถ โพธิประสาท ภาพวาดโดยอาจารย์แสงอรุณ รัตกสิกร ตำราสถาปัตยกรรมภาษาไทยเล่มแรกแต่งโดยอาจารย์ นารถ โพธิประสาท พ.ศ. 2487 ภาพวาดอาจารย์นารถ โพธิประสาทในบั้นปลายชีวิต-ไม่ทราบชื่อผู้วาด อาจารย์นารถ โพธิประสาท (เกิด 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2497) เป็นสถาปนิก อาจารย์ชาวไทย เขาคือผู้ก่อตั้งสถาบันการศึกษาด้านสถาปัตยกรรม ระดับปริญญาแห่งแรกของประเทศไทย ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้ร่วมสถาปนาวิชาชีพสถาปัตยกรรมของประเทศ นารถยังเป็นผู้แต่งหนังสือ สถาปัตยกรรมในประเทศไทย ซึ่งถือเป็นหนังสือที่รวบรวมข้อมูล ลักษณะ ที่มาที่ไป ข้อมูลรังวัดของสถาปัตยกรรมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงยุครัตนโกสินทร์ เป็นเล่มแรกๆ และถือเป็นหนังสือเรียนเล่มแรกของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกด้ว.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนารถ โพธิประสาท · ดูเพิ่มเติม »

เลอสม สถาปิตานนท์

ตราจารย์ เลอสม สถาปิตานนท์ (16 มีนาคม 2492) (นามสกุลเดิม อุรัสยะนันทน์) เป็นสถาปนิกชาวไทย รองอธิการบดี ฝ่ายบริหารระบบกายภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตคณบดีและอาจารย์ประจำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เลอสม เกิดและเติบโต ในครอบครัวที่เป็นสถาปนิกอย่างแท้จริง ทั้งบิดาและมาราดาล้วนเป็นสถาปนิกที่มีชื่อเสียง อีกทั้งยังเป็นภรรยาของนิธิ สถาปิตานนท์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม และผู้ก่อตั้งบริษัทเอ 49 เขาเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาอย่างยาวนาน เป็นอาจารย์ที่นิสิตชั้นปี 1 คณะสถาปัตย์ ในเกือบทุกภาควิชา ต้องได้ร่ำเรียนกั.เลอสม ทุกคน.เลอสม ยังเป็นผู้ร่วมออกแบบอาคารหลายแห่งในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอาทิเช่น อาคารมหาจักรีสิรินธร อาคารจามจุรี 5 อาคารวิทยกิตติ์ เป็นต้น เลอสม ยังเป็นผู้แต่งหนังสือพื้นฐานในงานออกแบบสถาปัตยกรรม หลายเล่ม ทั้ง การออกแบบเบื้องต้น: Introduction to Design,การออกแบบคืออะไร?: What Is Design?, เทคนิคในการออกแบบ: Design Technique เป็นต้น.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเลอสม สถาปิตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เดชา บุญค้ำ

ตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2482 -) ราชบัณฑิต ประเภทวิชาสถาปัตยศิลป์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม สำนักศิลปกรรมศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ประจำปี 2549 ภูมิสถาปนิกคนสำคัญของเมืองไทย ผู้บุกเบิกด้านการศึกษาและวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทย ได้ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์เขตต่างๆ, สวนหลวง ร.๙, อุทยานเบญจสิริ, สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ และอื่นๆ รวมทั้งงานภูมิทัศน์วัดโสธรวรารามวรวิหาร ผังแม่บทภูมิทัศน์เดิมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (พ.ศ. 2537) เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี..

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเดชา บุญค้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม สุจริต

รองศาสตราจารย์เฉลิม สุจริต รองศาสตราจารย์ เฉลิม สุจริต (6 พฤศจิกายน 2475 - 3 กันยายน 2533) สถาปนิก อาจารย์มหาวิทยาลัย หัวหน้าภาควิชาสถาปัตยกรรมและคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเฉลิม สุจริต · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤษภาคม

วันที่ 23 พฤษภาคม เป็นวันที่ 143 ของปี (วันที่ 144 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 222 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ23 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »