โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อักษรฮีบรู

ดัชนี อักษรฮีบรู

อรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เขียนโดย Elijah Levita อักษรฮีบรูเป็นอักษรตระกูลเซมิติกไร้สระชนิดหนึ่ง ใช้ในการเขียนงานในภาษาฮีบรู ในยุคแรกๆอักษรฮีบรูโบราณพัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรูรุ่นใหม่พัฒนามาจากอักษรอราเมอิกรุ่นแรกๆ จารึกภาษาฮีบรูพบครั้งแรกเมื่อ 557 ปีก่อนพุทธศักราช อักษรนี้เขียนจากขวาไปซ้ายในแนวนอน ตัวอักษรบางตัว เช่น กาฟ, เมม, นุน, ฟี และซาดดี มีรูปท้ายคำ ซึ่งจะพบในตำแหน่งสุดท้ายของคำเท่านั้น ไม่มีตัวเลข ใช้เลขอารบิกแทน สระเสียงยาวกำหนดโดยตัว อะเลฟ, วาว และโยด/ยุด ไม่แสดงสระเสียงสั้นยกเว้นในไบเบิล กวีนิพนธ์และหนังสือสำหรับเด็กและชาวต่างชาต.

121 ความสัมพันธ์: Aบาอ์บีตาชีนฎ๊อดกิเมลภาษายิดดิชภาษาละตินภาษาฮีบรูภาษาแอราเมอิกภาษาเยอรมันมิว (อักษรกรีก)มีมย้อดลาเมดวาฟษาลษาอ์หนังสือโยชูวาอักษรฟินิเชียอักษรกรีกอักษรละตินอักษรอาหรับอักษรตระกูลเซมิติกอักษรซีริลลิกอักษรนาบาทาเอียนอักษรแอราเมอิกอายินอาเลฟอิปไซลอนอีตาทาฟทีตาดาเลทคอฟคอปปาคัมภีร์ฮีบรูคัมภีร์ไบเบิลคาฟฆอยน์ซออ์ซายินซาดีซาเมกซิกมาซีตาประเทศอิสราเอลนิวนูนแกมมา...แลมดาแอลฟาแคปปาแซนโรโอไมครอนไอโอตาไคไซ (อักษรกรีก)เพ (ตัวอักษร)เรชเวาเอปไซลอนเฮ (ตัวอักษร)เฮทเทา (อักษรกรีก)เททเดลตาBCDEFGHIJKLMNѮѲOҀPQRSTUVWXYZКПОАНРСТУХЦЧШМЈИЗБВГДЄІЕЛ ขยายดัชนี (71 มากกว่า) »

A

A (ตัวใหญ่: A, ตัวเล็ก: a) คืออักษรและสระตัวแรกในอักษรละติน มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า เอ ในขณะที่หลายภาษาเช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี เรียกตามชื่อเดิมของอักษรนี้คือ อา รูปพหูพจน์เขียนเป็น A's, As, as, หรือ a's อักษร A มีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคอียิปต์โบราณโดยมีหลักฐานในอักษรภาพไฮโรกลิฟฟิก และมีการหยิบยืมไปใช้โดยวัฒนธรรมอื่นจนกระทั่งปัจจุบัน โดยยังคงไว้ซึ่งจุดเด่นนั่นคือ A เป็นตัวอักษรแรกของชุดตัวอักษรในภาษาเสมอ ใช้แทนเสียงสระ อา เอ หรือ แอ ที่ประกอบกับเสียงพยัญชนะ หรือใช้แทนเสียงสระอย่างเดียวก็ได้ นอกจากนั้นอักษร A ก็มีการเติมเครื่องหมายและถูกดัดแปลงไปหลายรูปแบบเพื่อการนำไปใช้เป็นอักขรวิธีในภาษาหนึ่ง.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและA · ดูเพิ่มเติม »

บาอ์

บาอ์ (ب) เป็นอักษรตัวที่ 2 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู בอักษรซีเรียค ܒ อักษรอาหรับ (ب) ใช้แทนเสียงที่เกิดจาก ริมฝีปาก ก้อง ไม่มีลม (สัทศาสตร์สากล: หรือ /บ/) ตรงกับอักษรละติน “B” ในคำทับศัพท์จะแทนด้วย บ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและบาอ์ · ดูเพิ่มเติม »

บีตา

ีตา (beta) หรือ วีตา (βήτα, ตัวใหญ่ Β, ตัวเล็ก β หรือ ϐ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 2 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 2 สำหรับอักษรรูปนี้ ϐ จะถูกใช้เมื่อบีตาตัวเล็กเป็นอักษรที่ไม่ได้อยู่ต้นคำ ซึ่งถูกนำไปใช้ในหลากหลายสาขาวิชา เช่น ฟิสิกส์ การเงิน วิศวกรรม โดยถ้าตัวบีตาไปอยู่ในหนังสือหรือบทความวิชาใด ความหมายของบีตาก็จะเปลี่ยนไป เช่น ถ้าในวิชาฟิสิกส์ บีตาในที่นี้อาจหมายถึงสัดส่วนระหว่าง plasma pressure ต่อ magnetic pressure.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและบีตา · ดูเพิ่มเติม »

ชีน

ชีน (Shin) เป็นอักษรตัวที่ 21 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ש‎ และอักษรอาหรับ ﺵ‎ ใช้แทนเสียงไม่ก้อง ออกตามไรฟัน หรือ อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Σ อักษรละติน S และอักษรซีริลลิก С และ Ш และอาจไปเป็นอักษร Sha ในอักษรกลาโกลิติก มาจากอักษรคานาอันไนต์ที่มาจากไฮโรกลิฟรูปพระอาทิตย์ ซึ่งใช้แทนเสียง หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและชีน · ดูเพิ่มเติม »

ฎ๊อด

ฎ๊อด (ﺽ‎) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เน้น เกิดจากปุ่มเหงือก (emphatic voiced alveolar plosive; สัทอักษรสากล) เป็นเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ของภาษาอาหรับ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและฎ๊อด · ดูเพิ่มเติม »

กิเมล

กิเมล (Gimel) เป็นอักษรตัวที่ 3 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ג อักษรอาหรับ (ج; ญีม /d͡ʒ/) และอักษรซีเรียค ܓ ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากเพดานอ่อน ไม่มีลม ชื่ออักษรนี้มาจากภาษาฟินิเชีย หมายถึง “อูฐ” ส่วนรูปอักษรคานาอันไนต์ เป็นรูปคล้ายบูมเมอแรง ในคำทับศัพท์ภาษาอาหรับจะแทนด้วย ญ หรือ จญ์ เมื่อเป็นตัวสะกด หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและกิเมล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายิดดิช

ษายิดดิช (ภาษายิดดิช: ייִדיש, Yiddish,.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและภาษายิดดิช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและภาษาละติน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิก

ษาแอราเมอิก (Aramaic language) เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่มีความเป็นมายาวนานกว่า 3,000 ปืเป็นภาษากลางของบริเวณตะวันออกใกล้ในช่วง 157 ปีก่อนพุทธศักราชถึง..

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและภาษาแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเยอรมัน

ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและภาษาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

มิว (อักษรกรีก)

มิว (mu) หรือ มี (μι; ตัวใหญ่ Μ, ตัวเล็ก μ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 12 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 40.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและมิว (อักษรกรีก) · ดูเพิ่มเติม »

มีม

มีม (meme) เป็นรูปแบบของ ความคิดทางวัฒนธรรม สัญลักษณ์ หรือการปฏิบัติ ที่สามารถส่งผ่านจากจิตใจคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง ผ่านการเขียน การพูด ท่าทาง พิธีกรรม ภาพล้อเลียน และมีคำศัพท์ต่างๆในภาพที่มีความหมายเชิงตลก หรือปรากฏการณ์ลอกเลียนแบบอื่น ๆ คำว่า meme ในภาษาอังกฤษ มาจากการผสมของคำว่า "gene" และคำภาษากรีกว่า μιμητισμός (หรือ การเลียนแบบบางอย่าง) ผู้สนับสนุนแนวคิดนี้ได้ถือว่า เป็นสิ่งที่คล้ายกันทางวัฒนธรรมสู่ยีน มีการเปลี่ยนแปลงและตอบสนองแรงกระตุ้นที่เลือกเฟ้น นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ริชาร์ด ดอว์กินส์ ได้คิดคำว่า "meme" ขึ้นมาในหนังสือThe Selfish Gene (1976) ในแนวคิดเกี่ยวกับการอภิปรายทฤษฎีวิวัฒนาการเกี่ยวกับการอธิบายการแพร่ของความคิดและปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม ตัวอย่างเช่น มีมในหนังสืออย่างพวกเมโลดี คำพูดติดปาก แฟชั่น และเทคโนโลยีการก่อสร้างแบบซุ้มโค้ง เป็นต้น.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและมีม · ดูเพิ่มเติม »

ย้อด

ย้อด (Yod อาจสะกดเป็น Yud หรือ Yodh) เป็นอักษรตัวที่สิบของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู י‎, อักษรซีเรียค และอักษรอาหรับ ﻱ‎ (ยาอ์) แทนด้วยสัทอักษร อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก (Ι), อักษรละติน I, อักษรซีริลลิกสำหรับภาษายูเครนและภาษาเบลารุส І, (Ⲓ) และอักษรกอทิก eis (̹) เชื่อว่ามาจากอักษรภาพรูปมือ (จากภาษาอาหรับและภาษาฮีบรูสมัยใหม่, yad) หรืออาจจะมาจากอักษรไฮโรกลิฟรูปแขน หมวดหมู่:อักษรอาหรับ fa:ی ja:ي.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและย้อด · ดูเพิ่มเติม »

ลาเมด

ลาเมด (Lamed, Lamedh) เป็นอักษรตัวที่ 12 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ל และอักษรอาหรับ ل (ลาม لَامْ) ใช้แทนเสียง อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Λ อักษรละติน L และอักษรซีริลลิก Л เชื่อกันว่ามาจากไฮโรกลิฟรูปปฏักหรือต้นกก หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและลาเมด · ดูเพิ่มเติม »

วาฟ

วาฟ (Waw, Vav) เป็นอักษรตัวที่ 6 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู อักษรซีเรียค ܘ และอักษรอาหรับ و (วาว) ใช้แทนเสียง หรือ อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Ϝ และ Υ อักษรอีทรัสคัน v และอักษรละติน F V, และ Y; V ต่อมาพัฒนาเป็น U และ W มาจากไฮโรกลิฟรูปห่วง และเป็นทฤษฎีของ ศรันย์ ซึ่งต้องการจะพิสูจน์ว่า เราสามารถเดินทางด้วยความเร็วแสงได้หรือไม่ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ en:Waw (letter)#Arabic wāw.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและวาฟ · ดูเพิ่มเติม »

ษาล

ษาล หรือ ซาล (ﺫ‎) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากฟัน และเป็นเสียงในลำคอ (voiced dental fricative; สัทศาสตร์สากล) เสียงนี้เป็นเสียงเดียวกับ th ในภาษาอังกฤษ แต่การถอดเป็นอักษรโรมันมักถอดเสียงนี้เป็น dh หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและษาล · ดูเพิ่มเติม »

ษาอ์

ษาอ์ (ث) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับ ที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เกิดจากฟัน และเป็นเสียงในลำคอ (ثَاءْ) (สัทศาสตร์สากล) ในคำทับศัพท์จะแทนด้วย ษ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและษาอ์ · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือโยชูวา

หนังสือโยชูวา (Book of Joshua; ספר יהושע; Ιησούς του Ναυή) เป็นหนังสือเล่มที่ 6 ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม และเป็นบันทึกถึงประวัติศาสตร์อิสราเอลในช่วงอายุของโยชูวา ซึ่งรับบทบาทเป็นผู้นำอิสราเอลต่อจากโมเสส กล่าวถึงการยึดครองแผ่นดินคานาอัน อันเป็นแผ่นดินพันธสัญญาที่พระเจ้าทรงประทานให้แก่อับราฮัม การแบ่งดินแดนคานาอัน ตามที่โมเสสได้บัญชาไว้ และสิ้นสุดเมื่อโยชูวาเสียชีวิต เชื่อกันว่า "โยชูวา" เป็นผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ด้วยตัวของท่านเอง ยกเว้นในบทสุดท้ายที่กล่าวถึงมรณกรรมของโยชูวา และเอเลอาซาร์ น่าจะถูกบันทึกโดยบุตรชายของเอเลอาซาร.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและหนังสือโยชูวา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฟินิเชีย

ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอักษรฟินิเชีย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรกรีก

อักษรกรีก เป็นอักษรที่ใช้สำหรับเขียนภาษากรีก โดยมีพัฒนาการมาตั้งแต่ยุคคลาสสิก ประมาณ 357 ปีก่อนพุทธศักราช (ศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสต์ศักราช) และยังคงใช้สืบต่อเรื่อยมา นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุดแบบหนึ่งที่ยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ในสมัยกรีกโบราณนั้น อักษรกรีกยังใช้เขียนแทนจำนวนอีกด้วย ซึ่งในกรณีนี้จะเรียกว่าเลขกรีก ในทำนองเดียวกับเลขโรมัน ทุกวันนี้เราใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ เป็นชื่อดาวฤกษ์ เป็นชื่อกลุ่มภราดรและกลุ่มภคินี และใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ อีกมาก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอักษรกรีก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรละติน

อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอักษรละติน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอักษรอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรตระกูลเซมิติก

อักษรตระกูลเซมิติก เป็นกลุ่มของตัวอักษรที่พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ที่ได้แรงบันดาลใจจากอักษรไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์โบราณ อักษรเหล่านี้ไม่ได้มาจากสัญลักษณ์แทนพยัญชนะของชาวอียิปต์ แต่เป็นการรวมอักษรไฮโรกลิฟฟิกอื่นๆเข้ามาด้วย ทั้งหมดมี 30 ตัว กำหนดชื่อเป็นภาษาเซมิติก เช่น ไฮโรกลิฟ per (บ้าน ในภาษาอียิปต์) กลายเป็น bayt (บ้าน ในภาษาเซมิติก) เมื่อนำมาเขียนภาษาเซมิติกจะเป็นระบบพยัญชนะล้วน โดยอักษรแต่ละตัวแทนเสียงพยัญชนะตัวแรกของชื่อ เช่น รูปบ้าน beyt ใช้แทนเสียง b หรือใช้แทนทั้งเสียง b และลำดับพยัญชนะ byt ดังที่ใช้แทนเสียง p และลำดับพยัญชนะ pr ในภาษาอียิปต์ ในยุคที่ชาวคานาอันนำอักษรนี้ไปใช้ จะใช้แทนเสียง b เท่านั้น ไม่มีหลักฐานว่าอักษรเซมิติกเริ่มต้นมีจำนวนเท่าใดและเรียงลำดับอย่างใด อักษรที่พัฒนาต่อมานั้น อักษรยูการิติคมี 27 ตัว และอักษรฟินิเชียมี 22 ตัว การเรียงลำดับของอักษรเหล่านี้มี 2 แบบ คือ ลำดับ ABGDE ของอักษรฟินิเชีย และลำดับ HMĦLQ ของอักษรทางใต้ อักษรยูการิติกใช้ทั้ง 2 แบบ ชื่อของอักษรมักใช้ตามอักษรฟินิเชีย ทั้งอักษรซามาริทัน อักษรอราเมอิก อักษรซีเรียค อักษรฮีบรูและอักษรกรีก แต่ต่างไปในอักษรอาหรับและอักษรละติน แต่ไม่มีการใช้ชื่ออักษรในอักษรพราหมีและอักษรรูนิก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอักษรตระกูลเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีริลลิก

ประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิก อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก (Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอักษรซีริลลิก · ดูเพิ่มเติม »

อักษรนาบาทาเอียน

อักษรนาบาทาเอียน หรืออักษรนาบาเทียน พัฒนามาจากอักษรอราเมอิก ในราว พ.ศ. 643 จารึกหินอักษรนาบาทาเอียน พบในเปตรา เมืองหลวงของราชอาณาจักรนาบาทาเอียน (พ.ศ. 393 - 643) ดามัสกัส และเมดินา ราวคริสต์ศตวรรษที่ 4 -5 อักษรนาบาทาเอียนพัฒนามาเป็นอักษรอาหรั.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอักษรนาบาทาเอียน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรแอราเมอิก

อักษรแอราเมอิก (Aramaic alphabet) พัฒนาขึ้นในช่วง 1,000 - 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยเข้ามาแทนที่อักษรรูปลิ่มของอัสซีเรียซึ่งเป็นระบบการเขียนหลักของจักรวรรดิอัสซีเรีย อักษรนี้เป็นต้นกำแนิดของอักษรตระกูลเซมิติกอื่น ๆ และอาจเป็นต้นกำเนิดของอักษรขโรษฐี ที่ใช้ในแถบเอเชียกลางแถบแคว้นคันธาระและพื้นที่ใกล้เคียง ในช่วง 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช อักษรแอราเมอิกยุคแรกเริ่มถูกแทนที่ด้วยอักษรฮีบรูทรงเหลี่ยม ที่รู้จักต่อมาในชื่ออักษรแอราเมอิก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอักษรแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

อายิน

อายิน (Ayin) เป็นอักษรตัวที่ 16 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ע‎ และอักษรอาหรับ ع (อัยน์)‎ เริ่มแรกใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากคอหอยและเป็นเสียงเสียดแทรก มักแทนด้วยอักษรละติน ʿ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์จากอักษรกรีก spiritus asper ʽ, อายินใช้แทนเสียงที่ต่างจาก /อ/ ซึ่งแทนด้วยอะลิฟ ในภาษาโซมาเลียแสดงอัยนฺด้วยอักษร c, และนักอียิปต์วิทยานิยมแทนเสียงนี้ด้วย c อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Omicron (Ο), และอักษรละติน O, รวมทั้งในอักษรซีริลลิกด้วย อักษรเหล่านี้ใช้แสดงเสียงสระทั้งหมด อักษรนี้มาจากภาษาเซมิติกตะวันตก ʿen "ตา" (ในภาษาอาหรับสมัยใหม่แปลตรงตัวว่า "ตาในภาษาฮีบรู: ayin), และอักษรคานาอันไนต์ รูปตาที่อาจจะมาจากไฮโรกลิฟ (ỉr) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอายิน · ดูเพิ่มเติม »

อาเลฟ

อาเลฟ (Aleph) เป็นอักษรตัวแรกของอักษรฮีบรู ตรงกับอักษรอาหรับ (ا; “อลิฟ”) อักษรกรีก “อัลฟา” และอักษรละติน “A” พัฒนามาจากอักษรฟินิเชีย ʾāleph ซึ่งมาจากอักษรคานาอันไนต์ ʾalp “วัว” อักษรนี้ในภาษาอาหรับใช้แทนเสียง /ʔ/ หรือเสียงสระอา เพื่อแสดงว่าอลิฟนั้นแทนเสียงพยัญชนะหรือสระจึงเพิ่มฮัมซะฮ์ (ء) ขึ้นมา เรียกว่า ฮัมซะตุลก็อฏอิ ฮัมซะฮ์ไม่ถือว่าเป็นตัวอักษรเต็มตัวเท่ากับอักษรอื่น ๆ เพราะมักจะใช้คู่กับตัวพาคือ วาว (و), ยาอ์ที่ไม่มีจุดข้างล่าง (ی) และอลิฟ (ا) อลิฟใช้คู่กับฮัมซะฮ์เมื่อเป็นพยางค์แรกของคำและประสมสระเสียงสั้น โดยอยู่ข้างบน (أ) เมื่อเป็นเสียงสระอะหรืออุ และอยู่ข้างล่าง (إ) เมื่อเป็นเสียงสระอิ ถ้าอลิฟเป็นสระเสียงยาวจะไม่แสดงฮัมซะฮ์ ฮัมซะฮ์ชนิดที่ 2 ฮัมซะตุลวัศลิ ใช้เฉพาะกับหน่วยเสียงแรกของคำว่า ال (อัล) อันเป็นคำกำหนดชี้เฉพาะหรือคำในกรณีใกล้เคียงกัน ต่างจากฮัมซะฮ์ชนิดแรกตรงที่ว่า จะถูกยกเลิกเมื่อมีสระอยู่ข้างหน้า ฮัมซะฮ์ชนิดนี้ใช้อะลิฟเป็นตัวพาเท่านั้น ปกติจะไม่เขียนอักษรฮัมซะฮ์ แต่จะเขียนอลิฟเพียงอย่างเดียว อลิฟมัดดะ (alif madda) ใช้ในกรณีที่อะลิฟ 2 ตัวเขียนติดกัน (เสียงอา) จะเขียนอะลิฟในรูป (آ) เช่น القرآن (อัลกุรอาน) อลิฟมักศูเราะฮ์ (alif maqsūrah) รูปร่างเหมือนตัวยาอ์ที่ไม่มีจุดข้างล่าง (ی) ใช้เฉพาะตำแหน่งท้ายคำเท่านั้น ใช้แทนเสียงสระอาเช่นเดียวกับอลิฟ ในคำทับศัพท์ภาษาอาหรับจะแทนฮัมซะฮ์ด้วย อ์ เมื่อเป็นตัวสะก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอาเลฟ · ดูเพิ่มเติม »

อิปไซลอน

อิปไซลอน (upsilon) หรือ อิปซีลอน (ύψιλον, ตัวใหญ่ Υ หรือ ϒ, ตัวเล็ก υ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 20 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 400 สำหรับอักษรรูปนี้ ϒ จะถูกใช้เมื่อต้องการแยกแยะความแตกต่างออกจากอักษรละติน Y หมวดหมู่:อักษรกรีก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอิปไซลอน · ดูเพิ่มเติม »

อีตา

อีตา (eta; าτα, ตัวใหญ่ Η, ตัวเล็ก η) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 7 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 8 หมวดหมู่:อักษรกรีก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและอีตา · ดูเพิ่มเติม »

ทาฟ

ทาฟ (Taw, Tav, Taf) เป็นอักษรตัวที่ 22 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ת อักษรอาหรับ (ت; ตาอ์) เริ่มแรกใช้แทนเสียงที่เกิดจากปุ่มเหงือก ไม่ก้อง ไม่มีลม (สัทศาสตร์สากล) อักษรฟินิเชียที่ใช้แทนเสียงนี้ พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Τ” อักษรละติน “T” และอักษรซีริลลิก “Т” ในคำทับศัพท์ภาษาอาหรับจะแทนด้วย ต หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและทาฟ · ดูเพิ่มเติม »

ทีตา

ทีตา หรือ เทตา (theta,; θήτα, ตัวใหญ่ Θ, ตัวเล็ก θ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 8 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 9 ปัจจุบันใช้แทนค่ามุมใด ๆ ในทางคณิตศาสตร์ หรือ แทนมุมหักเห มุมตกกระทบ และมุมสะท้อนของแสงในทางวิทยาศาสตร์ หมวดหมู่:อักษรกรีก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและทีตา · ดูเพิ่มเติม »

ดาเลท

ดาเลท (Daleth) เป็นอักษรตัวที่ 4 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู (ד‎) อักษรอาหรับ (ﺩ‎; ดาล) และอักษรซีเรียค (ܕ) ใช้แทนเสียงก้องไม่มีลม เกิดจากปุ่มเหงือก (voiced alveolar plosive; สัทอักษรสากล) อักษรนี้มาจากไฮโรกลิฟรูปประตู (dalt ภาษาฮีบรูสมัยใหม่เป็น delet) ส่วนอักษรคานาอันไนต์เรียกปลา (digg ภาษาฮีบรูสมัยใหม่เป็น dag) อักษรฟินิเชียที่ใช้แทนเสียงนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Δ ” อักษรละติน “D” และอักษรซีริลลิก “Д” หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและดาเลท · ดูเพิ่มเติม »

คอฟ

คอฟ (Qoph, Qop) เป็นอักษรตัวที่ 19 ของอักษรตะกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ק‎ และอักษรอาหรับ ق (ก๊อฟ)‎ ใช้แทนเสียงเน้นจากคอหอย เกิดที่เพดานอ่อน หรือจากลิ้นไก่ อักษรตัวนี้กลายเป็นอักษรละติน Q และอักษรกรีก มาจากอักษรภาพรูปลิงที่แสดงลำตัวและหาง (ในภาษาฮีบรู, Qoph, สะกดด้วยอักษรฮีบรูเป็น קוף, หมายถึง "ลิง" และ K'of ในภาษาอียิปต์โบราณหมายถึงลิงชนิดหนึ่ง) หรืออาจจะมาจากอักษรภาพรูปหัวและคอของคน (Qaph ในภาษาอาหรับหมายถึงลำคอ) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ en:Qoph#Arabic qāf.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

คอปปา

อปปาแบบตัวเลข คอปปา (koppa, qoppa) หรือ โกปา (κόππα, ตัวใหญ่ Ϙ, ตัวเล็ก ϙ) เป็นอักษรกรีกที่เคยใช้ในเลขกรีกโดยมีค่าเท่ากับ 90 ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว อักษรคอปปามีสองรูปแบบคือ "คอปปาแบบโบราณ" (Ϙ, ϙ) ใช้ในการเขียนหนังสือ และ "คอปปาแบบตัวเลข" (Ϟ, ϟ) ใช้แทนตัวเลขและการอ้างอิงเอกสาร.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและคอปปา · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ฮีบรู

ต้นฉบับ “คัมภีร์ฮีบรู” พร้อมกับคำแปลภาษาแอราเมอิก คัมภีร์ฮีบรู (Hebrew Bible; Biblia Hebraica) หมายถึง คัมภีร์ทานัค (Tanakh; תנ"ך) ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ในศาสนายูดาห์ และเป็นที่มาของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ด้วย คัมภีร์นี้ส่วนใหญ่บันทึกเป็นภาษาฮีบรูไบเบิล บางส่วนเป็นภาษาแอราเมอิกไบเบิล (เช่น หนังสือดาเนียล หนังสือเอสรา เป็นต้น) ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูนี้มีหนังสือทั้งสิ้น 24 เล่ม สารบบของคัมภีร์ฮีบรูที่ใช้ในปัจจุบันสอดคล้องกับคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของนิกายโปรเตสแตนต์ แต่ไม่ตรงกับของนิกายโรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ซึ่งได้เพิ่ม "คัมภีร์อธิกธรรม" และ Anagignoskomena เข้ามา ความหมายของคัมภีร์ฮีบรูจึงไม่เกี่ยวกับชื่อ จำนวน และลำดับหนังสือ ต่างจากสารบบคัมภีร์ไบเบิลที่ศาสนาคริสต์จัดระบบขึ้นในยุคหลัง.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและคัมภีร์ฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ไบเบิล

ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและคัมภีร์ไบเบิล · ดูเพิ่มเติม »

คาฟ

คาฟ (Kaph, Kap, Kaf) เป็นอักษรตัวที่ 11 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู כ‎ และอักษรอาหรับ ك (ก๊าฟ كَافْ) การออกเสียงในสัทอักษรเป็น อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Κ), อักษรละติน K, และเป็นอักษรซีริลลิก (К) คาดว่าอักษรกาฟมาจากอักษรภาพรูปมือ (ทั้งในภาษาฮีบรูสมัยใหม่และภาษาอาหรับสมัยใหม่ kaph หมายถึงฝ่ามือ) หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและคาฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฆอยน์

ฆอยน์ (ﻍ‎) เป็นอักษรอาหรับ 1 ใน 6 ตัวที่เพิ่มจากอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากเพดานอ่อน และเป็นเสียงเสียดแทรก เสียงนี้มีการแยกเป็นหน่วยเสียงต่างหากในภาษาอาหรับ ภาษายูการิติก และสำเนียงเก่าของภาษาคานาอันไนต์ ส่วนสำเนียงที่ใหม่กว่านี้และภาษาฮีบรูติเบอเรียนได้รวมเสียงนี้เข้ากับอัยนฺอย่างสมบูรณ์ อักษรอาระเบียใต้ยังคงมีสัญลักษณ์สำหรับเสียง ġ, บางครั้งใช้แทนเสียง ในคำยืมในภาษาอาหรับ เช่น คำ Ingliizi (إنغليزي) ที่หมายถึง อังกฤษ หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและฆอยน์ · ดูเพิ่มเติม »

ซออ์

ซออ์ (ﻅ‎) เป็นอักษร 1 ใน 6 ตัว ของอักษรอาหรับ ที่เพิ่มจากอักษร 22 ตัวของอักษรฟินิเชีย ใช้แทนเสียงก้อง เกิดจากฟัน และเป็นเสียงในลำคอ (pharyngealized voiced dental fricative; สัทศาสตร์สากล) หรือ เสียงก้อง เกิดจากปุ่มเหงือก และเป็นเสียงในลำคอ (voiced alveolar fricative; สัทศาสตร์สากล) เสียงนี้เป็นเสียงเน้นหนักของ z คล้ายกับเสียงของ ﺫ‎ หรือ ﺯ‎ ในภาษาเปอร์เซีย ใช้กับคำยืมจากภาษาอาหรับเท่านั้น เสียงนี้ยังเป็นเสียงที่ใช้น้อยในภาษาอาหรับด้วย จากรากศัพท์ 2,967 คำที่รวบรวมโดย Wehr (1952) รากศัพท์ที่มีเสียงนี้มีเพียง 42 คำ คิดเป็นร้อยละ 1.4 หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและซออ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซายิน

ซายิน (Zayin) เป็นอักษรตัวที่ 7 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ז‎อักษรซีเรียค ܙ และอักษรอาหรับ ﺯ‎ (ซัย) ใช้แทนเสียงก้อง เสียดแทรก เกิดจากปุ่มเหงือก อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Ζ, อักษรอีทรัสคัน z, อักษรละติน Z และอักษรซีริลลิก З รูปอักษรคานาอันไนต์เป็นรูปดาบหรืออาวุธอื่น ๆ ส่วนไฮโรกลิฟเป็นรูปโซ่ตรวน หมวดหมู่:อักษรอาหรับ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและซายิน · ดูเพิ่มเติม »

ซาดี

ซาดี (Tsade) เป็นอักษรตัวที่ 18 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูצ‎ และอักษรอาหรับ ص (ศอด صَادْ)‎ เสียงเริ่มแรกของอักษรนี้น่าจะเป็น แต่ต่อมาเสียงนี้ต่างออกไปในภาษาตระกูลเซมิติกสมัยใหม่ มีที่มาจากอักษรคานาอันไนต์สามตัว ภาษาอาหรับยังคงแยกหน่วยเสียงเหล่านั้นเป็นอักษรสามตัวคือ ṣād และ ṭāʼ ใช้แสดงเสียงต่างกันสามเสียง (ḍād, ẓāʼ) ในภาษาอราเมอิก เสียงใกล้เคียงของอักษรนี้ถูกแทนที่ด้วย ʻayin และ ṭēt ดังนั้น ในภาษาฮีบรู ereẓ ארץ (โลก) เป็น arʻāʼ ארעא ในภาษาอราเมอิก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและซาดี · ดูเพิ่มเติม »

ซาเมก

ซาเมก (Samekh) เป็นอักษรตัวที่ 15 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรแอราเมอิก อักษรฮีบรู ס อักษรซีเรียค ܣ และอักษรอาหรับ س (ซีน) ใช้แทนเสียงเสียดแทรก ปุ่มเหงือก ไม่ก้อง อักษรฟินิเชียตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Ξ มาจากอักษรคานาอันไนต์ที่มาจากไฮโรกลิฟรูปกระดูก ซามเมก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและซาเมก · ดูเพิ่มเติม »

ซิกมา

ซิกมา (sigma, σίγμα, ตัวใหญ่ Σ, ตัวเล็ก σ หรือ ς) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 18 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 200 สำหรับอักษรรูปนี้ ς จะใช้เมื่อซิกมาตัวเล็กเป็นอักษรตัวสุดท้ายของคำเท่านั้น ปัจจุบันมีความหมายในทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ว่า "ผลรวมใด ๆ" หมวดหมู่:อักษรกรีก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและซิกมา · ดูเพิ่มเติม »

ซีตา

ซีตา (zeta; ζήτα, ตัวใหญ่ Ζ, ตัวเล็ก ζ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 6 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 7.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและซีตา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

นิว

นิว (nu) หรือ นี (νι, ตัวใหญ่ Ν, ตัวเล็ก ν) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 13 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 50 ν ในสมการ -ฟิสิกส์ แทนความถี่คลื่น หมวดหมู่:อักษรกรีก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและนิว · ดูเพิ่มเติม »

นูน

นูน (Nun) เป็นอักษรตัวที่ 14 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรูנ‎ และอักษรอาหรับ ﻥ‎ และเป็นอักษรตัวที่สามของอักษรทานะ (ނ)- มีชื่อว่านูนุ แทนด้วยสัทอักษร: อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก (Ν), อักษรอีทรัสคัน ̍, อักษรละติน N, และอักษรซีริลลิก Н คาดว่านุนมาจากอักษรภาพรูปงู (คำว่างูในภาษาฮีบรู, nachash เริ่มด้วยนุน และคำว่างูในภาษาอราเมอิกคือ nun) หรือปลาไหล แต่บางกลุ่มเชื่อว่ามาจากไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์รูปปลาในน้ำ (ในภาษาอาหรับ, nūn หมายถึงปลาหรือวาฬ).

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและนูน · ดูเพิ่มเติม »

แกมมา

แกมมา (gamma) หรือ กามา (γάμμα, γάμα, ตัวใหญ่ Γ, ตัวเล็ก γ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 3 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 3.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและแกมมา · ดูเพิ่มเติม »

แลมดา

แลมบ์ดา (lambda) หรือ ลัมดา (λάμδα, ตัวใหญ่ Λ, ตัวเล็ก λ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 11 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 30 λ ในสมการต่างๆ -ฟิสิกส์ แทนความยาวคลื่น.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและแลมดา · ดูเพิ่มเติม »

แอลฟา

แอลฟา (alpha) หรือ อัลฟา (άλφα, ตัวใหญ่ Α, ตัวเล็ก α) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 1 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 1.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและแอลฟา · ดูเพิ่มเติม »

แคปปา

แคปปาอีกแบบหนึ่ง แคปปา (kappa) หรือ กาปา (κάππα, κάπα, ตัวใหญ่ Κ, ตัวเล็ก κ หรือ ϰ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 10 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 20.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและแคปปา · ดูเพิ่มเติม »

แซน

แซน (san) หรือ ซัน (σαν, ตัวใหญ่ Ϻ, ตัวเล็ก ϻ) เป็นอักษรกรีกที่เคยปรากฏอยู่ระหว่างพายกับคอปปาตามลำดับอักษร ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและแซน · ดูเพิ่มเติม »

โร

โร (rho; ρω, ρο, ตัวใหญ่ Ρ, ตัวเล็ก ρ หรือ ϱ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 17 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 100 สำหรับอักษรรูปนี้ ϱ จะถูกใช้เมื่อต้องการแยกแยะความแตกต่างออกจากอักษรละติน p รโร.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและโร · ดูเพิ่มเติม »

โอไมครอน

โอไมครอน, ออมิครอน (omicron) หรือ โอมีกรอน (όμικρον, ตัวใหญ่ Ο, ตัวเล็ก ο) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 15 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 70 ความหมายตามตัวอักษรแปลว่า โอเล็ก (มิครอน แปลว่า เล็ก ซึ่งตรงข้ามกับโอเมกาหรือโอใหญ่) เสียงของโอไมครอนในภาษากรีก คล้ายกับเสียงสระออในภาษาไทย อักษรโอไมครอนตัวใหญ่ถูกนำไปใช้เป็นสัญลักษณ์ของสัญกรณ์โอใหญ่ (Big O notation) อโอไมครอน.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและโอไมครอน · ดูเพิ่มเติม »

ไอโอตา

ไอโอตา (iota) หรือ โยตา (ιώτα, γιώτα, ตัวใหญ่ Ι, ตัวเล็ก ι) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 9 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 10 หมวดหมู่:อักษรกรีก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและไอโอตา · ดูเพิ่มเติม »

ไค

(chi) หรือ ชี (χι, ตัวใหญ่ Χ, ตัวเล็ก χ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 22 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 600.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและไค · ดูเพิ่มเติม »

ไซ (อักษรกรีก)

ไซ, คไซ (xi) หรือ กซี (ξι, ตัวใหญ่ Ξ, ตัวเล็ก ξ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 14 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 60 หมวดหมู่:อักษรกรีก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและไซ (อักษรกรีก) · ดูเพิ่มเติม »

เพ (ตัวอักษร)

เพ (Pe) เป็นอักษรตัวที่ 17 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู פ‎ และอักษรอาหรับ ف (ฟาอ์) ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เกิดจากริมฝีปาก ไม่มีลม: IPA อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Pi (Π), อักษรละติน P, และอักษรซีริลลิก Pe จุดกำเนิดมาจากอักษรภาพรูปปาก (ภาษาฮีบรู pe; ภาษาอาหรับ, fem) พเพ en:Pe (letter)#Arabic fāʼ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและเพ (ตัวอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

เรช

เรช (Resh) เป็นอักษรตัวที่ 20 ของอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่ ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู (ר) และอักษรอาหรับ (ﺭ‎; รออ์) ใช้แทนเสียงรัวลิ้น (rhotic consonants; สัทอักษรสากล หรือ) แต่ในภาษาฮีบรู จะใช้แทนเสียง และ ด้วย รูปร่างของอักษรนี้ในอักษรตระกูลเซมิติกส่วนใหญ่จะคล้ายกับตัวดาล อักษรซีเรียคใช้ตัวเดียวกัน แยกจากกันโดยใช้จุด r มีจุดอยู่ข้างบน ส่วน d มีจุดอยู่ข้างล่าง อักษรอาหรับ ﺭ‎ มีหางยาวกว่า ﺩ‎ ส่วนในอักษรอราเมอิก และอักษรฮีบรู ที่เป็นอักษรทรงเหลี่ยม ר เป็นขีดทรงโค้งอันเดียว ส่วน ד เป็นขีด 2 ขีดทำมุมกัน อักษรนี้มาจากไฮโรกลิฟรูปหัว (ฮีบรู rosh; อาหรับ ra's) ตัวนี้ภาษาเซมิติกตะวันออกเรียก riš ซึ่งอาจเป็นคำอ่านของอักษรรูปลิ่มในภาษาอัคคาเดีย อักษรฟินิเชียที่ใช้แทนเสียงนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Ρ” อักษรละติน “R” และอักษรซีริลลิก “ Р” รเรช ar:ر fa:ر ms:Ra (huruf Arab).

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและเรช · ดูเพิ่มเติม »

เวา

วา, ไดแกมมา (wau, fau, digamma) หรือ วัฟ, ดีกามา (βαυ, Δίγαμμα, ตัวใหญ่ Ϝ, ตัวเล็ก ϝ) เป็นอักษรกรีกที่เคยใช้ในเลขกรีกโดยมีค่าเท่ากับ 6 ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและเวา · ดูเพิ่มเติม »

เอปไซลอน

อปไซลอน (epsilon) หรือ เอปซีลอน (έψιλον, ตัวใหญ่ Ε, ตัวเล็ก ε) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 5 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 5.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและเอปไซลอน · ดูเพิ่มเติม »

เฮ (ตัวอักษร)

เฮ (He) เป็นอักษรตัวที่ห้าในอักษรตระกูลเซมิติก รวมทั้งอักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ה‎, อักษรซีเรียค ܗ และอักษรอาหรับ ه‎; ฮาอ์ /h/) ใช้แทนเสียงไม่ก้อง เสียดแทรก เกิดที่สายเสียง อักษรฟินิเชียตัวนี้ไปเป็นอักษรกรีก Epsilon, อักษรอีทรัสคัน ̄, อักษรละติน E และอักษรซีริลลิก Ye เฮในอักษรฟินิเชียใช้แทนเสียงพยัญชนะ แต่อักษรลูกหลานอื่น ๆ ใช้แทนเสียงสระ ในภาษากลุ่มเซมิติกตะวันตกโบราณ มีเสียงไม่ก้องและเป็นเสียงในลำคอสามเสียงคือ เกิดที่เพดานอ่อน ḫ เกิดที่สายเสียงและคอหอย ḥ ดังที่พบในอักษรอาระเบียใต้และอักษรเอธิโอปิก ในอักษรคานาอันไนต์, ḫayt และ ḥasir รวมเข้ากับ Heth "fence" ฮเฮ ms:Ha (huruf Arab).

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและเฮ (ตัวอักษร) · ดูเพิ่มเติม »

เฮท

เฮท (Heth) เป็นอักษรตัวที่ 8 ของอักษรคานาอันไนต์ ซึ่งพัฒนาต่อมาเป็นอักษรฟินิเชีย อักษรฮีบรู อักษรอาหรับ (ح: หาอ์ /ħ/) อักษรซีเรียค ใช้แทนเสียงไม่ก้อง และเป็นเสียงในลำคอซึ่งอาจเป็นทั้งเสียงที่เกิดจากคอหอย (หรือเพดานอ่อน ส่วนภาษาอาหรับแยกความแตกต่างโดยใช้ ح แทนเสียง และใช้ خ แทนเสียง อักษรฮีบรูเริ่มแรกใช้ ח แทน และ כ แทน ต่อมาทั้ง 2 ตัวใช้แทนเสียงไม่ก้องเกิดจากลิ้นไก่ และเป็นเสียงในลำคอ อักษรคานาอันไนต์ตัวนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก “Η”, อักษรละติน "H” และอักษรซีริลลิก “И” โดย H ในอักษรละตินยังใช้แทนเสียงพยัญชนะ ส่วน Η ในอักษรกรีกและ И ใช้แทนเสียงสระ ในคำทับศัพท์จะแทนด้วย ฮ ฮเฮ br:Het ceb:Ḥet en:Heth fi:Ḥet it:Heth pl:Chet sv:Het zh:Heth.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและเฮท · ดูเพิ่มเติม »

เทา (อักษรกรีก)

เทา (tau) หรือ ตัฟ (ταυ, ตัวใหญ่ Τ, ตัวเล็ก τ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 19 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 300 หมวดหมู่:อักษรกรีก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและเทา (อักษรกรีก) · ดูเพิ่มเติม »

เทท

เทท (Teth) เป็นอักษรตัวที่ 9 ของอักษรตระกูลเซมิติก ได้แก่ อักษรฟินิเชีย อักษรอราเมอิก อักษรฮีบรู ט‎, อักษรซีเรียค ܛ และอักษรอาหรับ (ﻁ; ฏออ์)‎ ใช้แทนเสียง ซึ่งเป็นเสียงพยัญชนะเน้น อักษรนี้พัฒนาไปเป็นอักษรกรีก Theta (Θ) ต้นกำเนิดมาจากอักษรฟินิเชีย ชื่อ ṭēth หมายถึง "ล้อ" แต่อาจจะมาจากอักษรภาพชื่อ ṭab "ดี" ที่มาจากไฮโรกลิฟ nfr "ดี" หมวดหมู่:อักษรอาหรับ en:Teth#Arabic Ṭāʼ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและเทท · ดูเพิ่มเติม »

เดลตา

ลตา (delta; δέλτα, ตัวใหญ่ Δ, ตัวเล็ก δ) เป็นอักษรกรีกตัวที่ 4 และมีค่าของเลขกรีกเท่ากับ 4 ใช้แทนตัวอักษร d เมื่อมีการใช้งานแทนแล้ว.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและเดลตา · ดูเพิ่มเติม »

B

B (ตัวใหญ่:B ตัวเล็ก:b ออกเสียง บี) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 2 ใช้แทนเสียงพยัญชนะจากริมฝีปาก (ขึ้นกับแต่ละภาษา) มักจะเป็นเสียงกัก ริมฝีปาก ก้อง.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและB · ดูเพิ่มเติม »

C

C (ตัวใหญ่:C ตัวเล็ก:c) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 3.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและC · ดูเพิ่มเติม »

D

D (ตัวใหญ่:D ตัวเล็ก:d) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 4.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและD · ดูเพิ่มเติม »

E

E (ตัวใหญ่:E ตัวเล็ก:e) เป็นอักษรละตินตัวที่ 5.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและE · ดูเพิ่มเติม »

F

F (ตัวใหญ่:F ตัวเล็ก:f) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 6.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและF · ดูเพิ่มเติม »

G

G เป็นอักษรลำดับที่ 7 ในอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและG · ดูเพิ่มเติม »

H

H (ออกเสียงว่า เอช หรือเฮช"H" Oxford English Dictionary, 2nd edition (1989); Merriam-Webster's Third New International Dictionary of the English Language, Unabridged (1993); "aitch", op. cit.) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 8 ในการออกเสียงตามสัทอักษรสากลแสดงด้วยเสียง 2 เสียง คือ แสดงเสียงในลักษณะเสียงเสียดแทรก เส้นเสียง ไม่ก้อง และ แสดงเสียงในลักษณะเสียงเสียดแทรก ลิ้นปิดกล่องเสียง ไม่ก้อง.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและH · ดูเพิ่มเติม »

I

I เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 9.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและI · ดูเพิ่มเติม »

J

J (เจ) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 10 เป็นตัวอักษรตัวสุดท้ายที่ถูกเพิ่มเข้ามาในอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและJ · ดูเพิ่มเติม »

K

K (ตัวใหญ่:k ตัวเล็ก:k) เป็นอักษรละติน นับเป็นอักษรตัวที่ 11 ของอักษรในภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและK · ดูเพิ่มเติม »

L

L (ตัวใหญ่:L ตัวเล็ก:l) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 12.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและL · ดูเพิ่มเติม »

M

M (ตัวใหญ่:M ตัวเล็ก:m) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 13.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและM · ดูเพิ่มเติม »

N

N (ตัวใหญ่:N ตัวเล็ก:n) เป็นอักษรละตินในลำดับที่ 14.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและN · ดูเพิ่มเติม »

Ѯ

Ksi (Ѯ, ѯ) เป็นอักษรซีริลลิกยุคเก่าตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // อักษรตัวนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไซ (Ξ, ξ) มีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 60 ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและѮ · ดูเพิ่มเติม »

Ѳ

Fita (Ѳ, ѳ) เป็นอักษรซีริลลิกยุคเก่าตัวหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ทีตา อักษรนี้ใช้เขียนชื่อเฉพาะที่ทับศัพท์มาจากภาษากรีกเป็นหลัก และตั้งแต่ภาษารัสเซียออกเสียงตัวอักษรนี้เป็น // แทนที่จะเป็น // เหมือนภาษากรีก เช่น คำว่า Theodore ก็อ่านเป็น Fyodor จึงมีการใช้ Ef (Ф, ф) แทนอักษร Fita ใน พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) และสำหรับกลุ่มภาษาสลาวิกอื่นๆ ซึ่งออกเสียงอักษรนี้เป็น // ก็เปลี่ยนไปใช้ Te (Т, т) ด้วยเช่นกัน ยกตัวอย่างภาษาบัลแกเรียจะอ่านคำว่า Theodore เป็น Teodor หรือ Todor เป็นต้น อักษรนี้จึงไม่มีที่ใช้ไปโดยปริยาย อักษร Fita มีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 9 และอย่าสับสนกับอักษร Oe (Ө, ө) ที่มีลักษณะคล้ายกัน (มีใช้ในภาษาคาซัค ภาษาตูวา และภาษามองโกเลีย) และบางครั้งขีดตรงกลางก็ถูกเขียนให้เป็นหยัก เป็นคลื่น หรือขีดให้เกินวงกลมออกมา ดังที่ปรากฏในฟอนต์บางตัว เพื่อให้เกิดความแตกต่างกับอักษรดังกล่าว.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและѲ · ดูเพิ่มเติม »

O

O (ตัวใหญ่:O ตัวเล็ก:o) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 15 โดยชื่อเรียกคือ "โอ".

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและO · ดูเพิ่มเติม »

Ҁ

Koppa (Ҁ, ҁ) เป็นอักษรซีริลลิกยุคเก่าตัวหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก คอปปา (Ϙ, ϙ) อักษรตัวนี้ไม่มีใช้แล้วในกลุ่มภาษาสลาวิก และไม่ได้ใช้แทนเสียงใดๆ เพียงแต่เป็นอักษรที่ใช้แทนเลขซีริลลิกที่มีค่าเท่ากับ 90 แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปใช้ Ч ซึ่งมีรูปร่างคล้ายกันและไม่มีค่าของเลขซีริลลิกตั้งแต่แรก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและҀ · ดูเพิ่มเติม »

P

P (ตัวใหญ่: P ตัวเล็ก: p) เป็นอักษรละติyyน ลำดับที่ 16.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและP · ดูเพิ่มเติม »

Q

Q (ตัวใหญ่:Q ตัวเล็ก:q) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 17.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและQ · ดูเพิ่มเติม »

R

R (อาร์) เป็นอักษรละติน ในลำดับที่ 18 ในอักษรละติน.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและR · ดูเพิ่มเติม »

S

S (ตัวใหญ่: S ตัวเล็ก: s) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 19.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและS · ดูเพิ่มเติม »

T

T (ตัวใหญ่:T ตัวเล็ก:t) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 20.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและT · ดูเพิ่มเติม »

U

U (ตัวใหญ่:U ตัวเล็ก:u) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 21 ซึ่งในภาษาอังกฤษอ่านว่า "ยู" ในขณะที่เยอรมัน อิตาลี สเปน และฝรั่งเศส เรียกว่า "อู" ในขณะเดียวกันในประเทศไทยนิยมเรียกว่า "ยู" เช่นเดียวกับใน ภาษาญี่ปุ่น เรียกว่า "ยู" (ユー).

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและU · ดูเพิ่มเติม »

V

V (ตัวใหญ่:V ตัวเล็ก:v) เป็นอักษรละติน ตัวที่ 22.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและV · ดูเพิ่มเติม »

W

W (ตัวใหญ่:W ตัวเล็ก:w) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 23.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและW · ดูเพิ่มเติม »

X

X เป็นอักษรละตินลำดับที่ 24 ซึ่งในภาษากรีกตัวอักษร X อ่านว่า "ไค" ตัวอักษร X เป็นตัวอักษรที่ไม่มีในภาษาอิตาลียกเว้นคำยืมจากภาษาอื่น และไม่มีคำศัพท์ภาษาอังกฤษดั้งเดิมขึ้นต้นด้วยตัวอักษร X ในภาษาอังกฤษบางครั้งจะอ่านเหมือนคำว่า ไค ใช้แทนคำว่า คริสต์ ซึ่งเห็นได้ใน X'mas (คริสต์มาส) และมีการใช้ซึ่งอ่านว่า "ครอส" แทนเครื่องหมายไขว้ เช่นในคำว่า Xing.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและX · ดูเพิ่มเติม »

Y

Y (ตัวใหญ่:Y ตัวเล็ก:y) เป็นอักษรละติน ลำดับที่ 25.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและY · ดูเพิ่มเติม »

Z

Z (ตัวใหญ่:Z ตัวเล็ก:z) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 26 และเป็นลำดับสุดท้.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและZ · ดูเพิ่มเติม »

К

Ka (К, к) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีลักษณะคล้ายอักษรละติน K ไม่ว่าจะเป็นตัวเล็กหรือตัวใหญ่ แตกต่างกันเล็กน้อยตรงที่เส้นขวาบน จะเป็นจะงอยเหมือนวงเล็บปีกกาเปิด.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและК · ดูเพิ่มเติม »

П

Pe (П, п) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียงพยัญชนะ // เหมือน ป ในภาษาไทย เว้นแต่เมื่ออยู่หน้าสระที่ออกเสียงเลื่อนขึ้นไปเพดานแข็ง อักษรนี้จะออกเสียงเป็น // อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก พาย มีชื่อเดิมว่า pokoi และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 100 ลักษณะของ П มีรูปร่างคล้ายกับสี่เหลี่ยมที่ไม่มีขีดด้านล่าง และอย่าสับสนกับ El (Л, л) ที่เส้นทางด้านซ้ายโค้งงอ อักษรตัวนี้มีรูปร่างเหมือนกับ พาย อย่างมาก ทั้งตัวเล็กและตัวใหญ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและП · ดูเพิ่มเติม »

О

O หรือ On (О, о) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียงสระ // (โอ) หลังพยัญชนะเสียงหนัก หรือเสียง // (อะ) เมื่อมีการลดเสียงสระในภาษารัสเซีย อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก โอไมครอน มีชื่อเดิมคือ onǔ ซึ่งมีความหมายว่า "เขา" หรือ "สิ่งนั้น" ในภาษาเชิร์ชสลาโวนิกยุคเก่า แต่ไม่มีค่าของเลขซีริลลิก.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและО · ดูเพิ่มเติม »

А

อา (А, а) เป็นอักษรตัวแรกในอักษรซีริลลิก มีพัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก แอลฟา ในอักษรซีริลลิกยุคเก่า อักษรตัวนี้มีชื่อว่า azǔ และมีค่าของตัวเลขเท่ากับ 1 ในหลายๆ ภาษาที่ใช้อักษรซีริลลิก เช่น ภาษารัสเซีย ภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย และภาษาบัลแกเรีย อ่านอักษรนี้ว่า // (อา) บางครั้งอาจจะอ่านเป็น // (อา ปากกว้าง) หรือ // (เออ) ในภาษาอย่างเช่น ภาษาอิงกุช หรือ ภาษาเชอเชน ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา อักษรนี้มีหลากหลายลักษณะ แต่ทุกวันนี้ถูกทำให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงดูเหมือนอักษรละติน A (รวมทั้งรูปแบบตัวเอนด้วย).

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและА · ดูเพิ่มเติม »

Н

En (Н, н) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียง // เหมือน n ในภาษาอังกฤษ หรือ น ในภาษาไทย แต่จะเปลี่ยนเป็น // เมื่ออักษรตัวนี้อยู่ก่อนหน้าสระที่เลื่อนเสียงไปทางเพดานแข็ง อักษรนี้มีลักษณะเหมือนกับอักษรละติน H ทั้งตัวเล็กและตัวใหญ่ อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก นิว (Ν, ν) ซึ่งมีชื่อเดิมคือ našǐ และมีค่าเลขซีริลลิกเท่ากับ 50.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและН · ดูเพิ่มเติม »

Р

Er (Р, р) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก โร ซึ่งมีรูปร่างเหมือนอักษรตัวใหญ่ อีกทั้งยังเหมือนอักษรละติน P อีกด้วย อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า rǐci และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 100 อักษรนี้ใช้แทนเสียง // เหมือน ร ในภาษาไทย (เสียงรัวลิ้น) และกลายเป็น // เมื่ออยู่หน้าสระที่ออกเสียงเลื่อนไปทางเพดานแข็ง การเขียนอักษรละติน R ซึ่งมีขีดเพิ่มขึ้นมาทางด้านล่าง เป็นการทำให้เกิดความแตกต่างกับอักษรละติน P ที่กำหนดโดยชาวโรมัน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับรูปร่างของอักษร Er.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและР · ดูเพิ่มเติม »

С

Es (С, с) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือน s ในภาษาอังกฤษ หรือ ซ ในภาษาไทย หรือเปลี่ยนเป็น // เมื่อสะกดด้วยสระที่เลื่อนเสียงไปทางเพดานแข็ง อักษรตัวนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ซิกมา ที่มีรูปร่างคล้ายจันทร์เสี้ยวซึ่งมีใช้ในยุคกลาง เรียกว่า ลูเนตซิกมา (Ϲ, ϲ) อักษรนี้ยังมีลักษณะเหมือนอักษรละติน C แต่ไม่มีความเกี่ยวข้องกันแต่อย่างใด ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ slovo และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 200.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและС · ดูเพิ่มเติม »

Т

Te (Т, т) คืออักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือน t ในภาษาอังกฤษ หรือ ต หรือ ท ในภาษาไทย หรือเปลี่ยนเป็น // เมื่อสะกดด้วยสระที่เลื่อนเสียงไปทางเพดานแข็ง อักษรตัวนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก เทา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ tvr̥do และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 300.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและТ · ดูเพิ่มเติม »

У

U (У, у) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียงสระ // (อู) เมื่อสะกดตามหลังพยัญชนะเสียงหนัก เมื่อเริ่มแรกนั้น อักษรนี้เป็นรูปย่อของอักษร Uk (Ѹ, ѹ) ที่มีใช้ในภาษาสลาวิกตะวันออกยุคเก่า และมีพัฒนาการมาจากทวิอักษรของอักษรกรีก ου (โอไมครอน-อิปไซลอน) อีกทีหนึ่ง ซึ่งทั้งหมดออกเสียง // เหมือนกัน และในช่วงเดียวกันนั้นก็ได้รับเอาอักษรกรีก อิปไซลอน เข้ามาใช้เป็นอักษรซีริลลิกอีกรูปหนึ่งคือ Izhitsa (Ѵ, ѵ) ทำให้เกิดความกำกวมในอักขรวิธีระหว่างอักษรทั้งสอง จึงมีการยกเลิกอักษร Izhitsa โดยการปฏิรูปอักขรวิธีใน ค.ศ. 1917-1919.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและУ · ดูเพิ่มเติม »

Х

Kha หรือ Ha (Х, х) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือนเสียงของ ch ในคำว่า Bach ของภาษาเยอรมัน แต่เมื่ออักษรตัวนี้สะกดตามมาด้วยสระที่ออกเสียงเลื่อนไปทางเพดานแข็ง จะออกเสียงเป็น // ซึ่งมักจะออกเสียงรวมไปกับพยางค์อื่นแทนที่จะออกเสียงแยกกัน อักษรตัวนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไค (Χ, χ) มีรูปร่างเหมือนอักษรละติน X ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ xěrǔ และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 600.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและХ · ดูเพิ่มเติม »

Ц

Tse (Ц, ц) คืออักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีลักษณะคล้ายอักษรละติน U ที่เป็นเหลี่ยมและมี "ติ่ง" ที่มุมล่างขวา ใช้แทนเสียง เหมือนในคำว่า cats ในภาษาอังกฤษ อักษร Tse เป็นอักษรตัวที่ 23 ในภาษารัสเซีย และถูกพิจารณาว่ามีพัฒนาการมาจากอักษรฮีบรู Tsadi ในลักษณะของอักษรท้ายคำ (ץ) และอักษรกลาโกลิต Tsi (รูปภาพ: 14px) อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า ci หรือ tsi และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 900 อักษร Tse สามารถถ่ายอักษรได้เป็น ts แต่อย่างไรก็ดี ชื่อเฉพาะบางอย่างอาจถ่ายอักษรเป็น c, z, cz หรือ tz ก็มี สำหรับภาษารัสเซีย คำที่ใช้อักษรนี้ส่วนใหญ่เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น โดยเฉพาะคำในภาษาละตินที่มีอักษร C เช่น цирк (circus), центр (center) และภาษาเยอรมันที่มีอักษร Z เช่น плац (Platz), цинк (Zink) เป็นต้น ส่วนคำที่เป็นภาษารัสเซียแท้ก็พบได้น้อย อย่างเช่น царь (Tsar) และแทบจะไม่ปรากฏเลยในภาษาสลาวิกยุคเริ่มแรก ตามอักขรวิธีของภาษารัสเซีย อักษร Ц แทบจะไม่ถูกต่อท้ายด้วย Ы เว้นแต่จะเป็นจำนวนพหูพจน์ หรือคำคุณศัพท์บอกจำนวน.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและЦ · ดูเพิ่มเติม »

Ч

Che หรือ Cherv (Ч, ч) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง มีลักษณะคล้ายอักษรละติน h ตัวเล็กที่กลับหัว ใช้แทนเสียง เหมือนทวิอักษร ch ในภาษาอังกฤษ (คล้าย ช) บางครั้งก็ออกเสียงเป็น เหมือน จ ในภาษาไทย อักษรนี้ยังไม่ทราบพัฒนาการที่แน่ชัด บ้างก็เข้าใจว่าเป็นอักษรรูปหนึ่งที่เพี้ยนมาจาก Ц หรือ Ҁ อักษรนี้มีชื่อเดิมคือ čr̤̥vǐ ปัจจุบันใช้แทนค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 90 แทนอักษร Ҁ ที่เลิกใช้ไปแล้ว "Ч" ในภาษาอังกฤษจะถอดเป็น "ch" หรือบางทีจะถอดเป็น "tch" ถ้าอยู่เป็นตัวแรก ส่วนภาษาเยอรมันจะถอดเป็น "tch".

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและЧ · ดูเพิ่มเติม »

Ш

Sha (Ш, ш) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียงพยัญชนะ // หรือ // ซึ่งออกเสียงคล้ายกับ sh ในภาษาอังกฤษ ch ในภาษาฝรั่งเศส sch ในภาษาเยอรมัน ş ในภาษาตุรกี หรือ sz ในภาษาโปแลนด์ ส่วนกลุ่มภาษาสลาวิกที่ใช้อักษรละตินจะเขียนอักษร š แทนเสียงดังกล่าว ซึ่งนักภาษาศาสตร์ก็ใช้อักษร š สำหรับถ่ายอักษร Ш ไปเป็นอักษรละตินเช่นกัน ลักษณะตัวพิมพ์ของอักษรนี้มีรูปร่างคล้ายอักษรละติน W หรือเหมือนยิ่งกว่าโดยนำอักษร E มาวางตะแคง อักษร Ш ถูกใช้ในทางที่หลากหลาย อย่างในทางคณิตศาสตร์ Tate-Shafarevich group จะใช้สัญลักษณ์เป็น Ш ซึ่งแนะนำให้ใช้เป็นครั้งแรกโดย เจ. ดับบลิว. เอส. แคสเซลส์ (ก่อนหน้านั้นใช้สัญลักษณ์ TS ซึ่งไม่ได้มีความหมายอะไรพิเศษ) และในอีกทางหนึ่ง รูปแบบของกราฟที่คล้ายอักษร Ш และได้ชื่อว่า Shah function ก็เป็นส่วนหนึ่งของฟังก์ชัน Dirac comb สัทอักษร // เป็นการอธิบายเสียงเสียดแทรกหลังปุ่มเหงือกแบบไม่ก้อง เนื่องจากเสียงประเภทนี้เป็นสาเหตุหลักที่อักษรกลาโกลิตและอักษรซีริลลิกต้องประดิษฐ์ขึ้น เพราะเสียงเหล่านี้ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปของอักษรละตินหรืออักษรกรีก โดยที่ไม่ใช้เครื่องหมายเสริมอักษรหรือทวิอักษรได้ ภาษาในกลุ่มสลาวิกจึงมีอักษรแทนเสียงเสียดแทรกและเสียงกึ่งเสียดแทรกมากมาย และอักษร Sha เองก็เป็นหนึ่งในนั้น.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและШ · ดูเพิ่มเติม »

М

Em (М, м) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียงพยัญชนะ // เหมือน m ในภาษาอังกฤษ หรือ ม ในภาษาไทย เว้นแต่ว่าเมื่ออักษรนี้อยู่ก่อนหน้าสระที่เลื่อนขึ้นไปยังเพดานแข็งจะกลายเป็น // อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก มิว (Μ, μ) ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ mūslite และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 40.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและМ · ดูเพิ่มเติม »

Ј

Je (Ј, ј) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิกมีใช้เฉพาะในภาษาเซอร์เบีย ภาษามาซิโดเนีย ภาษาอาเซอร์ไบจาน และภาษาอัลไต มีรูปร่างคล้ายอักษรละติน J ใช้แทนเสียงของอักษร Й แบบดั้งเดิมคือ // (ย).

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและЈ · ดูเพิ่มเติม »

И

I หรือ Y (И, и) บางครั้งก็เรียกว่า Octal I เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ออกเสียงสระ // (อี) ในภาษารัสเซียและ // (อิ) ในภาษายูเครน แต่ไม่มีในภาษาเบลารุส อักษรนี้มีลักษณะคล้ายอักษรละติน N ตัวใหญ่ที่เขียนกลับข้าง อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก อีตา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ iže และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 8 อักษร И เมื่อต้องการถ่ายอักษรจะใช้ I สำหรับภาษารัสเซีย และใช้ Y หรือ I สำหรับภาษายูเครน.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและИ · ดูเพิ่มเติม »

З

Ze (З, з) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้แทนเสียง // เหมือนภาษาทั่วไปที่ใช้อักษรละติน z อักษรตัวนี้มักจะทำให้สับสนได้ง่ายกับเลขอารบิก 3 และอักษร E (Э, э) ของภาษารัสเซีย อักษร Ze มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ซีตา ชื่อดั้งเดิมของอักษรนี้คือ zemlja และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 7.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและЗ · ดูเพิ่มเติม »

Б

Be (Б, б) เป็นอักษรตัวที่ 2 ในอักษรซีริลลิก ออกเสียงเป็น // เหมือนกับ b ในภาษาอังกฤษหรือ บ ในภาษาไทย ในภาษารัสเซียบางครั้งอักษรตัวนี้อ่านเป็น // ที่ไร้เสียงที่ตำแหน่งสุดท้ายของคำหรือพยัญชนะที่ไม่ออกเสียง หรืออ่านเป็น // ที่หน้าเสียงสระซึ่งเลื่อนไปทางเพดานแข็งในช่องปาก ตัวอักษรนี้มีลักษณะคล้ายเลข 6 และไม่ควรจำสับสนกับ Ve (В, в) ที่ซึ่งมีรูปร่างเหมือนอักษรละติน B อักษรทั้งสองนี้ต่างก็มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก บีตา เหมือนกัน เมื่อตัวอักษรนี้ถูกเขียนด้วยลายมือ อักษร б ตัวเล็กจะดูคล้ายกับอักษรกรีก เดลตา ตัวเล็ก (δ) ชื่อเดิมของตัวอักษรนี้คือ bukū และไม่มีค่าทางตัวเลข เนื่องจากอักษร В ได้รับการนับเลขซีริลลิกจากอักษรกรีกไปแล้ว ดังนั้นอักษร Б จึงไม่มีค่าใ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและБ · ดูเพิ่มเติม »

В

Ve (В, в) เป็นอักษรตัวที่ 3 ในอักษรซีริลลิก อ่านได้เป็นเสียง // และมีรูปร่างเหมือนอักษรละติน B แต่ออกเสียงต่างกัน อักษรตัวนี้และ Б มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก บีตา ซึ่งมีการใช้แทนเสียง // ของภาษากรีกในเวลาใกล้เคียงกับสมัยที่อักษรซีริลลิกถูกสร้างขึ้น ชื่อเดิมของอักษรตัวนี้คือ vědě และมีค่าตัวเลขเท่ากับ 2 ในระบบเลขซีริลลิก ในภาษารัสเซีย อักษรตัวนี้ออกเสียงเหมือน // เหมือนภาษาอังกฤษ ยกเว้นเมื่ออักษรตัวนี้ปรากฏท้ายคำจะเป็น // ที่ไร้เสียง หรืออ่านเป็น // ก่อนเสียงสระซึ่งเลื่อนไปทางเพดานแข็ง ในการออกเสียงภาษายูเครนแบบมาตรฐาน (ซึ่งมีสำเนียงโพลทาวาเป็นฐาน) อักษร В จะออกเสียงเป็น // ในภาษาอังกฤษ (เหมือนมี ว สะกด) เมื่ออยู่ที่ท้ายคำ เช่น Владислав แปลงเป็นอักษรละตินจะได้ Vladyslaw อ่านว่า วลาดีสลาว แต่สำหรับชาวยูเครนกลุ่มหนึ่ง จะออกเสียงอักษรนี้เป็น // เสมอไม่ว่าจะปรากฏอยู่ที่ใด ในภาคตะวันออกของประเทศยูเครน อักษร В อาจจะถูกอ่านเป็น // ที่ไร้เสียงให้คล้ายกับภาษารัสเซีย ซึ่งไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ยกตัวอย่างคำว่า сказав ภาษายูเครนมาตรฐานจะอ่านว่า skazaw สคาซาว ในขณะที่ภาคตะวันออกจะอ่านว่า skazaf สคาซาฟ ในภาษาเบลารุส อักษร В จะออกเสียงเป็น // เท่านั้น แต่เมื่ออักษรตัวนี้ไปปรากฏอยู่ท้ายคำหรือหน้าพยัญชนะอีกตัวจะเปลี่ยนรูปเป็นอักษร Ў ซึ่งเป็นอักษรที่มีใช้ในภาษานี้เท่านั้นที่แทนเสียง // ตัวอย่าง คำศัพท์ мова (mova โมวา) ที่เป็นคำนาม เมื่อเปลี่ยนรูปไปเป็นคำคุณศัพท์จะกลายเป็น моўный (mownyy โมวนืยอี) และคำนามที่เป็นพหูพจน์จะกลายเป็น моў (mow โมว).

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและВ · ดูเพิ่มเติม »

Г

Ge หรือ He (Г, г) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ออกเสียงเป็น // หรือ // ในภาษาที่แตกต่างกัน อักษรนี้มีพัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก แกมมา และ Г ทั้งตัวใหญ่และตัวเล็ก จะมีรูปร่างเหมือนแกมมาตัวใหญ่ ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ glagoli และมีค่าเท่ากับ 3 ในเลขซีริลลิก ในมาตรฐานของภาษาเซอร์เบีย ภาษาบัลแกเรีย และภาษามาซิโดเนีย อักษร Г จะออกเสียงเป็น // เหมือนกับ g ของคำว่า go ในภาษาอังกฤษ หรือ ก ในภาษาไทย ในภาษารัสเซียก็อ่านเป็น // เช่นกัน ยกเว้นเมื่อปรากฏท้ายคำจะเป็น // ที่ไร้เสียง (สะกดด้วย ก) หรือออกเสียงเป็น // ก่อนเสียงสระเพดานแข็ง มีอยู่น้อยคำที่อักษรนี้ปรากฏอยู่ตรงกลางแล้วออกเสียงเป็น // เช่น ураган urakan อูราคัน หมายถึง เฮอร์ริเคน ในภาษายูเครนและภาษาเบลารุส จะเรียกอักษรนี้ว่า He ใช้แทนเสียงเสียดแทรกในลำคอ // ไม่เหมือนเสียง h ของภาษาอังกฤษ สำหรับภาษายูเครนนั้น เสียง // นั้นหาที่ใช้ได้น้อย แต่เมื่อต้องการใช้จะเปลี่ยนรูปเขียนเป็น Ge with upturn (Ґ, ґ) แทน ส่วนภาษาเบลารุส แม้อักษร Г จะมีใช้บ่อย เพื่อแทนคำที่ยืมมาจากภาษาโปแลนด์และภาษารัสเซีย แต่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 การใช้เสียงนี้ในภาษาก็ได้หมดความสำคัญไป การเพิ่มตัวอักษร Г ลงในภาษาเบลารุสยังคงได้รับการยอมรับเฉพาะนักภาษาศาสตร์บางท่าน แต่ยังไม่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและГ · ดูเพิ่มเติม »

Д

De (Д, д) เป็นอักษรตัวหนึ่งของอักษรซีริลลิก อักษรตัวนี้ใช้ออกเสียง // เหมือนเสียง d ในภาษาอังกฤษ หรือ ด ในภาษาไทย แต่เมื่อไปปรากฏเป็นตัวสุดท้ายของคำจะกลายเป็น // ที่ไม่ออกเสียง และกลายเป็น // เมื่ออยู่ก่อนหน้าเสียงสระเพดานแข็ง อักษร Д มีพัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก เดลตา ลักษณะแตกต่างที่เห็นได้ชัดจากเดลตาคืออักษรนี้มี "เท้า" อยู่ที่มุมด้านล่าง อย่างไรก็ตาม อักษรตัวนี้สามารถเขียนได้สองรูปแบบคือ ยอดด้านบนที่ตัดเป็นเหลี่ยม หรือยอดมุมแหลมเหมือนเดลตา สำหรับอักษร El (Л, л) ก็เขียนในลักษณะนี้เช่นกัน อักษรนี้มีชื่อเดิมว่า dobro และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 4.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและД · ดูเพิ่มเติม »

Є

Ye (Є, є) คืออักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก ใช้เฉพาะในภาษายูเครน เพื่อออกเสียงสระ // (เย) ให้เหมือนกับ Ye (Е, е) ในภาษาเบลารุสและภาษารัสเซีย อักษรนี้เป็นรูปดั้งเดิมที่คล้ายกับอักษร Ye ในสมัยโบราณ ไม่ควรสับสนระหว่างตัวอักษร Є กับเครื่องหมายสกุลเงินยูโร € ซึ่งมีสองขีดตรงกลาง.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและЄ · ดูเพิ่มเติม »

І

I (І, і) หรือบางครั้งก็เรียกว่า Decimal I หรือ Dotted I เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีใช้เฉพาะในภาษาเบลารุส ภาษาคาซัก และภาษายูเครน ใช้แทนเสียงสระ // (อี) เหมือนอักษร И ของภาษารัสเซีย อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไอโอตา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ i และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 10 อักษร І เคยใช้เป็นอักษรในภาษารัสเซีย จนถึง พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) ได้เกิดการปฏิวัติอักขรวิธีโดยสหภาพโซเวียต อักษรนี้จึงถูกยกเลิกไป แต่ยังคงมีการใช้ในบางประเทศที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและІ · ดูเพิ่มเติม »

Е

Ye หรือ E (Е, е) เป็นอักษรตัวหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีรูปร่างลักษณะเหมือนอักษรละติน E มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก เอปไซลอน ชื่อเดิมของตัวอักษรนี้คือ estǐ และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 5 ในภาษาบัลแกเรีย ภาษามาซิโดเนีย ภาษาเซอร์เบีย และภาษายูเครน จะเรียกอักษรนี้ว่า "E" และใช้แทนเสียง // หรือ // (เอ หรือ แอ) ส่วนภาษาเบลารุสและภาษารัสเซีย จะเรียกตัวอักษรนี้ว่า "Ye" และใช้แทนเสียงสระที่เลื่อนขึ้นไปทางเพดานแข็ง โดยอ่านเป็น /, / หรือ /, / (เย หรือ แย) ให้ควบเสียงเข้ากับพยัญชนะที่อยู่ข้างหน้า แต่เสียงที่เปล่งออกมานั้นไม่ค่อยมีความแตกต่างจาก "E" มากนัก สำหรับภาษายูเครน เมื่อต้องการอ่านเสียงให้เป็น "Ye" จะเปลี่ยนไปใช้ Є แทน.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและЕ · ดูเพิ่มเติม »

Л

El (Л, л) เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก แลมบ์ดา ใช้แทนเสียงพยัญชนะ // เหมือน l ในภาษาอังกฤษ หรือ ล ในภาษาไทย หรือเปลี่ยนเป็น // เมื่ออยู่หน้าสระที่ออกเสียงเลื่อนไปทางเพดานแข็ง อักษรตัวนี้มีชื่อเดิมคือ ljudije และมีค่าเท่ากับ 30 ในเลขซีริลลิก อักษร Л ในรูปแบบตัวพิมพ์ มีรูปร่างคล้าย "หมวก" ที่มีเส้นโค้งด้านซ้ายและเส้นตรงด้านขวา และไม่ควรจำสับสนกับอักษร Pe (П, п) ซึ่งเป็นเส้นตรงทั้งสองด้าน.

ใหม่!!: อักษรฮีบรูและЛ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »