เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษร

ดัชนี รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษร

อักษรในภาษาต่างๆ แบ่งตามชนิดอักษร.

สารบัญ

  1. 148 ความสัมพันธ์: พยัญชนะสัทอักษรสากลสือดิบผู้จ่องอักษรชวาอักษรบัสซาอักษรบาหลีอักษรบาตักอักษรบูฮิดอักษรฟราเซอร์อักษรฟินิเชียอักษรพม่าอักษรพราหมีอักษรพอลลาร์ดอักษรพักส์-ปาอักษรพาร์เทียนอักษรกรีกอักษรกลาโกลิติกอักษรกลิงคะอักษรกลุ่มเกาะแคโรไลน์อักษรกวิอักษรกะยาอักษรกันนาดาอักษรกันนาดาโบราณอักษรกทัมพะอักษรกเปลเลอักษรญี่ปุ่นอักษรมอญอักษรมองโกเลียอักษรมันดาอิกอักษรมายาอักษรมาลายาลัมอักษรมณีปุระอักษรม้งอักษรยาวีอักษรยูการิติกอักษรรัญชนาอักษรรูมีอักษรรูนอักษรรูนส์ ฮังการีอักษรละตินอักษรลัณฑาอักษรลาวอักษรลิมบูอักษรลิเชียอักษรลิเดียอักษรลูเวียอักษรลนตาราอักษรวารังกสิติอักษรวินคาอักษรศารทา... ขยายดัชนี (98 มากกว่า) »

พยัญชนะ

พยัญชนะ (วฺยญฺชน, consonant) ในทางภาษาศาสตร์ หมายถึง เสียงแบบหนึ่งในภาษา ออกเสียงให้แตกต่างได้จากลักษณะของอวัยวะออกเสียงในช่องปาก และลักษณะอื่น ๆ เช่น การพ่นลม หรือเสียงก้อง ไม่ก้อง นอกจากนี้ยังหมายถึงตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะด้วย ขณะที่ผู้ใช้ภาษาทั่วไปมักจะเข้าใจว่า 'พยัญชนะ' คือตัวอักษรแทนเสียงพยัญชนะเพียงอย่างเดียว.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและพยัญชนะ

สัทอักษรสากล

ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015 สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไท.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและสัทอักษรสากล

สือดิบผู้จ่อง

ือดิบผู้จ่อง(古壮字 gǔ Zhuàngzì หรือ 方块壮字 fāngkuài Zhuàngzì)เป็นตัวอักษรพื้นเมืองของชาวจ้วงซึ่งเรียกตนเองว่าผู้จ่อง วิวัฒนาการมาจากอักษรจีนแบบเดียวกับอักษรจื๋อโนมที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม โดยสือดิบหนึ่งตัวจะประกอบด้วยอักษรจีนสองตัว ตัวหนึ่งแทนเสียง อีกตัวหนึ่งแทนความหมาย เช่นคำว่า "นา" จะใช้อักษรจีนที่อ่านว่า "หน่า" ผสมกับตัวที่อ่านว่า "หลาย"ซึ่งหมายถึงนาในภาษาจีน มาสร้างเป็นตัวสือดิบอ่านเป็นภาษาจ้วงว่า "นา" เป็นต้น ต้นกำเนิดของอักษรสือดิบนั้นไม่มีหลักฐานแน่นอน นักวิชาการบางส่วนกล่าวว่ามีกำเนิดสมัยราชวงศ์ถัง บางส่วนกล่าวว่าเริ่มใช้ในสมัยราชวงศ์ซ้อง อย่างไรก็ตาม สือดิบไม่ได้มีสถานะเป็นอักษรราชการ เพราะชาวจ้วงอยู่ภายใต้การปกครองของจีน จึงใช้ภาษาจีนและอักษรจีนเป็นภาษาและอักษรราชการ ส่วนมากชาวจ้วงใช้สือดิบบันทึกเพลงและวรรณกรรมพื้นบ้าน เขียนจดหมายหรือใช้ในทางไสยศาสตร์ในแวดวงของหมอผีโดยใช้ปนกับอักษรจีน สือดิบจัดว่าเป็นอักษรที่ไม่ได้พัฒนามากนัก ปัจจุบันมีสือดิบเพียง 2,000 ตัวซึ่งถือว่าไม่เพียงพอต่อการใช้งานในฐานะอักษรภาพ นอกจากนั้น ภาษาจ้วงยังมีแตกต่างไปหลายสำเนียง แต่ละท้องถิ่น กำหนดสือดิบของตนขึ้นใช้โดยไม่มีสือดิบมาตรฐานสำหรับคนที่อยู่ต่างท้องที่กัน นอกจากนี้ การนำอักษรจีนมาใช้ปนกับสือดิบก็มีวิธีใช้ต่างกันไป บางครั้งนำมาใช้แทนเสียงโดยไม่คำนึงถึงความหมาย บางครั้งนำมาใช้โดยยึดความหมายแต่อ่านเป็นภาษาจ้วง ตัวอย่างเช่น อักษรจีนที่แปลว่า "ข้าพเจ้า" เมื่อนำมาใช้ในสือดิบจะใช้แต่ความหมาย โดยอ่านออกเสียงว่าเป็นภาษาจ้วงว่า "กู" เป็นต้น.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและสือดิบผู้จ่อง

อักษรชวา

อักษรชวา (ภาษาชวา: 110px อักซาราจาวา) หรือ ฮานาจารากา (90px) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาชวา โดยก่อนหน้าที่จะใช้อักษรชวาเขียน ราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรชวา

อักษรบัสซา

อักษรบัสซา (Bassa alphabet) จุดกำเนิดยังคลุมเครือ ชื่อในภาษาบัสซาคือวาห์ แปลว่าขว้างเครื่องหมายออกไป เริ่มใช้ในไลบีเรียเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรบัสซา

อักษรบาหลี

อักษรบาหลี หรือ จารากัน (Carakan) พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะ หรืออักษรกวิโบราณ จารึกเก่าสุดในภาษาบาหลี มีอายุราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรบาหลี

อักษรบาตัก

อักษรบาตัก (Karo Batak syllabic alphabet) หรือ ซูรัตบาตัก พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะและอักษรกวิรุ่นเก่า เขียนจากล่างขึ้นบนในแนวตั้ง เริ่มจากซ้ายไปขวา มีที่มาจาการเขียนบนไม้ไผ่ เฉพาะนักบวชเท่านั้นที่อ่านเขียนอักษรนี้ได้ มีความแตกต่างกันเล็กน้อยสำหรับอักษรที่ใช้เขียนภาษาต่างกัน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรบาตัก

อักษรบูฮิด

อักษรบูฮิดหรือมังยัน พัฒนามาจากอักษรกวิของชวา บาหลี และสุมาตรา ซึ่งมาจากอักษรปัลลวะอีกทีหนึ่ง อักษรนี้ยังใช้อยู่ในฟิลิปปินส์ โดยชาวบูฮิดในมินโดโร เขียนจากซ้ายไปขวา ในแนวนอน อักษรแต่ละตัวมีเสียงสระเกาะอยู่ และจะเปลี่ยนเสียงสระเมื่อเพิ่มเครื่องหมายบนพยัญชน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรบูฮิด

อักษรฟราเซอร์

อักษรฟราเซอร์ (Fraser) หรือ อักษรลีสู่ (Lisu) ประดิษฐ์เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรฟราเซอร์

อักษรฟินิเชีย

ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรฟินิเชีย

อักษรพม่า

ตัวพยัญชนะพม่า ตั้งแต่ กะ ถึง อะ (ถอดเป็นอักษรไทยตามรูป จากซ้ายไปขวาและบนลงล่าง) ก,ข, ค, ฆ, ง, จ, ฉ, ช, ฌ, ญ, ฏ, ฐ, ฑ, ฒ, ณ, ต, ถ, ท, ธ, น, ป, ผ, พ, ภ, ม, ย, ร, ล, ว, ส, ห, ฬ, อ อักษรพม่า (မြန်မာအက္ခရာ) เป็นอักษรในตระกูลอักษรพราหฺมี ใช้ในประเทศพม่าสำหรับการเขียนภาษาพม่า ในสมัยโบราณ การเขียนอักษรพม่าจะกระทำโดยการจารลงในใบลาน ตัวอักษรพม่าจึงมีลักษณะโค้งกลมเพื่อหลบร่องใบลาน อักษรพม่าเขียนจากซ้ายไปขวาเหมือนอักษรไทย และอักษรภาษาอื่น ๆ ในตระกูลอักษรพราหฺมี อักษรพม่าประกอบด้วยพยัญชนะ และสระ โดยมีพยัญชนะ 33 ตัว ตั้งแต่ (กะ) ถึง (อะ) ซึ่งเสียงของพยัญชนะจะถูกเปลี่ยนแปลงโดยสระที่เขียนเหนือ, ใต้, หรือข้าง ๆ พยัญชนะ เหมือนกับอักษรภาษาอื่น ๆ ในตระกูลอักษรพราหฺมี อักษรพม่าใกล้เคียงกับอักษรมอญมาก แต่วิธีการออกเสียงเมื่อประสมสระต่างกัน ทั้งนี้เพราะความแตกต่างของทั้ง 2 ภาษา เช่นภาษาพม่ามีวรรณยุกต์แต่ภาษามอญไม่มี กล่าวกันว่าพม่ารับเอาอักษรมอญมาดัดแปลงเมื่อเข้าครอบครองอาณาจักรมอญโบราณ ในทำนองเดียวกันเมื่อพม่าเข้าครอบครองอาณาจักรไทใหญ่ ชาวไทใหญ่ได้นำอักษรพม่าบางตัวไปเขียนภาษาบาลีเพราะอักษรไทใหญ่มีไม่พอ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรพม่า

อักษรพราหมี

อักษรพราหมี อักษรพราหมี (อ่านว่า พราม-มี) เป็นต้นกำเนิดของอักษรในอินเดียมากมาย รวมทั้งอักษรเขมรและอักษรทิเบตด้วย พบในอินเดียเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรพราหมี

อักษรพอลลาร์ด

อักษรพอลลาร์ด หรือ พอลลาร์ดเมียว ประดิษฐ์โดยแซม พอลลาร์ด มิชชันนารีชาวอังกฤษโดยมีผู้ช่วยคือ ยาง ยาก และ ลิ ซิติฟาน ก่อนหน้านี้ภาษาม้งหรือแม้วเขียนด้วยอักษรจีน จนกระทั่งพอลลาร์ดประดิษฐ์อักษรใหม่เมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรพอลลาร์ด

อักษรพักส์-ปา

อกสารเขียนด้วยอักษรพักส์-ปา อักษรพักส์-ปา (Phags-pa alphabet) กุบไลข่านมอบหมายให้พระลามะจากทิเบตชื่อ มติธวจะ ศรีภัทร (1782 – 1823) ประดิษฐ์อักษรใหม่สำหรับภาษามองโกเลียขึ้นเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรพักส์-ปา

อักษรพาร์เทียน

อักษรพาร์เทียน พัฒนามาจากอักษรอราเมอิก ในช่วงพ.ศ. 343 ใช้ในยุคพาร์เทียและซัสซาเนียในจักรวรรดิเปอร์เซีย จารึกใหม่สุดพบเมื่อ พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรพาร์เทียน

อักษรกรีก

อักษรกรีก เป็นอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก ประมาณ 357 ปีก่อนพุทธศักราช (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสต์ศักราช) และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรกรีก

อักษรกลาโกลิติก

อักษรกลาโกลิติก (Glagolitic alphabet) ประดิษฐ์เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรกลาโกลิติก

อักษรกลิงคะ

อักษรกลิงคะ พัฒนามาจากอักษรพราหมี กลิงคะเป็นชื่อโบราณของรัฐโอริศา อักษรนี้ใช้เขียนภาษาโอริยาโบราณ ถูกแทนที่ด้วยอักษรโอริยา ที่พัฒนามาจากอักษรเบงกาลี เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรกลิงคะ

อักษรกลุ่มเกาะแคโรไลน์

อักษรกลุ่มเกาะแคโรไลน์ ใช้ในกลุ่มเกาะแคโรไลน์ในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรกลุ่มเกาะแคโรไลน์

อักษรกวิ

ตราประทับ "บูตวน คำว่าบูตวนเขียนด้วยอักษรกวิ (ด้านซ้ายเป็นตรา; ด้านขวาเป็นรอยประทับ) อักษรกวิ (กะ-วิ) เป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรในอินเดียใต้ ใช้ในบริเวณหมู่เกาะ เช่น ชวา สุมาตรา ทางภาคใต้ของไทยมีหลักฐานว่าเคยใช้อักษรนี้แต่ไม่แพร่หลายมากนัก ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้อักษรไทยและอักษรขอม อักษรกวิไม่มีบ่าอักษรเช่นเดียวกับอักษรมอญโบราณ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรกวิ

อักษรกะยา

อักษรกะยา หรือ อักษรคยาห์ ได้รับอิทธพลจากอักษรพม่าและอักษรไทย แท บู แพ (Htae Bu Phae) เป็นผู้ประดิษฐ์ในเดือนมีนาคม..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรกะยา

อักษรกันนาดา

ป้ายบอกทางเขียนด้วยอักษรกันนาดา อักษรกันนาดา หรือ อักษรกานนาดา ใช้เขียนภาษากันนาดาและภาษาอื่นๆเช่น ภาษาตูลู ในรัฐทางใต้ของอินเดีย ใกล้เคียงกับอักษรเตลุกุมาก พัฒนามาจากอักษรกทัมพะและอักษรจลุกยะที่พัฒนามาจากอักษรพราหมีของอินเดียโบราณในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 -7 อีกต่อหนึ่ง อักษรกาทัมพาและอักษรจาลุกยา พัฒนามาเป็นอักษรกันนาดาโบราณ และเป็นอักษรกันนาดากับอักษรเตลุกุในที่สุด อิทธิพลจากมิชชันนารีชาวตะวันตกทำให้อักษรทั้ง 2 ชนิดมีการปรับมาตรฐานใหม่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 -20 และใช้มาจนปัจจุบัน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรกันนาดา

อักษรกันนาดาโบราณ

อักษรกันนาดาโบราณ บางครั้งเรียก อักษรกันนาดา-เตลุกุ ความแตกต่างระหว่างอักษรกันนาดาโบราณ กับ อักษรกันนาดาและอักษรเตลูกู ในปัจจุบันเริ่มปรากฏเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13 และเปลี่ยนแปลงมาเรื่อยๆจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่ระบบการพิมพ์เริ่มเข้าสู่อินเดีย อย่างไรก็ตาม อักษรเตลูกูและอักษรกันนาดา ยังคล้ายคลึงกันมาก บางครั้งเรียกอักษรกันนาดาโบราณว่า อักษรกานารีสโบราณ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรกันนาดาโบราณ

อักษรกทัมพะ

อักษรกทัมพะ เป็นอักษรรุ่นแรกทางภาคใต้ของอินเดีย พัฒนามาจากอักษรพราหมี เริ่มมีรูปแบบต่างจากอักษรพราหมี ในราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรกทัมพะ

อักษรกเปลเล

อักษรกเปลเล (Kpelle syllabar)ประดิษบ์ขึ้นราว พ.ศ. 2473 โดยกบิลิ หัวหน้าเผ่าซาโนเยียในไลบีเรีย ใช้โดยผู้พูดภาษากเปลเลในไลบีเรียและกิเนีย ในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรกเปลเล

อักษรญี่ปุ่น

ก่อน..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรญี่ปุ่น

อักษรมอญ

อักษรมอญ เป็นตัวอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี ผ่านทางอักษรปัลลวะ และเป็นแม่แบบของอักษรอื่น เช่น อักษรพม่า อักษรไทย อักษรลาว อักษรล้านนา อักษรไทลื้อ และอักษรธรรมที่ใช้เขียนคัมภีร์ในอักษรธรรมล้านนาและอักษรธรรมลาว อักษรมอญ เป็นอักษรที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรพม่ามาก และสามารถนำไปใช้แทนอักษรพม่าได้ทุกตัว แต่อักษรพม่าไม่สามารถใช้แทนอักษรมอญได้ทุกตัว เพราะอักษรมอญมีตัวอักษรที่เพิ่มขึ้นมาจากอักษรพม่าปกต.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรมอญ

อักษรมองโกเลีย

อักษรมองโกเลีย (17px Mongγol bičig, ซีริลลิก: Монгол бичиг, Mongol bichig) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามองโกเลีย เมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรมองโกเลีย

อักษรมันดาอิก

อักษรมันดาอิก แสดงการถอดรูปเป็นอักษรโรมัน(Trans.) และการออกเสียง(Pronun.) อักษรมันดาอิก พัฒนามาจากอักษรอราเมอิก ปรากฏครั้งแรกราว พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรมันดาอิก

อักษรมายา

อักษรมายา (Mayan script) อารยธรรมมายาอยู่ในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรมายา

อักษรมาลายาลัม

อักษรมาลายาลัม หรือ อักษรมาลายะลัม ใช้เขียนภาษามาลายาลัม ปรากฏครั้งแรกในจารึก อายุราว พ.ศ. 1373 พัฒนามาจากอักษรวัตเตศุถุ ซึ่งมาจากอักษรพราหมีอีกต่อหนึ่ง เนื่องจากรูปแบบของอักษรมาลายาลัมไม่เหมาะกับการพิมพ์ จึงมีการปรับรูปแบบให้ง่ายเข้าในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรมาลายาลัม

อักษรมณีปุระ

อักษรมณีปุระ (Manipuri alphabet), อักษรเมไตมาเยก (Meetei Mayek) หรือ อักษรไมไตมาเยก (Meitei Mayek) เป็นอักษรที่ใช้ในรัฐมณีปุระ ความเป็นมาไม่แน่นอน เนื่องจากเอกสารทางประวัติศาสตร์ถูกเผาทำลายในสมัยกษัตริย์ปัมเฮยบา เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรมณีปุระ

อักษรม้ง

อักษรม้ง หรือ ปาเฮาห์ม้ง (Pahawh Hmong) ประดิษฐ์เมื่อ พ.ศ. 2502 โดย ชอง ลือ ยัง นักวรรณคดีม้งที่อยู่ทางภาคเหนือของลาวใกล้กับเวียดนาม ชางเชื่อว่าอักษรถูกส่งผ่านมายังเขาจากพระเจ้า เขาพยายามฟื้นฟูวัฒนธรรมม้ง แต่ถูกฝ่ายรัฐบาลลอบฆ่าเพราะหวั่นเกรงอิทธิพลของเขาที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เขาออกแบบอักษรสำหรับภาษาขมุด้วยแต่สาบสูญไป อักษรนี้เขียนสระก่อนพยัญชนะแต่ออกเสียงพยัญชนะก่อน มีเสียงวรรณยุกต์ 8 เสียง ชาวม้งที่ใช้อักษรนี้มีน้อย โดยมากเป็นกลุ่มชาตินิยมเพราะอักษรนี้ประดิษฐ์โดยชาวม้งเอง อักษรอื่นที่ใช้เขียนภาษาม้งได้แก่อักษรพอลลาร์ด แม้วในจีน ในประเทศไทยใช้อักษรไทย ในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรม้ง

อักษรยาวี

ตัวอย่างอักษรยาวี อักษรยาวี (حروف جاوي) เป็นอักษรอาหรับดัดแปลงสำหรับเขียนภาษามลายู ภาษาอาเจะฮ์ ภาษาบันจาร์ ภาษามีนังกาเบา ภาษาเตาซูก และภาษาอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ นักปราชญ์คนหนึ่งของปัตตานี ชื่อ ชัยค์ อะห์มัด อัลฟะฏอนี (Syeikh Ahmad al-Fathani) ได้วางกฎเกณฑ์การใช้อักษรยาวีเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนภาษามลายูในท้องถิ่นนี้ ในอดีต โลกมลายูใช้อักษรยาวีมาช้านาน ก่อนที่จะเปลี่ยนไปใช้อักษรรูมี ปัจจุบันชาวมุสลิมในประเทศไทยที่พูดภาษามลายู นิยมใช้อักษรยาวีบันทึกเรื่องราวในศาสนา และการสื่อสารต่าง ๆ ส่วนนักเรียนในโรงเรียนปอเนาะ หรือโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จะเริ่มเรียนอักษรยาวีสำหรับอ่านเขียนภาษาอาหรับ (ภาษาในคัมภีร์อัลกุรอาน) ตั้งแต่ยังเยาว์ อักษรยาวียังคงใช้กันอยู่บ้างในมาเลเซีย บรูไน และสุมาตรา คำว่า ยาวี นั้นมาจากคำว่า jawa หมายถึง ชวา นั่นเอง ทั้งนี้ก็เพราะชาวชวาได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในมะละกาและปัตตานี ได้นำอักษรอาหรับดัดแปลงมาเผยแพร่ และในที่สุดได้รับมาใช้ในชุมชนที่พูดภาษามลายูปัตตานีมาช้านาน เป็นที่น่าสังเกตว่า ยังมีความสับสนในการเรียกชื่ออักษรยาวี และภาษามลายูว่า "ภาษายาวี" แม้กระทั่งในหมู่ผู้พูดภาษามลายู ทว่าความจริงแล้วไม่มีภาษายาวี มีแต่อักษรยาวีกับภาษามลายู.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรยาวี

อักษรยูการิติก

อักษรยูการิติก อักษรยูการิติก ตั้งชื่อตามนครรัฐยูการิตซึ่งใช้อักษรนี้ คาดว่าน่าจะประดิษฐ์ขึ้นเมื่อราว 857 ปี ก่อนพุทธศักราช นครรัฐนี้ปรากฏขึ้นเมื่อ 857 ปี ก่อนพุทธศักราช ถูกทำลายลงเมื่อราว 637 – 627 ปี ก่อนพุทธศักราช การค้นพบนครรัฐนี้ เริ่มเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรยูการิติก

อักษรรัญชนา

อักษรรัญชนา หรือกูติลา หรือลันต์ซา เป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี เมื่อราว พ.ศ. 1600 และใช้มาจนถึงราว พ.ศ. 2500 ในอินเดียและเนปาล ชาวทิเบตเรียกอักษรนี้ว่าลันต์ซา ใช้เขียนภาษาสันสกฤตก่อนจะแปลเป็นภาษาทิเบต ชาวทิเบตเลิกใช้อักษรนี้เมื่อถูกจีนยึดครอง นอกจากนี้ มีการใช้อักษรนี้ในหมู่ชาวพุทธในจีน มองโกเลีย และญี่ปุ่น.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรรัญชนา

อักษรรูมี

อักษรรูมี (tulisan rumi) คืออักษรโรมันที่ใช้เขียนภาษามลายู ในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน และสิงคโปร์ คำว่า "รูมี" นั้นแผลงมาจากคำว่า "โรมัน" (Roman) หมายถึงอักษรโรมัน คำว่า "อักษรรูมี" ในภาษามลายูจะหมายรวมถึงอักษรโรมันที่ใช้เขียนภาษาอื่น ๆ เช่นภาษาตากาล็อกด้วย ส่วนในภาษาไทย "อักษรรูมี" หมายถึงอักษรโรมันที่ใช้เขียนภาษามลายูเท่านั้น การกำหนดใช้อักษรโรมันเพื่อถ่ายเสียงภาษามลายูนั้น มีระบบและกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เข้าใจง่าย และเขียนได้สะดวก โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่ไม่ใช่เจ้าของภาษา สำหรับผู้ที่ใช้ภาษามลายูเป็นภาษาแม่ อาจคุ้นเคยกับการเขียนอักษรยาวี ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรอาหรับ แต่ทั้งอักษรยาวีและอักษรรูมี ก็สามารถถ่ายทอดเสียงภาษามลายูได้เช่นเดียวกัน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรรูมี

อักษรรูน

รึกอักษรฟูทาร์กใหม่บน Vaksala Runestone อักษรรูน หรือ อักษรรูนิก ในภาษาพื้นเมืองเรียกฟูทาร์ก ซึ่งหมายถึงตัวอักษร ข้อความ หรือจารึก ในภาษาเยอรมันเก่าหมายถึง ประหลาดหรือความลับ อักษรนี้มีความเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์ ทฤษฎีเกี่ยวกับจุดกำเนิดของอักษรรูน ได้แก่ อักษรนี้ถูกออกแบบโดยอิสระ ไม่ขึ้นกับอักษรอื่น การเขียนเริ่มขึ้นในยุโรปใต้และถูกนำไปทางเหนือโดยเผ่าเยอรมัน เป็นแบบให้อักษรละตินและอักษรอีทรัสคัน จารึกอักษรรูนที่เก่าที่สุดพบราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรรูน

อักษรรูนส์ ฮังการี

อักษรรูนส์ ฮังการี พัฒนามาจากอักษรเตอร์กิกที่ใช้ในเอเชียกลาง อักษรนี้เลิกใช้เมื่อกษัตริย์อิสต์วานที่เป็นกษัตริย์ชาวคริสต์คนแรกของอิตาลีสั่งให้ทำลายงานเขียนที่ไม่เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์ให้หมด แต่อักษรรูนส์นี้ยังใช้มาจนถึง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรรูนส์ ฮังการี

อักษรละติน

อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรละติน

อักษรลัณฑา

อักษรลัณฑะ (Laṇḍā) พัฒนามาจากอักษรศารทา เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรลัณฑา

อักษรลาว

อักษรลาว เป็นชื่ออักษรที่รัฐบาลลาวรับรองให้ใช้เขียนภาษาลาว ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการในปัจจุบัน มีพัฒนาการมาจากอักษรลาวเดิม (หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ อักษรไทน้อย) ซึ่งเริ่มพัฒนาขึ้นในสมัยราชวงศ์ล้านช้าง เมื่อราว พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรลาว

อักษรลิมบู

อักษรลิมบู หรือ กิรัต หรือ ศรีชนคะ อาจเป็นต้นแบบของอักษรเลปชาโดยผ่านทางอักษรทิเบตอีกต่อหนึ่ง กษัตริย์ศรีชนคะประดิษฐ์อักษรกิรัต-ศรีชนคะ เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรลิมบู

อักษรลิเชีย

อักษรลิเชีย (Lycian) พัฒนามาจากอักษรกรีกรูปโค้ง มีอักษรที่ประดิษฐ์เองเพียงไม่กี่ตัวหรืออาจจะยืมมาจากอักษรอื่น พบจารึกอักษรนี้ราว 180 ชิ้นเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรลิเชีย

อักษรลิเดีย

อักษรลิเดีย (Lydian) พัฒนามาจากตัวเขียนของอักษรกรีก อักษรส่วนใหญ่มาจากอักษรกรีก มีสิบตัวที่ประดิษฐ์ใหม่สำหรับเสียงเฉพาะในภาษาลิเดีย การออกเสียงของอักษรบางตัวยังไม่ จารึกอักษรลิเดียราว 100 ชิ้น พบในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรลิเดีย

อักษรลูเวีย

อักษรลูเวีย (Luwian scripts)อักษรนี้เคยเข้าใจกันว่าเป็นไฮโรกลิฟฟิกของชาวฮิตไตต์ แต่จากการถอดความหมาย ปรากฏว่าไม่มีความสัมพันธ์กับภาษาฮิตไตต์ กลับเกี่ยงข้องกับภาษาลูเวีย ภาษาฮิตไตต์และภาษาลูเวียเป็น ภาษาตระกูลอินโด-ยุโรป กลุ่มย่อยอนาโตเลีย อักษรนี้ใช้ในนครรัฐอนาโตเลียใต้ และซีเรียเหนือเมื่อราว 457 – 157 ปีก่อนพุทธศักราช ระบบการเขียนนี้มีคำพ้องเสียงมาก เครื่องหมายสระเป็นเช่นเดียวกับอักษรสุเมเรียคือไม่ได้แสดงหน่วยเสียงที่เฉพาะ อาจมีสัญลักษณ์ถึง 6 ตัวแสดงเสียงเดียวกัน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรลูเวีย

อักษรลนตารา

อักษรลนตารา หรือ อักษรมากาซาร์ (Lontara or Makasar alphabet) พัฒนามาจากอักษรพราหมี คำว่าลนตาราเป็นภาษามลายูหมายถึงชื่อของใบปาล์มลนตราที่ใช้เขียนหนังสือในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงอินโดนีเซีย ตรงกับใบลานในภาษาไทยใช้เขียน ภาษาบูกิส ภาษามากาซาร์ และภาษามันดาร์ ภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในเกาะซูลาเวซี ปัจจุบันใช้เขียนเฉพาะภาษามากาซาร.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรลนตารา

อักษรวารังกสิติ

อักษรวารังกสิติ ประดิษฐ์ขึ้นโดยผู้นำชุมชน ลาโก โพทรา เพื่อใช้แทนระบบการเขียนที่คิดโดยมิชชันนารี โพทรากล่าวว่าเขาปรับปรุงมาจากอักษรที่เขาค้นพบในเอกสารทางไสยศาสตร์ โดยอักษรที่พบนั้น ประดิษฐ์โดย ธวัน ตูรี เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรวารังกสิติ

อักษรวินคา

อักษรยุโรปโบราณหรือวินคา (Old European / Vinča) อักษรนี้พบในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ จากวินคาใกล้กับกรุงเบลเกรด ไปจนถึงกรีซ บัลแกเรีย โรมาเนีย ฮังการีตะวันออก มอลโดวา ยูเครนใต้ และบริเวณที่เคยเป็นประเทศยูโกสลาเวีย มีอายุราว 6, 457 – 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่าอักษรวินคาเป็นอักษรรุ่นเก่าสุดในยุโรป โดยเก่ากว่าไฮโรกลิฟฟิกและอักษรสุเมเรียกว่าพันปี เนื่องจากจารึกเหล่านี้มีขนาดสั้น พบตามหลุมฝังศพ และไม่รู้ว่าจารึกด้วยภาษาใด จึงถอดความหมายไม่ได้.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรวินคา

อักษรศารทา

อักษรศารทา (शारदा Śāradā) พัฒนามาจากอักษรพราหมี จารึกอักษรศารทาเก่าสุดอายุราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรศารทา

อักษรสันถาลี

อักษรสันถาลี (Santali) หรือ โอล สีเมต โอล สิกิ ประดิษฐ์เมื่อ พ.ศ. 2463 โดย พันดิก ราคุนาท มูร์มู ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมวัฒนธรรมสันถาลี เพื่อให้ภาษาสันถาลีมีอักษรเป็นของตนเองเช่นเดียวกับภาษาสำคัญอื่น ๆ ในอินเดีย ก่อนหน้านี้ภาษาสันถาลีเขียนด้วยอักษรเบงกาลี อักษรโอริยา อักษรเทวนาครี หรืออักษรละติน อักษรนี้ได้รับการออกแบบเพื่อใช้กับภาษาสันถาลีที่ใช้พูดทางภาคใต้ของรัฐโอร.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรสันถาลี

อักษรสิทธัม

อักษรสิทธัม อะ ที่ชาวพุทธนิกายชินงอนในญี่ปุ่นนับถือว่าเป็นอักขระอันศักดิ์สิทธิ์ อักษรสิทธัม (सिद्धं สิทธํ หมายถึง ทำให้สำเร็จหรือสมบูรณ์แล้ว, Siddham script, སིད་དྷཾ།;; 梵字, บนจิ) เป็นชื่ออักษรแบบหนึ่งของอินเดียตอนเหนือ ที่นิยมใช้เขียนภาษาสันสกฤต มีที่มาจากอักษรพราหมี โดยผ่านการพัฒนาจากอักษรคุปตะ ซึ่งก่อให้เกิดเป็นอักษรเทวนาครีในเวลาต่อมา และเกิดเป็นอักษรอื่นๆ จำนวนมากในเอเชีย เช่น อักษรทิเบต เป็นต้น อักษรสิทธัมเผยแพร่พร้อมคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจากอินเดียเข้าไปสู่จีนและญี่ปุ่นตามลำดับ ตั้งแต..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรสิทธัม

อักษรสิงหล

อักษรสิงหล พัฒนามาจากอักษรพราหมี เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรสิงหล

อักษรสิเลฏินาครี

อักษรสิเลฏินาครี ใกล้เคียงกับอักษรไกถีของรัฐพิหาร จุดกำเนิดยังไม่แน่ชัด เริ่มพบครั้งแรกเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรสิเลฏินาครี

อักษรหนี่ว์ซู

อักษรนหวู่ซู (นหวู่ซู: 𛆁𛈬 หนังสือผู้หญิง) เป็นอักษรที่ประดิษฐ์และใช้โดยผู้หญิงในมณฑลเหอหนาน ประเทศจีน ผู้หญิงถูกกีดกันจากระบบการศึกษาที่เป็นทางการเป็นเวลาหลายศตวรรษ และได้พัฒนาอักษรนหวู่ซูเพิ่อใช้ระหว่างกัน อักษรนี้ใช้ปักลงบนผ้าหรือเขียนลงหนังสือและพัดกระดาษ ใช้ในการประดิษฐ์ซัน เชา ชุ หรือสารวันที่สามที่เป็นหนังสือขนาดเล็ก ห่อด้วยผ้าที่แม่จะมอบให้ลูกสาวในวันแต่งงานหรือเพื่อนผู้หญิงที่สนิทกัน ซัน เชา ชุ ประกอบด้วยบทเพลง ความหวังและความปวดร้าว ผู้หญิงจะได้หนังสือนี้ในวันที่สามหลังการแต่งงาน ผู้เชี่ยวชาญอักษรนหวู่ซูคนสุดท้าย ยัง ฮวนยี ตายเมื่อ 20 ก..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรหนี่ว์ซู

อักษรออร์คอน

รึกอักษรออร์คอนที่ Kyzyl อักษรออร์คอน เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาเตอร์กิกพบครั้งแรกในหุบเขาแม่น้ำออร์คอน ประเทศมองโกเลีย มีอายุราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรออร์คอน

อักษรอาระเบียใต้

รึกของอักษรชนิดนี้ในอาระเบียใต้ ในช่วง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ถึง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรอาระเบียใต้

อักษรอาร์มีเนีย

อักษรอาร์มีเนียใช้เขียนภาษาอาร์มีเนีย เมสรอพ แมชทอทส์ เป็นผู้ประดิษฐ์ในช่วง พ.ศ. 947 - 949 ต้นแบบของอักษรอาร์มีเนียมีหลายชนิดเช่น อักษรปะห์ลาวี อักษรซีเรียค และอักษรฟินิเชีย ในระหว่าง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรอาร์มีเนีย

อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรอาหรับ

อักษรอิตาลีโบราณ

อักษรอิตาลีโบราณ (Old Italic alphabets)พัฒนามาจากอักษรกรีกตะวันตกซึ่งเข้าสู่อิตาลีผ่านทางอาณานิคมของกรีซที่เกาะซิซิลี และตามชายฝั่งตะวันออกของอิตาลี ชาวอีทรัสคันปรับปรุงอักษรกรีกมาใช้เขียนภาษาอีทรัสคันเมื่อ ราว 57 ปีก่อนพุทธศักราช หรือก่อนหน้านั้น อักษรที่ใช้ในอิตาลีส่วนใหญ่มาจากอักษรอีทรัสคัน อักษรในกลุ่มนี้ได้แก.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรอิตาลีโบราณ

อักษรอินุกติตุต

อักษรอินุกติตุต พัฒนามาจากอักษรครี ซึ่งมาจากอักษรโอจิบเวอีกต่อหนึ่ง อักษรทั้ง 2 ชนิดประดิษฐ์โดย เจมส์ อีวาน มิชชันนารีชาวตะวันตก เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรอินุกติตุต

อักษรอึนโก

อักษรอึนโก (N'Ko alphabet) ประดิษฐ์โดย โซฮูเลไมต์ คานท์ แห่งกันกัน (Soulemayne Kante of Kankan) กีเนีย เมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรอึนโก

อักษรอีทรัสคัน

อักษรอีทรัสคัน (Etruscan alphabet)พัฒนามาจากอักษรกรีกตะวันตก จารึกที่พบครั้งแรกอายุราว 7 ปีก่อนพุทธศักราช ส่วนมากเขียนจากซ้ายไปขวา แนวนอน แต่บางหลักเขียนจากซ้ายไปขวาแล้วขวาไปซ้าย พบจารึกอักษรนี้ตามหลุมฝังศพ แจกัน รูปปั้น กระจก อัญมณี ชิ้นส่วนของจารึกเหล่านี้สามารถอ่านออกเสียงได้ แต่นักวิชาการยังไม่แน่ใจในความหมาย งานส่วนใหญ่ที่เหลืออยู่เป็นงานด้านศาสนา ประวัติศาสตร์และการละคร.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรอีทรัสคัน

อักษรอี๋

อักษรอี๋ (Yi Syllabary) ต้นกำเนิดของอักษรอี๋ไม่แน่นอน แต่อาจเป็นไปได้ว่าได้รับอิทธิพลจากอักษรจีน อักษรอี๋ที่เก่าที่สุดมีอายุราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรอี๋

อักษรอเวสตะ

อักษรอเวสตะ (Avestan alphabet)ประดิษฐ์เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรอเวสตะ

อักษรฮันกึล

"ฮันกึล" จะเห็นว่าใน 1 คำ ประกอบด้วยพยัญชนะและสระ ภาพส่วนหนึ่งของเอกสาร "ฮูมิน จองอึม" ฮันกึล (한글, Hangeul, Hangul) เป็นชื่อเรียกตัวอักษรของเกาหลีที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นใช้แทนตัวอักษรฮันจา ฮันจานั้นหมายถึงตัวอักษรจีนที่ใช้ในภาษาเกาหลีก่อนที่จะมีการประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้แทนโดยพระเจ้าเซจงมหาราช (세종대왕).

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรฮันกึล

อักษรฮานูโนโอ

อักษรฮานูโนโอ (Hanunó'o) หรืออักษรมังยัน ใช้ในฟิลิปปินส์เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรฮานูโนโอ

อักษรฮีบรู

อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรฮีบรู

อักษรจอร์เจีย

อักษรจอร์เจีย เป็นอักษรที่ใช้ในภาษาจอร์เจีย ปรากฏครั้งแรก ราวพ.ศ. 973 ในจารึกที่พบที่โบสถ์ ในปาเลสไตน์ ขณะนั้น เขียนด้วยอักษรที่รู้จักกันในชื่อ Asomtavruli (อักษรตัวใหญ่) หรือ Mrglovani (อักษรตัวกลม) ซึ่งใช้ต่อมาจนถึงราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรจอร์เจีย

อักษรจาม

อักษรจาม อักษรจาม พัฒนามาจากอักษรพราหมี จารึกอักษรจามพบครั้งแรกราว พ.ศ. 1543.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรจาม

อักษรจูร์เชน

อักษรจูร์เชน ประดิษฐ์โดย วันยัน ซิยิน เมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรจูร์เชน

อักษรจีน

รูปอักษรจีนของคำว่า "ฮั่นจื้อ"-คันจิ-ฮันจา-ฮั้นถื่อ (漢字 / 汉字 หมายถึง "อักษรจีน") สีแดงเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีน คืออักษรภาพ (logogram) ที่โดยหลัก ๆ ในปัจจุบันใช้สำหรับเขียนภาษาจีน (เรียกว่า ฮั่นจื้อ) และภาษาญี่ปุ่น (เรียกว่า คันจิ) นอกจากนี้ก็ยังใช้เขียนระบบเลขของภาษาอื่นด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดเช่นภาษาเกาหลี (เรียกว่า ฮันจา) และภาษาเวียดนาม (เรียกว่า จื๋อโนม) และยังคงหลงเหลืออยู่ในภาษาเหล่านี้ในบางระดับ อักษรจีนเป็นระบบการเขียนที่ใช้กันมาอย่างต่อเนื่องอันเก่าแก่ที่สุดในโลก นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่า การเขียนในจีนที่เก่าสุดเริ่มเมื่อ 957 ปีก่อนพุทธศักราช ไม่มีหลักฐานแสดงความเกี่ยวข้องกับการเขียนในบริเวณอื่น ตัวอย่างการเขียนภาษาจีนที่เก่าสุดมีอายุราว 957 – 407 ปี ก่อนพุทธศักราช (ราชวงศ์ซาง) ซึ่งเป็นจารึกบนกระดูกวัวและกระดองเต..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรจีน

อักษรธรรมลาว

ป้ายชื่อวัดศรีอุบลรัตนาราม ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี อักษรในป้ายนี้เขียนด้วยอักษรธรรมล้านช้าง'''รูปปริวรรตอักษรไทย:''' "วฺดสฺรีอุบนรตฺตนาราม"'''คำอ่าน:''' "วัดศรีอุบลรัตนาราม" อักษรธรรมลาว หรือ อักษรธรรมล้านช้าง เป็นอักษรที่มีวิวัฒนาการมาจากอักษรมอญ และอักษรธรรมล้านนา ใช้ในการเขียนคัมภีร์ทางพุทธศาสนาในสมัยโบราณ สามารถเขียนคำที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ได้ครบถ้วน และใช้ในการเขียนภาษาลาวได้ด้วย แต่ไม่นิยมใช้ อักษรชนิดนี้ในปัจจุบันไม่นิยมใช้เขียน และกำลังเสื่อมสูญไป จะพบตามคัมภีร์ใบลานเก่าๆ ที่เรียกว่าหนังสือผูก และยังมีใช้อยู่บ้างในองค์กรทางพุทธศาสนาของลาว ในประเทศไทยสามารถพบอักษรชนิดนี้ได้เช่นกัน หากแต่เรียกกันว่า "อักษรธรรมอีสาน" ตามชื่อท้องถิ่นที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรธรรมลาว

อักษรธรรมล้านนา

ป้ายชื่อวัดหม้อคำตวง ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เขียนด้วยอักษรธรรมล้านนา'''ถอดเป็นอักษรไทย:''' "วัดหฺมฺ้อฅำทฺวง์"'''คำอ่าน:''' "วัดหม้อคำตวง" อักษรธรรมล้านนา หรือ ตัวเมือง (210px อักขรธัมม์ล้านนา รฤ ตัวเมือง; ᦒᧄ, ธรรม, "คัมภีร์") หรือ อักษรยวน ภาษาไทยกลางในอดีตเรียกว่า ไทยเฉียง เป็นอักษรที่ใช้ในสามภาษา ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นเหนือ, ภาษาไทลื้อและภาษาเขิน นอกเหนือจากนี้ อักษรล้านนายังใช้กับลาวธรรม (หรือลาวเก่า) และภาษาถิ่นอื่นในคัมภีร์ใบลานพุทธและสมุดบันทึก อักษรนี้ยังเรียก อักษรธรรมหรืออักษรยวน ภาษาไทยถิ่นเหนือเป็นภาษาใกล้ชิดกับภาษาไทยและเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาเชียงแสน มีผู้พูดเกือบ 6,000,000 คนในภาคเหนือของประเทศไทย และหลายพันคนในประเทศลาว ซึ่งมีจำนวนน้อยที่รู้อักษรล้านนา อักษรนี้ยังใช้อยู่ในพระสงฆ์อายุมาก ภาษาไทยถิ่นเหนือมีหกวรรณยุกต์ ขณะที่ภาษาไทยมีห้าวรรณยุกต์ ทำให้การถอดเสียงเป็นอักษรไทยมีปัญหา มีความสนใจในอักษรล้านนาขึ้นมาอีกบ้างในหมู่คนหนุ่มสาว แต่ความยุ่งยากเพิ่มขึ้น คือ แบบภาษาพูดสมัยใหม่ ที่เรียก คำเมือง ออกเสียงต่างจากแบบเก.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรธรรมล้านนา

อักษรทมิฬ

'''ตัวอย่างของตลกาปปิยัมเขียนด้วยอักษรทมิฬ''' อักษรทมิฬ พัฒนามาจากอักษรพราหมีของอินเดียโบราณ จารึกอักษรทมิฬเก่าสุดมีอายุราว พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรทมิฬ

อักษรทานะ

อักษรทานะ (ތާނަ) ใช้เขียนภาษามัลดีฟส์ เริ่มใช้ในเอกสารราชการของสาธารณรัฐมัลดีฟส์ตั้งแต่ พ.ศ. 2246 โดยใช้แทนอักษรเดิมคืออักษรดิเวส อกุร.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรทานะ

อักษรทิฟินาค

อักษรทิฟินาค (ⵜⵉⴼⵉⵏⴰⵖ, Tifinaɣ Tifinagh) พัฒนามาจากอักษรเบอร์เบอร์โบราณ คำว่า “ทิฟินาค” หมายถึงอักษรฟินิเชีย หรืออาจมาจากภาษากรีก “pínaks” หมายถึง การเขียนป้าย อักษรนี้ใช้ในการเขียนบันทึกส่วนตัว จดหมายและการประดับตกแต่ง ส่วนเอกสารในระดับสาธารณะใช้อักษรอาหรับ นักเรียนระดับประถมศึกษาในโมร็อกโกต้องเรียนภาษาทามาไซต์ด้วยอักษรชนิดนี้ตั้งแต่ เดือนกันยายน..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรทิฟินาค

อักษรทิเบต

ระอักษรทิเบต ในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรทิเบต

อักษรขอม

ลาจารึกอักษรขอมโบราณ ที่เสาในปราสาทโลเลย ลัญจกรพระบรมราชโองการสำหรับพิมพ์หัวกระดาษประกาศกฎหมายต่างๆ แบบที่ใช้ในช่วงก่อน พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรขอม

อักษรขอมไทย

อักษรขอมไทย เป็นอักษรขอมที่นำมาใช้เขียนภาษาไทย ซึ่งมีอักขรวิธีต่างจากการใช้อักษรขอมเขียนภาษาบาลีและภาษาเขมร อักษรดังกล่าวนี้สามารถพบได้ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ตำรายา ตำราคาถาอาคม รูปยันต์ต่าง ๆ โดยมากปรากฏในแถบภาคกลาง และอาจพบได้บ้างในภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไท.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรขอมไทย

อักษรขโรษฐี

อักษรขโรษฐี (Kharoṣṭhī alphabet) ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อราว 2,487 ปีก่อนพุทธศักราช อาจจะมาจากอักษรอราเมอิก ใช้กันอย่างกว้างขวางทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย และเอเชียกลาง สมัยเดียวกับอักษรพราหมี อักษรนี้ใช้มาจนถึงราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรขโรษฐี

อักษรดิเวส อกุรุ

อักษรดิเวส อกุรุ หรือที่รู้จักในชื่อ มัลดีฟส์ หกุระ เคยใช้เขียนภาษามัลดีฟส์ในประเทศมัลดีฟส์ คาดว่าพัฒนามาจากอักษรสิงหลในราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 ใช้เขียนจารึกบนหลุมฝังศพหรือเอกสารทางประวัติศาสตร์ จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16-18 จึงเปลี่ยนมาใช้อักษรทานะ แต่เกาะทางใต้ของมัลดีฟส์ยังใช้อักษรนี้ต่อมาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ปัจจุบันใช้ในวงการวิชาการเท่านั้น.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรดิเวส อกุรุ

อักษรครันถะ

อักษรครันถะ (เทวนาครี ग्रन्थ หมายถึง "หนังสือ" หรือ "จารึก") หรือ อักษรคฤนถ์ หรือ อักษรคฤณถ์ พัฒนามาจากอักษรพราหมี เริ่มปรากฏเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรครันถะ

อักษรครี

รึกภาษาครีเขียนด้วยอักษรครีจารึกนี้ถอดเป็นอักษรโรมันได้ว่า ''Êwako oma asiniwi mênikan kiminawak ininiwak manitopa kaayacik. Êwakwanik oki kanocihtacik asiniwiatoskiininiw kakiminihcik omêniw.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรครี

อักษรคอปติก

ตัวอักษรคอปติกเขียนในแบบโบไฮริก อักษรคอปติก (Coptic alphabet) เป็นรูปแบบหนึ่งของอักษรกรีก โดยเพิ่มอักษรพิเศษสำหรับเสียงที่ไม่มีในภาษากรีก รูปที่เพิ่มนำมาจากอักษรอียิปต์ที่ใช้กันอยู่ทั่วไป เริ่มปรากฏเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรคอปติก

อักษรคาร์เรีย

ตัวอย่างอักษรคาร์เรีย อักษรคาร์เรีย (Carrier syllabary หรือ Déné Syllabics) ประดิษฐ์ขึ้นโดย เอเดรียน-กาเบรียล มอร์ส เมื่อ พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรคาร์เรีย

อักษรคาเรีย

อักษรคาเรีย (Carian) พบจารึกราว 100 ชิ้น ในเขตของชาวคาเรียในอียิปต์ พบอักษรนี้บนแผ่นดินเหนียว เหรียญ และจารึกตามอนุสาวรีย์ด้วย อาจจะมาจากอักษรฟินิเชีย การถอดความอักษรคาเรียเริ่มเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรคาเรีย

อักษรคุชราต

อักษรคุชราต พัฒนามาจากอักษรเทวนาครี เพื่อใช้เขียนภาษาคุชราต เอกสารเก่าสุดพบเมื่อ พ.ศ. 2135 และเอกสารพิมพ์เก่าสุด พบเมื่อ พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรคุชราต

อักษรคุรมุขี

อักษรคุรมุขี หรือ อักษรกูร์มูคี หรือ อักษรเกอร์มุกห์ เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาปัญจาบ ประดิษฐ์โดยคุรุนานักเทพ คุรุคนแรกของศาสนาซิกข์ และเผยแพร่โดยคุรุอังกัตเทพ คุรุคนที่ 2 เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรคุรมุขี

อักษรคุปตะ

อักษรคุปตะ พัฒนามาจากอักษรพราหมี จัดอยู่ในกลุ่มอินเดียเหนือ พบในสมัยราชวงศ์คุปตะ ในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรคุปตะ

อักษรคีตัน

วคีตันมีอำนาจปกครองแมนจูเรียในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรคีตัน

อักษรตักบันวา

อักษรตักบันวา ใช้ในฟิลิปปินส์เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรตักบันวา

อักษรตันกัต

อักษรตันกัต หมายถึง"โคลน" มาจากส่วนของคำว่า "น้ำ" และทั้งหมดของคำว่า "ดิน" อักษรตันกัต (Tangut script) มีพื้นฐานจากอักษรจีนและอักษรคีตัน ใชในการแปลคัมภีร์ทางพุทธศาสนาจากภาษาสันสกฤตและภาษาอื่น ประดิษฐ์ขึนเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรตันกัต

อักษรซอกเดีย

อักษรซอกเดีย (Sogdian)พัฒนามาจากอักษรอราเมอิก เริ่มใช้ครั้งแรกราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรซอกเดีย

อักษรซัลเตอร์

อักษรซัลเตอร์ พัฒนามาจากอักษรเปอร์เซียกลาง ปกติใช้เขียนบนกระดาษ เป็นที่รู้จักจากเอกสารลายมือ บทสวดของดาวิด (หรือเดวิด?)ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรซัลเตอร์

อักษรซาบาเอียน

อักษรซาบาเอียน มีจารึกเก่าสุดมีอายุราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรซาบาเอียน

อักษรซามาริทัน

ตัวอย่างเอกสารเขียนด้วยอักษรซามาริทัน อักษรซามาริทัน พัฒนามาจากอักษรฮีบรูโบราณโดยชาวซามาริทัน ซึ่งตามคัมภีร์ไบเบิล อพยพจากเมโสโปเตเมียมาสู่ปาเลสไตน์ในช่วง 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช และพัฒนาวัฒนธรรมและศาสนายิวขึ้น อักษรนี้ยังคงใช้โดยชาวซามาริทันกลุ่มเล็กๆ ในเมืองนาบลัสและในจตุรัสของโฮโลน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรซามาริทัน

อักษรซีริลลิก

ประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิก อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก (Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรซีริลลิก

อักษรซีรีแอก

หนังสือเขียนด้วยอักษรซีรีแอก อักษรซีรีแอก (Syriac script) เป็นอักษรที่ใช้ในวรรณคดีทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรีย ราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรซีรีแอก

อักษรนาบาทาเอียน

อักษรนาบาทาเอียน หรืออักษรนาบาเทียน พัฒนามาจากอักษรอราเมอิก ในราว พ.ศ. 643 จารึกหินอักษรนาบาทาเอียน พบในเปตรา เมืองหลวงของราชอาณาจักรนาบาทาเอียน (พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรนาบาทาเอียน

อักษรนดยุกา

อักษรนดยุกา (Ndjuká syllabary)ประดิษฐ์โดย อฟากา อตูมิสิ แห่งสุรินาเมตะวันออก ใน พ.ศ. 2453 เขากล่าวว่าเขาได้รับแรงดลใจจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในการคิดอักษรนี้ รูปร่างอักษรมีพื้นฐานมาจากอักษรและตัวเลขของอักษรอาหรับและอักษรละติน และจากสัญลักษณ์รูปภาพที่ใช้อยู่ทั่วไปในหมู่ชาวแอฟริก.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรนดยุกา

อักษรน่าซี

อักษรน่าซีคืออักษรที่ใช้เขียนภาษาน่าซีมีสามแบบได้แก.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรน่าซี

อักษรแบล็กฟุต

อักษรแบล็กฟุต (Blackfoot) หรือซิกซิกา อักษรนี้ประดิษฐ์โดยจอห์น วิลเลียม ทิมส์ (2404 – 2488) มิชชันนารีนิกายแองกลิคันจากอังกฤษ ผู้อาศัยอยู่กับชาวแบล็กฟุตในอัลเบอร์ตานานถึง 12 ปี (2426 – 2438) โดยอาศัยอักษรโอจิบเวเป็นพื้นฐานเขาใช้อักษรนี้สร้างพจนานุกรมภาษาแบล็กฟุต และแปลคัมภีร์ไบเบิล ปัจจุบันนิยมใช้อักษรโรมันมากกว.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรแบล็กฟุต

อักษรแมนจู

อักษรแมนจู (จีนกลาง: 满文; พินอิน: mǎn wén หม่าน เหวิน, Manchu alphabet) เริ่มปรากฏเมื่อ พ.ศ. 2142 ประดิษฐ์โดยผู้นำชาวแมนจู นูร์ฮาจี ผู้สถาปนารัฐแมนจู พัฒนามาจากอักษรมองโกเลียโบราณ มีการปรับปรุงเล็กน้อยเมื่อ พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรแมนจู

อักษรแอกแคด

อักษรแอกแคด (Akkadian scripts) หลังจากชาวซูเมอร์ประดิษฐ์อักษรรูปลิ่มขึ้นใช้ อักษรแบบนี้ได้แพร่หลายไปยังกลุ่มชนใกล้เคียงเมื่อประมาณ 1,957 ปีก่อนพุทธศักราช ชาวแอกแคดที่พูดภาษาตระกูลเซมิติก และอยู่ทางเหนือของซูเมอร์ได้นำอักษรรูปลิ่มไปใช้เขียนภาษาของตน การที่ชาวแอกแคดเข้ามามีอำนาจเหนือซูเมอร์เมื่อราว 1,757 ปี ก่อนพุทธศักราชและตั้งราชวงศ์แอกแคดน กำหนดให้ภาษาแอกแคดเป็นภาษาทางการในเมโสโปเตเมีย ทำให้ภาษาซูเมอร์ค่อย ๆ ลดความสำคัญลงจนกลายเป็นภาษาตาย ส่วนภาษาแอกแคดยังใช้ต่อมาอีก 2,000 ปี โดยพัฒนามาอยู่ในรูปแบบที่เรียกภาษาบาบิโลเนียและภาษาอัสซีเรี.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรแอกแคด

อักษรแอราเมอิก

อักษรแอราเมอิก (Aramaic alphabet) พัฒนาขึ้นในช่วง 1,000 - 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยเข้ามาแทนที่อักษรรูปลิ่มของอัสซีเรียซึ่งเป็นระบบการเขียนหลักของจักรวรรดิอัสซีเรีย อักษรนี้เป็นต้นกำแนิดของอักษรตระกูลเซมิติกอื่น ๆ และอาจเป็นต้นกำเนิดของอักษรขโรษฐี ที่ใช้ในแถบเอเชียกลางแถบแคว้นคันธาระและพื้นที่ใกล้เคียง ในช่วง 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช อักษรแอราเมอิกยุคแรกเริ่มถูกแทนที่ด้วยอักษรฮีบรูทรงเหลี่ยม ที่รู้จักต่อมาในชื่ออักษรแอราเมอิก.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรแอราเมอิก

อักษรโมฑี

ตัวอย่างอักษรโมฑี อักษรโมฑี (Moḍī) ประดิษฐ์เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรโมฑี

อักษรโลมา

อักษรโลมา ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรโลมา

อักษรโสรัง สมเป็ง

อักษรโสรัง สมเป็ง เดิมภาษาโสราเขียนด้วยอักษรละติน อักษรเตลุกุ หรือ อักษรโอริยา ต่อมาผู้พูดภาษาโสราได้ประดิษฐ์อักษรของตนขึ้น โดยมาเลีย โกแมนโก ผู้นำชุมชนที่ไม่ใช่ชาวคริสต์ สนับสนุนให้บุตรบุญธรรมของเขาคือ มันเกย โกแมนโก คิดอักษรนี้ขึ้นมา นำออกเผยแพร่ครั้งแรก เมื่อ 18 มิถุนายน..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรโสรัง สมเป็ง

อักษรโอริยา

อักษรโอริยา (Oriya alphabet) พัฒนามาจากอักษรกลิงคะที่มาจากอักษรพราหมีอีกทอดหนึ่ง พบจารึกภาษาโอริยาครั้งแรกเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรโอริยา

อักษรโอจิบเว

รึกภาษาครีเขียนด้วยอักษรครีที่พัฒนามาจากอักษรโอจิบเว อักษรโอจิบเวคืออักษรที่ใช้เขียนภาษาโอจิบเวซึ่งมีหลายระบบ มีทั้งระบบอักษรพยางค์และการเขียนด้วยอักษรโรมันระบบต่าง.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรโอจิบเว

อักษรโอคัม

อักษรโอคัมหรืออักษรออกฮัม ตั้งชื่อตามเทพเจ้าของไอริช จารึกอักษรออกฮัมราว 500 ชิ้น พบในไอร์แลนด์ สกอตแลนด์ เวลส์ และอังกฤษ อายุอยู่ในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรโอคัม

อักษรโตคาเรียน

right อักษรโตคาเรียน เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาโตคาเรียน ซึ่งเนภาษาในตระกูลอินโด-ยูโรเปียน หลักฐานลายลักษณ์อักษรที่หลงเหลืออยู่ส่วนมากมีความเก่าแก่ตั้งแต่สมัยศตวรรษที่ 8 ซึ่งจดจารไว้บนวัสดุหลายประเภท ได้แก่ ใบลาน แผ่นไม้ และกระดาษจีน โดยหลักฐานดังกล่าวนั้นถูกค้นพบในพื้นที่ที่มีความชื้นต่ำในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ อักษรโตคาเรียนพัฒนามาจากอักษรพราหมี ซึ่งเป็นอักษรสระประกอ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรโตคาเรียน

อักษรโซมาลี

อักษรโซมาลี (Somali or af Soomaali) หรือออสมันยา ประดิษฐ์ขึ้นระหว่าง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรโซมาลี

อักษรโซยอมโบ

ตัวอย่างอักษรโซยอมโบแต่ละพยางค์ อักษรโซยอมโบ ประดิษฐ์โดย บอกโด ซานาบาซาร์ พระภิกษุชาวมองโกเลียเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรโซยอมโบ

อักษรไบบายิน

อักษรไบบายิน (Baybayin alphabet) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาตากาล็อกและภาษาอีโลกาโน ได้ต้นแบบมาจากอักษรกวิ คาดว่าเริ่มใช้เมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไบบายิน

อักษรไลเนียร์บี

อักษรไลเนียร์บีเป็นอักษรโบราณชนิดหนึ่งที่พบในประเทศกรีซและบริเวณใกล้เคียง มมีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรไลเนียร์เอ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไลเนียร์บี

อักษรไว

ใน..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไว

อักษรไอบีเรีย

อักษรไอบีเรีย จารึกของอักษรนี้พบในคาบสมุทรไอบีเรีย ฝรั่งเศสตอนใต้ และเกาะบาเลียริก อายุเก่าสุดเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไอบีเรีย

อักษรไอริช

อักษรไอริชหรืออักษรแกลิก เริ่มพบในยุคกลางโดยพัฒนามาจากอักษรละติน แต่เดิม ภาษาไอริชเขียนด้วยอักษรโอคัม เมื่อศาสนาคริสต์เข้ามายังไอร์แลนด์จึงเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรละตินแล้วจึงเกิดอักษรไอริชตามมา ปัจจุบันยังใช้สำหรับการเขียนป้ายและตกแต่งในไอร์แลนด์ ไฟล์:Uncial alphabet.png อไริช.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไอริช

อักษรไทย

อักษรไทย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทย และภาษากลุ่มน้อยอื่น ๆ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค กับมีเครื่องหมายวรรคตอนจำนวนหนึ่ง ภาษาไทยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง แต่นิยมใช้เลขอารบิกเป็นส่วนใหญ่ในชีวิตประจำวัน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไทย

อักษรไทลื้อ

อักษรไทลื้อ เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทลื้อ มี 2 แ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไทลื้อ

อักษรไทอาหม

อักษรไทอาหม (Ahom alphabet) ได้รับอิทธิพลจากอักษรพราหมี ใช้เขียนภาษาไทอาหมที่พูดโดยชาวไทอาหม ในเขตลุ่มน้ำพรหมบุตร รัฐอัสสัม ในช่วง..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไทอาหม

อักษรไทใหญ่

อักษรไทใหญ่ (ไทใหญ่ː လိၵ်ႉတူဝ်တႆး ลิกตัวไท, สัทอักษร: /lḭk.tǒ.táj/) พัฒนามาจากอักษรไทใต้คงเก่า ซึ่งเป็นอักษรที่ใช่ในหมู่ชาวไทใหญ่ทั้งหมด โดยยังคงมีลักษณะกลม เนื่องจากไม่ได้เปลี่ยนไปเขียนด้วยพู่กันเหมือนอักษรไทใต้คง เมื่อรัฐฉานตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไทใหญ่

อักษรไทใต้คง

อักษรไทใต้คง (Dehong Dai, Tai Dehong), อักษรไทเหนือ (Tai Nüa) หรือ อักษรไตเหลอ (Tai Le) พัฒนามาจากอักษรไทโบราณ ซึ่งมาจากอักษรที่เรียกไป่ยี่ มีกำเนิดตั้งแต่เมื่อใดไม่มีหลักฐานแน่ชัด โดยหลักฐานจากอาหมบุราณจีระบุว่ามีมาก่อน..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไทใต้คง

อักษรไทเวียด

อักษรไทเวียด (Tai Viet) ต้นกำเนิดยังไม่ทราบแน่ชัด พยัญชนะแบ่งเป็น 2 ชุด คือเสียงสูงและเสียงต่ำ มีเครื่องหมายวรรณยุกต์ 2 ตัว ใช้กำหนดเสียง 6 เสียง รูปพยัญชนะที่เป็นตัวสะกด แม่เกอว เกย กม กน และ กง ใช้รูปอักษรเสียงต่ำ ส่วนแม่ กกใช้รูปอักษรเสียงสูง ไม่มีรูปแบบการเรียงพยัญชนะที่แน่นอน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไทเวียด

อักษรไซปรัส

อักษรไซปรัส คาดว่าพัฒนามาจากอักษรไลเนียร์เอ ซึ่งยังไม่ทราบต้นกำเนิดที่แน่นอน ใช้ในช่วง 257 ปีก่อนพุทธศักราช -..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรไซปรัส

อักษรเบยทากุกจู

อักษรเบยทา กุกจู (Beitha Kukju script) ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเบยทากุกจู

อักษรเชอโรกี

อักษรเชอโรกี ประดิษฐ์โดยซีโควยาแห่งเผ่าเชอโรกี เมื่อ พ.ศ. 2362 เขาอ้างว่าเขาเป็นผู้รอดชีวิตคนสุดท้ายของตระกูลและอักษรนี้ประดิษฐ์โดยคนในตระกูลมานานแล้ว พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเชอโรกี

อักษรเบงกาลี

อักษรเบงกาลี หรือ อักษรเบงกอล ใช้เขียนภาษาเบงกาลีและภาษาอัสสัม พัฒนามาจากอักษรพราหมีและจัดว่าใกล้เคียงกับอักษรเทวนาครี ปรากฏในคริสต์ศตวรรษที่ 11 รูปแบบที่ใช้ในการพิมพ์ เริ่มใช้ใน พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเบงกาลี

อักษรเมรอยติก

อักษรเมรอยติก พัฒนามาจากอักษรอียิปต์โบราณเพื่อใช้เขียนเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเมรอยติก

อักษรเมนเด

อักษรเมนเด (Mende syllabary) หรือ อักษรกิกากุ (Kikakui) ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเมนเด

อักษรเรชัง

อักษรเรชัง (Rejang, บางครั้งอาจสะกดเป็น Redjang) พัฒนามาจากอักษรพราหมี โดยผ่านทางอักษรปัลวะ หรืออักษรกวิ นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า มีความต่อเนื่องระหว่าง อักษรเรชัง ไฮโรกลิฟฟิคของอียิปต์ และอักษรตระกูลเซมิติก เช่น อักษรฮีบรู.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเรชัง

อักษรเลปชา

319px อักษรเลปชา (Lepcha or Róng script) ประดิษฐ์โดยทิดูง เมน ซาลอง ในราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเลปชา

อักษรเวเนติก

อักษรเวเนติกเป็นอักษรของชาวเวเนติกที่อาศัยอยู่ทางชายฝั่งตอนเหนือของทะเลเอเดรียนในยุคโลหะ ราว 457 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงยุคจักรวรรดิโรมัน ภาษาละตินเรียกว่า “เวเนติ” ส่วนภาษากรีกเรียก “อีนิตอย” พบจารึกของชนกลุ่มนี้มากกว่า 200 ชิ้น อักษรนี้ใกล้เคียงกับอักษรอีทรัสคัน คาดว่าน่าจะมาจากอักษรกรีกและเป็นต้นแบบของอักษรฟูทาร์ก อักษรบางตัวมีหลายรูปแบบเพราะมาจากบริเวณที่ต่างกัน เสียง /f/ ใช้อักษรคู่ hvหรือ vh ซึ่งพบในอักษรอีทรัสคันและอักษรละตินรุ่นแรกๆด้วย เขียนจากขวาไปซ้ายแต่ก็เขียนจากซ้ายไปขวาได้เช่นเดียวกันโดยอักษรที่ใช้ในแต่ละทิศทางจะเป็นรูปในกระจกเงาซึ่งกันและกัน ในบางกรณี พบการเขียนในแนวสลับ ชาวเวเนติกถูกรวมเข้ากับจักรวรรดิโรมันและเลิกใช้อักษรเวเนติไปเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเวเนติก

อักษรเสาราษฏร์

อักษรเสาราษฏร์ (Saurashtra) พัฒนาขึ้นเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเสาราษฏร์

อักษรเอลบ์ซาน

อักษรเอลบ์ซาน หรือ อักษรเอลบาซาน (Elbasan script) ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเอลบ์ซาน

อักษรเอธิโอเปีย

อักษรเอธิโอเปีย อักษรเอธิโอเปีย หรือ อักษรกีเอส (Ge'ez) พัฒนามาจากอักษรซาบาเอียน จารึกอักษรนี้ พบครั้งแรกเมื่อ..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเอธิโอเปีย

อักษรเทวนาครี

อักษรเทวนาครี (देवनागरी อ่านว่า เท-วะ-นา-คะ-รี; Devanagari) พัฒนามาจากอักษรพราหมีในราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 ใช้เขียนภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต ภาษามราฐี ภาษาบาลี ภาษาสินธี ภาษาเนปาล และภาษาอื่นๆในประเทศอินเดีย อักษรเทวนาครีมีลักษณะการเขียนจากซ้ายไปขวา มีเส้นเล็กๆ อยู่เหนือตัวอักษร หากเขียนต่อกัน จะเป็นเส้นยาวคล้ายเส้นบรรทัด มีการแยกพยัญชนะ สระ และเครื่องหมายต่าง.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเทวนาครี

อักษรเขมร

ตัวอย่างอักษรเขมรสองแบบ อักษรเขมร (អក្សរខ្មែរ)​ ​คือรูปอักษรที่ดัดแปลงมาจากอักษรหลังปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1200-1400) ซึ่งเป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรปัลลวะ (ราว พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเขมร

อักษรเตลูกู

การแพร่กระจายของอักษรจากอินเดียรวมทั้ง'''อักษรเตลูกู''' อักษรเตลูกู ใช้เขียนภาษาเตลูกู ในรัฐทางใต้ของอินเดีย พัฒนามาจากอักษรพราหมีของอินเดียโบราณ ใกล้เคียงกับอักษรกันนาดามาก จารึกเก่าสุดพบในคริสต์ศตวรรษที่ 6 และกวีนิพนธ์ภาษาเตลูกู เริ่มปรากฏใน คริสต์ศตวรรษที่ 11 รูปแบบโบราณของอักษรเตลูกู ต่างจากที่ใช้ในทุกวันนี้และใช้มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก่อนจะมีการปรับปรุงใหม่และใช้มาจนปัจจุบัน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเตลูกู

อักษรเซลติเบเรียน

อักษรเซลติเบเรียน พัฒนามาจากอักษรไอบีเรีย พบจารึกอักษรนี้มีอายุราว 57 ปีก่อนพุทธศักราช -..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเซลติเบเรียน

อักษรเปอร์มิกโบราณ

อักษรเปอร์มิกโบราณ (Old Permic alphabet) ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อราว..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเปอร์มิกโบราณ

อักษรเปอร์เซียกลาง

อักษรเปอร์เซียกลาง หรืออักษรปะห์ลาวี พัฒนามาจากอักษรอราเมอิก และเป็นระบบการเขียนหลักของจักรวรรดิซัสซาเนียน (พ.ศ.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและอักษรเปอร์เซียกลาง

ฮิระงะนะ

รางานะ คือ อักษรในภาษาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในสามของอักษรญี่ปุ่นที่ใช้ในปัจจุบันควบคู่กับคาตากานะและคันจิ ฮิรางานะและคาตากานะเป็นระบบคานะที่ตัวอักษรหนึ่งตัวแสดงถึงหนึ่งเสียง ในแต่ละ "คานะ" สามารถเป็นได้ทั้งในรูปสระและตัวสะก.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและฮิระงะนะ

จื๋อโนม

ื๋อโนม (chữ Nôm, 字喃/𡨸喃/𡦂喃) เป็นระบบอักษรที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว จื๋อโนมประกอบด้วยอักษรจีน ("ฮั่นจื้อ" เรียกเป็นภาษาเวียดนามว่า "ฮ้านตึ" - Hán tự) และอักขระที่ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบอักษรจีน ตัวอย่างที่เก่าที่สุดอยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 มักนิยมใช้เฉพาะในหมู่ชนชั้นสูงของเวียดนาม โดยส่วนใหญ่ใช้บันทึกวรรณคดีเวียดนาม (งานเขียนที่เป็นทางการส่วนใหญ่จะใช้ภาษาจีนแบบแผน ไม่ใช่ภาษาเวียดนาม) ปัจจุบันถือว่าถูกแทนที่โดยสมบูรณ์ด้วยจื๋อโกว๊กหงือซึ่งดัดแปลงจากอักษรละติน.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและจื๋อโนม

คะตะกะนะ

ตากานะ เป็นตัวอักษรสำหรับแทนเสียงในภาษาญี่ปุ่นประเภทหนึ่ง คาตากานะได้รับการนำไปเขียนภาษาไอนุซึ่งเป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยอยู่ทางภาคเหนือของเกาะฮกไก.

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและคะตะกะนะ

ไฮเออโรกลีฟอียิปต์

ออโรกลีฟอียิปต์ (Egyptian hieroglyphs) เป็นระบบการเขียนที่ชาวอียิปต์โบราณใช้อย่างเป็นทางการ ประกอบด้วยอักษร (alphabet) และสัญรูป (logograph) อักขระในระบบไฮเออโรกลีฟอียิปต์นี้ยังสัมพันธ์กับอักขระอียิปต์อีก 2 ชุด คือ อักขระไฮเออแรติก (hieratic) และอักขระดีมอติก (demotic) ไฮเออโรกลีฟอียิปต์แบบหวัดนั้นมักใช้เขียนวรรณกรรมทางศาสนาลงบนแผ่นไม้และแผ่นพาไพรัส ไฮเออโรกลีฟอียิปต์ยุคแรกย้อนหลังไปได้ไกลถึง 3,300 ปีก่อน..

ดู รายชื่ออักษรในภาษาต่าง ๆ แบ่งตามชนิดอักษรและไฮเออโรกลีฟอียิปต์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่ออักษรในภาษาต่างๆ แบ่งตามชนิดอักษรรายชื่ออักษรในภาษาต่างๆแบ่งตามชนิดอักษร

อักษรสันถาลีอักษรสิทธัมอักษรสิงหลอักษรสิเลฏินาครีอักษรหนี่ว์ซูอักษรออร์คอนอักษรอาระเบียใต้อักษรอาร์มีเนียอักษรอาหรับอักษรอิตาลีโบราณอักษรอินุกติตุตอักษรอึนโกอักษรอีทรัสคันอักษรอี๋อักษรอเวสตะอักษรฮันกึลอักษรฮานูโนโออักษรฮีบรูอักษรจอร์เจียอักษรจามอักษรจูร์เชนอักษรจีนอักษรธรรมลาวอักษรธรรมล้านนาอักษรทมิฬอักษรทานะอักษรทิฟินาคอักษรทิเบตอักษรขอมอักษรขอมไทยอักษรขโรษฐีอักษรดิเวส อกุรุอักษรครันถะอักษรครีอักษรคอปติกอักษรคาร์เรียอักษรคาเรียอักษรคุชราตอักษรคุรมุขีอักษรคุปตะอักษรคีตันอักษรตักบันวาอักษรตันกัตอักษรซอกเดียอักษรซัลเตอร์อักษรซาบาเอียนอักษรซามาริทันอักษรซีริลลิกอักษรซีรีแอกอักษรนาบาทาเอียนอักษรนดยุกาอักษรน่าซีอักษรแบล็กฟุตอักษรแมนจูอักษรแอกแคดอักษรแอราเมอิกอักษรโมฑีอักษรโลมาอักษรโสรัง สมเป็งอักษรโอริยาอักษรโอจิบเวอักษรโอคัมอักษรโตคาเรียนอักษรโซมาลีอักษรโซยอมโบอักษรไบบายินอักษรไลเนียร์บีอักษรไวอักษรไอบีเรียอักษรไอริชอักษรไทยอักษรไทลื้ออักษรไทอาหมอักษรไทใหญ่อักษรไทใต้คงอักษรไทเวียดอักษรไซปรัสอักษรเบยทากุกจูอักษรเชอโรกีอักษรเบงกาลีอักษรเมรอยติกอักษรเมนเดอักษรเรชังอักษรเลปชาอักษรเวเนติกอักษรเสาราษฏร์อักษรเอลบ์ซานอักษรเอธิโอเปียอักษรเทวนาครีอักษรเขมรอักษรเตลูกูอักษรเซลติเบเรียนอักษรเปอร์มิกโบราณอักษรเปอร์เซียกลางฮิระงะนะจื๋อโนมคะตะกะนะไฮเออโรกลีฟอียิปต์