โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานคร

ดัชนี รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานคร

ต่อไปนี้คือ ตลาดในกรุงเทพมหานคร.

49 ความสัมพันธ์: บางกอกน้อยพระบรมมหาราชวังพระโขนงกรุงเทพมหานครรถไฟวังเทเวศร์สะพานใหม่สำเพ็งสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)หนองจอกหนองแขมธนบุรีถนนบรมราชชนนีถนนพระรามที่ 2ถนนพรานนกถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4ถนนพัฒน์พงศ์ถนนพุทธมณฑล สาย 1ถนนกัลปพฤกษ์ถนนกำแพงเพชรถนนราชพฤกษ์ถนนสุขุมวิทถนนประชาอุทิศ (ฝั่งธนบุรี)ท่าพระจันทร์คลองตันตลาดตลาดบางแคตลาดพลูตลาดธนบุรีตลาดประตูน้ำตลาดนัดจตุจักรตลาดนางเลิ้งตลาดน้ำตลิ่งชันตลาดโบ๊เบ๊ตลิ่งชันซีคอนสแควร์ปากคลองตลาดปิ่นเกล้าแม่น้ำเจ้าพระยาแยกบ้านเนินแยกทศกัณฑ์แฮปปี้แลนด์แขวงบางปะกอกเอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์เขตบางพลัดเขตบางกะปิเขตมีนบุรีเขตคลองสานเขตคลองเตย

บางกอกน้อย

งกอกน้อย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและบางกอกน้อย · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ. 2549 เป็นจำนวนถึง 8,995,000 คน.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและพระบรมมหาราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระโขนง

ระโขนง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟ

ี-ซีรีส์ ของประเทศออสเตรเลีย รถไฟความเร็วสูง '''อีเซเอ''' ของประเทศเยอรมนี รถไฟ เป็นกลุ่มของยานพาหนะที่เคลื่อนที่ไปตามรางเพื่อการขนส่งสินค้าหรือผู้โดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง รางส่วนใหญ่มักจะประกอบด้วยราง 2 เส้นขนานกัน แต่ยังหมายรวมถึงประเภทรางเดี่ยวหรือประเภทที่ใช้พลังแม่เหล็กด้วย รถไฟจะขับเคลื่อนด้วยหัวรถจักรหรือขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์หลายๆตัวที่ติดอยู่ใต้ท้องรถ รถไฟสมัยใหม่จะใช้กำลังจากหัวรถจักรดีเซลหรือจากไฟฟ้าที่ส่งมาตามสายไฟที่อยู่เหนือตัวรถหรือตามรางสาม (Third Rail) เดิม รถไฟขับเคลื่อนโดยใช้หม้อต้มน้ำทำให้เกิดไอน้ำ ไอน้ำทำให้เกิดแรงดัน แรงดันจะทำการขับเคลื่อนกลไกทำให้ล้อรถไฟเคลื่อนที่ได้ การที่ใช้ฟืนเป็นแหล่งพลังงานในการต้มน้ำ และฟืนที่ทำให้เกิดเปลวไฟ ทำให้เรียกรถชนิดนี้ว่า รถจักรไอน้ำ รถไฟแบ่งได้หลายประเภท ได้แก่ หัวรถจักร, รถดีเซลราง, รถโดยสาร และ รถสินค้.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและรถไฟ · ดูเพิ่มเติม »

วังเทเวศร์

วังเทเวศร์ หรือ วังพลตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ เป็นวังที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ หม่อมเจ้าอัปสรสมาน กิติยากร และทายาทในราชสกุลกิติยากร ตั้งอยู่บริเวณถนนกรุงเกษม ปากคลองผดุงกรุงเกษม ริมแม่น้ำเจ้าพระยา แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ทางทิศใต้ติดกับวังเทวะเวสม์ ทางทิศตะวันออกติดกับวัดนรนาถสุนทริการามพระตำหนักพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ (พระตำหนักใหญ่) ภายในวังเทเวศร์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานที่ดินบริเวณป้อมหักกำลังดัสกรซึ่งไม่ได้ใช้งานแล้ว สร้างพระตำหนักพระราชทาน รวมกับที่สวนอีก 2 แปลงที่ทรงซื้อไว้ และที่ดินฝ่ายเจ้าจอมมารดาเหม พระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ซึ่งพระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ น้อมเกล้าฯ ถวายรวมเป็นอาณาบริเวณตั้งแต่ริมแม่น้ำเจ้าพระยามาจนถึงบริเวณถนนกรุงเกษม ตำหนักในวังเทเวศร์ ประกอบด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและวังเทเวศร์ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานใหม่

ถนนพหลโยธินย่านสะพานใหม่ (มุมมองจากสะพานลอย) สะพานใหม่ เป็นย่านการค้าตั้งอยู่บริเวณส่วนใหญ่ในแขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน และบางส่วนในแขวงคลองถนน เขตสายไหม คือบริเวณสองข้างทางของถนนพหลโยธิน ตั้งแต่ด้านทิศใต้คือวงเวียนอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ ไปจนถึงด้านทิศเหนือคือสะพานข้ามคลองสอง (คลองสองหรือคลองถนนคือคลองสายเดียวกัน) ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร เหตุที่ย่านการค้านี้ชื่อ สะพานใหม่ เนื่องจากสะพานข้ามคลองสองนั้นมีชื่อเต็มว่า สะพานสุกรนาคเสนีย์ ซึ่งสร้างใหม่แทนสะพานของเดิม (ไม่ทราบปีที่สร้าง) ชาวบ้านในละแวกนั้นจึงเรียกกันว่า สะพานใหม่ และติดปากมาจนถึงปัจจุบัน สะพานใหม่มีตลาดสดที่สำคัญคือ ตลาดยิ่งเจริญ ก่อตั้งโดย นางสุวพีร์ ธรรมวัฒนะ มารดาของนายห้างทอง ธรรมวัฒนะ อดีตนักการเมือง เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและสะพานใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สำเพ็ง

ตลาดสำเพ็งในปัจจุบัน แผนที่ของเขตสัมพันธวงศ์ (สำเพ็งปรากฏอยู่ในชื่อ Wanit 1 Road หรือ Sampheng Road ซึ่งเริ่มมาจากย่านตลาดน้อย ในขณะที่ส่วนที่เป็นย่านการค้าที่คึกคัก จะเริ่มต้นจากบริเวณถนนราชวงศ์ไปจนสิ้นสุดที่ฝั่งถนนจักรเพชร ในเขตพระนคร) สำเพ็ง หรือ สามเพ็ง (อักษรโรมัน: Sampheng) เป็นย่านการค้าแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในแขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ อยู่ใกล้กับย่านเยาวราช, ถนนราชวงศ์ และต่อเนื่องไปถึงสะพานหัน, พาหุรัดและวังบูรพา ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร ทั้งนี้สำเพ็งในปัจจุบัน รู้จักกันดีในชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซอยวานิช 1 และในช่วงระหว่างสะพานหันถึงถนนจักรวรรดิเรียกว่า ตรอกหัวเม็ด สำเพ็งเริ่มต้นจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช องค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงสถาปนาสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยา ให้เป็นราชธานีแห่งใหม่แทนที่กรุงธนบุรี ในปี.ศ 2325 โดยมีพระบรมมหาราชวังตั้งขึ้นในพื้นที่ ๆ แต่เดิมเป็นที่ตั้งของชุมชนชาวจีน และโปรดให้ย้ายชุมชนชาวจีนออกไปตั้งถิ่นฐานใหม่นอกประตูพระนครทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ขนานไปกับลำน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม (วัดจักรวรรดิราชาวาส) ไปจนถึงคลองสามเพ็ง หรือสำเพ็ง ที่มาของชื่อ "สำเพ็ง" นั้นไม่มีใครทราบว่ามีความหมายว่ากระไร หรือมาจากคำว่าอะไร ได้มีผู้สันนิษฐานไปต่าง ๆ นานา บ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามแพร่ง" หรือมาคำจีนแต้จิ๋วว่า "สามเผง" (อักษรจีน: 三聘; จีนกลางออกเสียง ซั้นผิ่ง) แปลตรงตัวได้ว่า "ศานติทั้งสาม" ซึ่งก็ไม่มีใครทราบความหมายหรือคำแปลที่แท้จริง หรือบ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามปลื้ม" ก็มี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการค้าของชาวจีนที่ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในย่านสำเพ็งเติบโตขึ้นเป็นลำดับ ชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อการค้ากับสยามประเทศ เรียกขานย่านสำเพ็งว่า "ตลาดจีน" หรือ "Chinese Bazaar" ในบันทึกของมิชชันนารีที่ได้เข้ามาเยี่ยมดูย่านสำเพ็งในปี..

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและสำเพ็ง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)

นีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) หรือ สายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน) เป็นสถานีขนส่ง สำหรับรถโดยสารทางไกล สายใต้ และสายตะวันตกบางส่วน เป็นสถานีขนส่งเอกชน สร้างและบริหารโดย บริษัท สิริโปรเจกต์ คอนสทรัคชั่น จำกัด โดยได้รับสัมปทานจาก บริษัท ขนส่ง จำกัด กระทรวงคมนาคม เป็นระยะเวลา 20 ปี ปัจจุบันก่อสร้างเรียบร้อยและเปิดให้บริการเดินรถสายใต้ทั้งหมด ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปเปิดเดินรถในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 และมีกำหนดเริ่มการเดินรถสายตะวันตกในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ส่วนพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ จะดำเนินการในภายหลัง เนื่องจากขั้นต้นยังเป็นการเดินรถทดลองระบบ นอกจากนี้สถานีขนส่งแห่งนี้ ยังเป็นสถานีขนส่งที่มีมาตรฐานความปลอดภัยในระดับสูง มีระบบการจัดการคล้ายท่าอากาศยาน กล่าาวคือ ผู้ที่ไม่มีตั๋วโดยสาร จะไม่สามารถเข้าสู่เขตชานชาลาได้ ตั้งอยู่ที่หัวมุมถนนบรมราชชนนี ตัดกับ ถนนพุทธมณฑลสาย 1 แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน ห่างจากสถานีเดิมไปทางตะวันตก (ออกเมือง) บนฝั่งซ้ายของถนนบรมราชชนนี เช่นเดียวกัน ประมาณ 5 กิโลเมตร อาคารผู้โดยสาร.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) · ดูเพิ่มเติม »

หนองจอก

หนองจอก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและหนองจอก · ดูเพิ่มเติม »

หนองแขม

หนองแขม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและหนองแขม · ดูเพิ่มเติม »

ธนบุรี

นบุรี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบรมราชชนนี

นนบรมราชชนนี (Thanon Borommaratchachonnani) เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร ระหว่างเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระยะทางรวม 33.984 กิโลเมตร เฉพาะส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 สายอรุณอมรินทร์–นครชัยศรี และมีระยะทาง 31.265 กิโลเมตร.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 2

นนพระรามที่ 2 (Thanon Rama II) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 สายธนบุรี–ปากท่อ เป็นถนนที่ตัดผ่านกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่มุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย และยังเป็นหนึ่งในถนนพระรามทั้ง 7 สาย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ยกเว้นถนนพระรามที่ 2 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนพระรามที่ 2 มีระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนพระรามที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพรานนก

นนพรานนก (Thanon Phran Nok) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนจรัญสนิทวงศ์ที่ทางแยกไฟฉาย ตรงไปทางทิศตะวันออก ไปสิ้นสุดที่ทางแยกพรานนกซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนอิสรภาพ เดิมถนนเส้นนี้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3188 ในความดูแลของกรมทางหลวง ต่อมาโอนให้กรุงเทพมหานครเป็นผู้ดูแล ปัจจุบันถนนพรานนกเป็นถนนสายสำคัญที่เชื่อมต่อระหว่างถนนจรัญสนิทวงศ์กับถนนอิสรภาพ เป็นทางเชื่อมต่อระหว่างย่านที่พักอาศัยบริเวณถนนจรัญสนิทวงศ์ ทั้งยังเป็นถนนที่มีการจราจรคับคั่งตลอดทั้งวัน โดยเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วนทั้งเช้าและเย็น.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนพรานนก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4

นนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 เป็นโครงการก่อสร้างถนนตัดใหม่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ฝั่งธนบุรี) และจังหวัดนครปฐม โดยต่อขยายถนนพรานนก จากสามแยกไฟฉาย ไปบรรจบถนนพุทธมณฑล สาย 4 ระยะทาง 16.4 กิโลเมตร ชาวบ้านเรียกกันว่า "ถนนพระเทพ" หรือ "ถนนจรัญ-กาญจนา".

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพัฒน์พงศ์

นักเต้นย่านพัฒน์พงศ์ พัฒน์พงศ์ เป็นย่านบันเทิงยามราตรีของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนพัฒน์พงศ์ซึ่งเชื่อมระหว่างถนนสีลมกับถนนสุรวงศ์ แขวงสีลม เขตบางรัก จัดเป็นย่านโคมแดงที่เป็นที่นิยมในหมู่นักท่องเที่ยวต่างชาติ ประกอบไปด้วยคลับ บาร์ ที่มีการแสดงการเต้นอะโกโก้ และอาจมีการค้าประเวณี ตั้งอยู่บนถนนพัฒน์พงศ์ซอย 1 และพัฒน์พงศ์ซอย 2 และยังอยู่ใกล้เคียงกับถนนธนิยะ ที่เป็นย่านค้าบริการระดับสูง เน้นให้บริการเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่น ไม่ให้บริการลูกค้าชาวไทย และซอยจารุวรรณ หรือรู้จักกันในชื่อ "พัฒน์พงศ์ซอย 3" หรือ "สีลม ซอย 4" ที่เป็นย่านให้บริการเฉพาะลูกค้าเกย์ นอกจากชื่อในด้านธุรกิจบริการแล้ว พัฒน์พงศ์ยังเป็นย่านที่มีแผงลอยขายสินค้าในเวลากลางคืน มีชื่อเสียงเรื่องสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ เช่น แผ่นซีดี ดีวีดี และสินค้าเลียนแ.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนพัฒน์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 1

นนพุทธมณฑล สาย 1 (Thanon Phutthamonthon Sai 1) เป็นถนนสายหนึ่งในท้องที่เขตภาษีเจริญและเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเพชรเกษม ซ้อนทับแนวซอยเพชรเกษม 60/2 เดิม มุ่งตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนบางแวกและถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 ซ้อนทับและตัดผ่านแนวถนนพุทธมณฑล สาย 1 (สายเดิม) ซึ่งมีลักษณะคดเคี้ยว จากนั้นตัดกับถนนบรมราชชนนีและถนนสวนผัก ไปสิ้นสุดที่ทางรถไฟสายใต้ โครงการถนนพุทธมณฑล สาย 1 เกิดขึ้นพร้อมกับโครงการจัดตั้งพุทธมณฑลเพื่อฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ทางราชการได้เวนคืนที่ดินโดยจ่ายเงินบางส่วนแก่เจ้าของที่ดิน แต่ทิ้งการดำเนินการไว้เป็นเวลานานจึงกลับมาดำเนินการต่อ ทำให้เกิดข้อพิพาทกับเอกชนเจ้าของที่ดิน เป็นปัญหายืดเยื้อทำให้ไม่อาจสร้างถนนได้เป็นเวลานานมากจนบางคนเรียกว่า "ถนนเจ็ดชั่วโคตร" ต่อมากรุงเทพมหานครได้ยินยอมจ่ายค่าเวนคืนที่ดินในอัตราที่เป็นที่พอใจของเจ้าของที่ดิน จึงดำเนินการก่อสร้างต่อได้ ปัจจุบันใช้สัญจรได้แล้ว.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนพุทธมณฑล สาย 1 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกัลปพฤกษ์

นนกัลปพฤกษ์ (Thanon Kanlapaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท กท.1001 เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยเป็นถนนคอนกรีตขนาด 4 ช่องจราจร เชื่อมต่อระหว่างถนนราชพฤกษ์กับถนนกาญจนาภิเษก.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนกัลปพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกำแพงเพชร

นนกำแพงเพชร (Thanon Kamphaeng Phet) เป็นถนนที่สร้างขึ้นในเขตการรถไฟแห่งประเทศไทย บ้างขนานกับรางรถไฟ บ้างก็ไม่ขนานเป็นถนนโดด ตั้งชื่อว่าถนนกำแพงเพชร เพื่อระลึกถึง กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน บิดาแห่งกิจการรถไฟ ในตอนแรก การรถไฟแห่งประเทศไทย มีความประสงค์ที่จะตั้งชื่อถนนชุดนี้ว่า "ถนนบุรฉัตร" ตามพระนามเดิมใน กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ได้พระราชทานนามถนนในเขตที่ดินรถไฟชุดนี้ว่า "ถนนกำแพงเพชร".

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชพฤกษ์

นนราชพฤกษ์ (Thanon Ratchaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท น.3021 สายราชพฤกษ์ เป็นถนนที่ทอดยาวจากกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดนนทบุรี เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่ง โดยสามารถเดินทางจากถนนสาทรถึงอำเภอบางบัวทองได้โดยไม่ต้องผ่านทางแยกสัญญาณไฟจราจร (ไม่ติดไฟแดง) แม้แต่แห่งเดียว.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุขุมวิท

นนสุขุมวิท (Thanon Sukhumvit) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 สายบางนา–หาดเล็ก เป็นหนึ่งในทางหลวงแผ่นดินสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย จุดเริ่มต้นเชื่อมต่อจากถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางไปตามชายทะเลภาคตะวันออก และสิ้นสุดที่อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ติดต่อกับชายแดนจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา รวมระยะทางยาวทั้งสิ้นประมาณ 488 กิโลเมตร.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประชาอุทิศ (ฝั่งธนบุรี)

นนประชาอุทิศ (Thanon Pracha Uthit) เป็นถนนที่แยกจากถนนสุขสวัสดิ์ที่เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร ตัดผ่านทางพิเศษเฉลิมมหานครในท้องที่เขตราษฎร์บูรณะและถนนกาญจนาภิเษก (ด้านใต้) ในท้องที่เขตทุ่งครุ ตัดผ่านมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี แยกนาหลวง วัดทุ่งครุ ไปบรรจบกับถนนเลียบคลองสรรพสามิตที่อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและถนนประชาอุทิศ (ฝั่งธนบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

ท่าพระจันทร์

ท่าพระจันทร์ในยุคปัจจุบัน ท่าพระจันทร์ เป็นท่าเรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บริเวณสุดถนนพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ให้บริการเฉพาะเรือข้ามฟากในเส้นทางท่าพระจันทร์-วังหลัง และท่าพระจันทร์-พระปิ่นเกล้า บริเวณท่าเรือแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์ ซึ่งเป็นป้อมแห่งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตามแนวกำแพงพระนครด้านตะวันตก ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ใช้บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นท้องสนามหลวง ถนนหน้าพระธาตุ ป้อมต่าง ๆ รอบกำแพงพระราชวังบวรสถานมงคลถูกรื้อลงหมดรวมถึงป้อมพระจันทร์ด้วย ถนนที่ตัดตรงสู่บริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์จึงมีชื่อว่า "ถนนพระจันทร์" และท่าน้ำในบริเวณที่เคยเป็นที่ตั้งของป้อมพระจันทร์จึงเรียกว่า "ท่าพระจันทร์" มาจนถึงปัจจุบัน ใช้เป็นท่าเรือโดยสารซึ่งมีบริษัทเอกชนเป็นผู้ดำเนินกิจการเดินเรือข้ามฟากที่ประมูลมาจากกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน บริเวณท่าพระจันทร์เป็นแหล่งการค้าที่คึกคักมาก โดยเฉพาะในช่วงเวลาเย็น โดยเป็นที่รู้จักกันดีของการเป็นตลาดพระเครื่องและวัตถุมงคลต่าง ๆ รวมถึงร้านค้า, ร้านอาหาร, ร้านหนังสือต่าง ๆ อีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและท่าพระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คลองตัน

ลองตัน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและคลองตัน · ดูเพิ่มเติม »

ตลาด

ตลาดสดในสิงคโปร์ ตลาด เป็นการชุมนุมกันทางสังคม แลกเปลี่ยนสินค้ากัน ในภาษาทั่วไป ตลาดหมายความรวมถึงสถานที่ที่มนุษย์มาชุมนุมกันเพื่อค้าขาย ในทางเศรษฐศาสตร์ ตลาดหมายถึงการแลกเปลี่ยนซื้อขาย โดยไม่มีความหมายของสถานที่ทางกายภาพ การค้าขายของไทยสมัยก่อนนั้น เน้นทางน้ำเป็นหลัก เพราะการคมนาคมทางน้ำเป็นการคมนาคมหลักของคนไทย ซึ่งอาจจะเห็นได้จากการมีตลาดน้ำต่าง ๆ ในสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นการเปิดโอกาสให้คนในชุมชนได้ดำเนินกิจกรรมการแลกเปลี่ยน ซื้อขายสินค้าและบริการตามความถนัดของแต่ละครอบครัว เป็นแหล่งรายได้ที่สุจริตของแต่ละครอบครัว เกิดการหมุนเวียนเศรษฐกิจภายในชุมชนรวมถึงจากภายนอกเข้าสู่ชุมชนด้วย และยังก่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีในระดับชุมชน รวมถึงการช่วยธำรงรักษาวัฒนธรรมประเพณีในชุมชน ในกรณีของชุมชนที่มีวัฒนธรรมความเป็นมา จากการที่กลุ่มคนในชุมชนมีการสร้างปฏิสัมพันธ์อันดีด้วยกัน คำว่า "ตลาด" สันนิษฐานว่ามาจากคำว่า "ยี่สาร" ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า "บาซาร์" ในภาษาเปอร์เซีย ซึ่งแปลว่า "ตลาด" ตามชาวเปอร์เซียเริ่มเข้ามาในประเทศไทยสมัยพระเจ้าปราสาททอง.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาด · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดบางแค

ตลาดบางแค หรือ ตลาดสดบางแค เป็นตลาดสดขนาดใหญ่ เก่าแก่และยาวนานแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานครและฝั่งธนบุรี จุดเริ่มต้นตั้งอยู่ที่ ซอยเพชรเกษม 39/1 (ชุมชนแสงหิรัญ) ในแขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ข้ามคลองราชมนตรีเข้าสู่พื้นที่แขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร และ พื้นที่บริเวณตลาดสดบางแคนี้ไปสิ้นสุดตรงทางแยกบางแค (ถนนบางแค) ในแขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร ตลาดบางแค มีจุดกำเนิดจากการที่พื้นที่ตรงนี้เป็นชุมชนมาแต่ดั้งเดิม และเป็นเส้นทางสัญจรไปมาของผู้คนโดยเรือผ่านทางคลองภาษีเจริญ และคลองบางแค จึงมีการค้าขายกันเป็นวิถีชีวิต ต่อมาในยุคก่อนพุทธศักราช 2500 รัฐบาลโดย จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีมีนโยบายต้องการให้กรุงเทพมหานครมีความสวยสะอาด มีระเบียบวินัย หลวงพรหมโยธี นายกเทศมนตรีพระนคร ได้กวดขันให้แม่ค้าหาบเร่ตามสถานที่ต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เช่น ท้องสนามหลวง, ลานพระบรมรูปทรงม้า ย้ายมาขาย ณ ที่แห่งใหม่ เช่น สะพานเทเวศน์, ท่าเตียน, ถนนวรจักร, หน้าโรงไฟฟ้าสามเสน รวมถึง ณ ที่แห่งนี้ด้วย ซึ่งตลาดสดบางแคมีของขายมากมายอาทิ เช่น ผัก, ผลไม้, ขนมหวาน, ข้าวแกงต่าง ๆ ฯลฯ ในปี..

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดบางแค · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดพลู

นนเทอดไท ถนนสายหลักของตลาดพลู สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส ตลาดพลู ตลาดพลู เป็นชุมชนและทางแยกตั้งอยู่บริเวณถนนเทอดไท แขวงตลาดพลู เขตธนบุรี ติดกับคลองบางหลวง หรือคลองบางกอกใหญ่ แต่เดิมนั้นเป็นพื้นที่ของชาวจีนที่มาตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี ต่อมาเมื่อย้ายราชธานีไปยังฝั่งพระนคร ชาวจีนบางส่วนที่ตลาดพลูจึงได้ย้ายไปสำเพ็ง และมีชาวมุสลิมจากภาคใต้ที่เข้ามาแทนที่ ได้ริเริ่มการทำสวนพลูที่นี่ ซึ่งทั้งชาวมุสลิมและชาวจีนต่างทำสวนพลูจนเป็นอาชีพที่แพร่หลาย จนเป็นตลาดซื้อขายพลู ที่เรียกว่าตลาดพลู จนบัดนี้ ในอดีต ตลาดพลูเป็นย่านที่มีความคึกคักมาก มีโรงภาพยนตร์ 2 โรง จนมีคำกล่าวว่า "เยาวราชมีอะไร ตลาดพลูก็มีอย่างนั้น" ตลาดพลู ขึ้นชื่ออย่างมากในเรื่องของเป็นแหล่งขายอาหารที่หลากหลาย โดยเฉพาะอาหารจีนที่เป็นอาหารริมทาง เช่น ข้าวหมูแดง, ไอศกรีมกะทิไข่แข็ง, ก๋วยเตี๋ยวและเกาเหลาเนื้อ, ขนมไทย, เย็นตาโฟ, หมี่กรอบ, ขนมเบื้องทั้งของไทยและญวน รวมถึง ขนมบดิน ขนมเค้กแบบดั้งเดิมของชาวมุสลิมด้านมัสยิดสวนพลู และที่มีชื่ออย่างมากคือ ขนมกุยช่าย ซึ่งเป็นอาหารกินเล่นหรือขนมของชาวแต้จิ๋ว.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดพลู · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดธนบุรี

ป้ายทางเข้าตลาดธนบุรี ตลาดธนบุรี หรือที่นิยมเรียกติดปากว่า สนามหลวง 2 ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 195/1 หมู่ที่ 1 ถนนทวีวัฒนา แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดประตูน้ำ

ประชาชนที่ซื้อของที่ประตูน้ำ ตลาดประตูน้ำ เป็นหนึ่งในตลาดหลักของกรุงเทพมหานคร และเป็นตลาดขายเสื้อผ้าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดประตูน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดนัดจตุจักร

รรยากาศตลาดนัดจตุจักร บริเวณถนนหน้าโครงการ 11 - 13 คนหนาแน่นในช่วงเย็น บริเวณโครงการ 1 และ โครงการ 26 ตลาดนัดจตุจักร เป็นตลาดนัดในกรุงเทพมหานคร มีจำนวนแผงค้าทั้งหมดมากกว่า 8,000 แผงค้า แบ่งเป็น 27 โครงการ มีสินค้า 8 ประเภท ได้แก่ ผักและผลไม้ เสื้อผ้า สัตว์เลี้ยง ต้นไม้ อาหารปรุง อาหารสำเร็จรูป อาหารสด และเบ็ดเตล็.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดนัดจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดนางเลิ้ง

ตลาดนางเลิ้ง เป็นชุมชนและตลาดที่ตั้งอยู่บนถนนนครสวรรค์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็นตลาดบกแห่งแรกของประเทศไทย มีอายุยาวนานกว่า 100 ปี ตลาดนางเลิ้งก่อตั้งมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เปิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2443 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดเอง แต่เดิมเรียกว่าบ้านสนามควาย ก่อนจะเรียกว่า “อีเลิ้ง” ตามชื่อคือตุ่มชนิดหนึ่งของชาวมอญ จนมาเปลี่ยนชื่ออีกครั้งในยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ว่า “นางเลิ้ง” สถานที่สำคัญของตลาดนางเลิ้งได้แก่ โรงภาพยนตร์เฉลิมธานี ที่มีอายุเก่าแก่กว่า 80 ปี สร้างขึ้นสมัยรัชกาลที่ 6 เป็นที่บันเทิงที่จะได้ชมภาพยนตร์จากทุกชาติทั้งไทย, จีน อินเดีย, ฝรั่ง จากจำนวนคนดูที่เคยมากถึงรอบละ 300–400 คนก็เหลือเพียงรอบละไม่ถึง 10 คน จนต้องเลิกฉายไปเมื่อปี พ.ศ. 2536 ปัจจุบันเป็นเพียงโกดังเก็บของ ปัจจุบัน ตลาดนางเลิ้ง เป็นชุมชนที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร อาคารบ้านเรือนแถบนี้มีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม และเป็นตลาดและย่านที่ขึ้นชื่ออย่างมากด้านอาหารนานาชนิด เช่น ขนมหวาน และที่ขึ้นชื่ออย่างมาก คือ กล้วยทอด หรือกล้วยแขก ที่มีขายกันหลายรายริมถนนรอบด้านจนเป็นที่เลื่องชื่อ ในการชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดงเมื่อปี พ.ศ. 2552 ตลาดนางเลิ้งเป็นแห่งหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการชุมนุมด้วย มีผู้เสียชีวิต 2 คนเป็นบุคคลในชุมชน จากการออกมาปกป้องชุมชนแห่งนี้.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดนางเลิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดน้ำตลิ่งชัน

ตลาดน้ำตลิ่งชัน เป็นตลาดน้ำริมคลองชักพระ แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร ตลาดน้ำตลิ่งชัน ตั้งอยู่บริเวณหน้าสำนักงานเขตตลิ่งชัน เปิดดำเนินการในวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 07.00-17.00 น. มีสินค้ามากมายจัดจำหน่าย โดยช่วงแรกของทางเข้ามีไม้ดอกไม้ประดับจำหน่าย ถัดมาจะเป็นร้านขายขนมไทยและอาหารของฝาก ภายในตลาดนั้นได้มีการจัดทำเรือนแพลอยน้ำ ให้นักท่องเที่ยวได้ซื้ออาหารจากพ่อค้าแม่เค้าที่ขายบนเรือมานั่งรับประทานบนแพ พร้อมชมบรรยากาศ ในคลองมีฝูงปลาสวายมากมายว่ายอยู่ด้านข้างให้ได้ชมอย่างเพลิดเพลิน และมีบริการเรือนำเที่ยวพาไปยังสถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง เช่น วัดปากน้ำภาษีเจริญ โดยซื้อตั๋วได้บนฝั่ง.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดน้ำตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดโบ๊เบ๊

ทางเข้าตลาดโบ๊เบ๊สะพาน 4 ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับมัสยิดมหานาค ตลาดโบ๊เบ๊ หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า โบ๊เบ๊ (Bo-Be Market, Bo-Be) เป็นตลาดแห่งหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ระหว่างแยกกษัตริย์ศึก (ยศเส) กับแยกสะพานขาว โดยเลียบไปกับคลองผดุงกรุงเกษมตัดกับคลองมหานาค เป็นตลาดที่เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นตลาดขายส่งเสื้อผ้าราคาถูก ตลาดโบ๊เบ๊ เดิมเป็นชุมชนที่เกิดขึ้นราว..

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลาดโบ๊เบ๊ · ดูเพิ่มเติม »

ตลิ่งชัน

ตลิ่งชัน สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและตลิ่งชัน · ดูเพิ่มเติม »

ซีคอนสแควร์

ซีคอนสแควร์ (Seacon Square) เป็นศูนย์การค้า ดำเนินโครงการโดย บริษัท ซีคอน ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นการร่วมทุนระหว่าง กลุ่มซีคอน (ตระกูลซอโสตถิกุล) และสถาบันการเงิน 5 แห่ง ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 77 ไร่ ริมถนนศรีนครินทร์ ระหว่าง แยกศรีนุช และ แยกศรีอุดม มีระยะห่างจากถนนเทพรัตน 2 กิโลเมตร และห่างจากทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (กรุงเทพ-ชลบุรี) 3 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังใกล้กับสวนหลวง ร.9 และท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและซีคอนสแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปากคลองตลาด

ตลาดดอกไม้ ปากคลองตลาด (Pak Khlong Talat) เป็นตลาดสดขนาดใหญ่ บริเวณถนนจักรเพชร ยาวจนไปถึงถนนมหาราช ตั้งโอบล้อมวัดราชบูรณะ โรงเรียนราชินีและโรงเรียนสวนกุหลาบ ประกอบไปด้วยตลาดใหญ่ถึง 4 แห่งตั้งติด ๆ กัน ปัจจุบันเน้นขายสินค้าเกษตรกรรมที่เน้นการค้าส่งผัก ผลไม้และดอกไม้สด ปากคลองตลาดติดอันดับที่ 4 (จากการจัดอันดับ 1 ใน 10 ของตลาดดอกไม้ทั่วโลก) ยังเป็นตลาดกล้วยไม้ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและปากคลองตลาด · ดูเพิ่มเติม »

ปิ่นเกล้า

ปิ่นเกล้า โดยทั่วไปเป็นชื่อเรียกพื้นที่บริเวณหนึ่งของฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร บริเวณถนนบรมราชชนนี, แยกบรมราชชนนี จนถึงสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า นิยมเรียกชื่อสถานที่ ที่ตั้งอยู่บริเวณนั่นและตามด้วยคำว่า ปิ่นเกล้า เช่น พาต้า ปิ่นเกล้า, เซ็นทรัล ปิ่นเกล้.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและปิ่นเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แยกบ้านเนิน

แยกบ้านเนิน (Ban Noen Junction) เป็นสามแยกจุดบรรจบ ระหว่างถนนอิสรภาพ, ถนนรถไฟ (เขตบางกอกน้อย) และถนนสุทธาวาส ในพื้นที่เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ใกล้กับบริเวณตลาดศาลาน้ำร้อน (ใหม่) และสถานีรถไฟบางกอกน้อย "บ้านเนิน" เป็นชื่อเรียกย่านบริเวณดังกล่าว มาจากคำว่า "บ้านเนิน-ค่ายหลวง" โดยแต่เดิมตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรีเป็นราชธานี ณ ที่แห่งนี้เป็นชุมชนของช่างฝีมือที่ผลิตเครื่องดนตรีไทยที่มีชื่อเสียงคือ ฆ้องวง ที่ไม่เหมือนกับฆ้องวงของที่อื่น เนื่องจากเป็นฆ้องลงหิน ใช้วิธีการตีขึ้นรูปและบุแบบเดียวกับขันลงหิน จึงทำให้ฆ้องวงที่ผลิตจากที่นี่มีคุณภาพดี ให้เสียงดังกังวาลและไพเราะ และในปัจจุบัน ใกล้กับทางแยก ยังเป็นที่ตั้งของชุมชนตรอกข้าวเม่า (ซอยอิสรภาพ 47) ชุมชนโบราณที่เคยเป็นแหล่งผลิตข้าวเม่าที่มีชื่อเสียง ปัจจุบันเป็นแหล่งผลิตกะละแมและข้าวเหนียวแดง ซึ่งเป็นขนมที่นิยมเตรียมสำหรับงานวันสงกรานต.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและแยกบ้านเนิน · ดูเพิ่มเติม »

แยกทศกัณฑ์

แยกทศกัณฑ์ (Thotsakan Intersection) เป็นสี่แยกถนนบางแวกตัดกับถนนพุทธมณฑล สาย 2 ในพื้นที่เขตบางแค กรุงเทพมหานคร บริเวณใกล้เคียงมีตลาดตั้งอยู่ ทิศเหนือไปถนนบรมราชชนนี ทิศใต้ไปถนนเพชรเกษม ทิศตะวันออกไปถนนกาญจนาภิเษก ทิศตะวันตกไปถนนพุทธมณฑล สาย 3.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและแยกทศกัณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮปปี้แลนด์

แฮปปี้แลนด์ เป็นสวนสนุกกลางแจ้งแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร เข้าทางด้านถนนนวมินทร์หรือถนนสุขาภิบาล 1 ในอดีต เลี้ยวทางธนาคารทหารไทย ผ่านตึกแถวด้านซ้ายมือเข้าไปราว ๆ 400 เมตร ก็จะเป็นบริเวณที่เคยเป็นสวนสนุกขวางอยู่เป็นแนวยาว เคยเป็นที่โชว์ตัวของพระเอกนางเอกจากหนังจีน มังกรหยก คือไป่เปียว กับ หมีเซี้ยะ มีเครื่องเล่นได้แก่ ชิงช้าสวรรค์ รถไฟเหาะ เรือหรรษา ปาเป้า ม้าหมุน ชิงช้า กระดานหก บ้านผีสิง เปิดดำเนินการระหว่าง..

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและแฮปปี้แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางปะกอก

แขวงบางปะกอก เป็นท้องที่การปกครองระดับแขวงหนึ่งในสองแห่งของเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและแขวงบางปะกอก · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์

อเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ (Asiatique The Riverfront) เป็นศูนย์การค้าแนวราบริมแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย ตั้งอยู่ริม แม่น้ำเจ้าพระยา ระหว่างซอยเจริญกรุง 72-76 บริหารงานโดย กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทยรีเทล อินเวสเม้นต์ โดย บริษัท แอสเสท เวิรด์ รีเทล จำกัด ภายในโครงการประกอบด้วยร้านค้า ร้านอาหารริมน้ำ นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของโรงละครคาลิปโซ่ที่ย้ายมาจากโรงแรมเอเชีย และโรงละครโจหลุยส์ที่ย้ายมาจากสวนลุมไนท์บาซาร์อีกด้วย เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ เดิมเคยเป็นที่ตั้งของท่าเรือ และบริษัทอีสต์เอเชียติก บริษัทเดินเรือสัญชาติเดนมาร์ก มาเปิดกิจการในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสร้างเป็นโกดัง โรงเลื่อย และนำเครื่องจักรขนาดใหญ่หลายตัวมาติดตั้งไว้ ในช่วง สงครามมหาเอเชียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ามายึดท่าเรือและคลังสินค้าของบริษัท อีสต์เอเชียติก เพื่อใช้เป็นฐานกำลังและคลังแสง และยังปรากฏมาจนถึงปัจจุบัน กระทั่งในปี พ.ศ. 2555 ได้มีพัฒนาปรับปรุงเป็นศูนย์การค้าอย่างในปัจจุบัน ได้ชื่อว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและช้อปปิ้งที่มีทัศนียภาพที่สวยงาม โดยมีจุดเด่น คือ ชิงช้าสวรรค์ขนาดใหญ่ "เอเชียทีค สกาย" ซึ่งเมื่อขึ้นไปแล้วจะเห็นทัศนียภาพโดยรอบของ กรุงเทพมหานคร ในแบบมุมสูงได้รอบตัว.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางพลัด

ตบางพลัด เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเขตบางพลัด · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกะปิ

ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเขตบางกะปิ · ดูเพิ่มเติม »

เขตมีนบุรี

ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเขตมีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสาน

ตคลองสาน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเขตคลองสาน · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองเตย

ตลาดคลองเตย เขตคลองเตย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: รายชื่อตลาดในกรุงเทพมหานครและเขตคลองเตย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ตลาดในกรุงเทพมหานคร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »