สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาจีนภาษากะเหรี่ยงภาษามาคัรภาษาอู๋ภาษาจีนกลางภาษาจีนกวางตุ้งภาษาจีนกั้นภาษาจีนหมิ่นภาษาทิเบตภาษาแคะภาษาไต้หวันภาษาเลปชาภาษาเซียงภาษาเนวารีตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าเอเชียตะวันออก
- ตระกูลภาษา
กลุ่มภาษาจีน
ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและกลุ่มภาษาจีน
ภาษากะเหรี่ยง
ษากะเหรี่ยงเป็นภาษาในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า มีผู้พูดภาษากะเหรี่ยงอยู่ในไทยและพม่า แบ่งเป็นภาษาย่อยได้ 8 ภาษา คือ.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษากะเหรี่ยง
ภาษามาคัร
ษามาคัร (Magar) เป็นภาษาที่ใช้พูดในเนปาลและสิกขิมโดยชาวมาคัร แบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือกลุ่มตะวันตกและกลุ่มตะวันออก และแบ่งเป็นสำเนียงย่อยอีกมาก.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษามาคัร
ภาษาอู๋
การกระจายตัวของผู้พูดภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาอู๋ (吳方言 พินอิน wú fāng yán; 吳語 พินอิน wú yǔ) เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในมณฑลเจียงซี นครเซี่ยงไฮ้ ทางใต้ของเจียงซู และบางส่วนในอันฮุย เจียงสีและ ฝูเจี้ยน มีผู้พูด 87 ล้านคน (เมื่อปี พ.ศ.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาอู๋
ภาษาจีนกลาง
ษาจีนกลาง (จีนตัวเต็ม: 官話, จีนตัวย่อ: 官话, พินอิน: Guānhuà, ภาษาอังกฤษ: Mandarin) เป็นภาษาหลักของภาษาจีนและเป็น 1 ใน 6 ของภาษาราชการของสหประชาชาติ ในปัจจุบันมีผู้ใช้มากกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาจีนกลาง
ภาษาจีนกวางตุ้ง
ษาจีนกวางตุ้ง (ชาวจีนเรียกว่า 粵 เยฺว่ Yuè หรือ ยฺหวืด Jyut6) เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน บริเวณมณฑลแถบตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง เขตบริหารพิเศษฮ่องกง มาเก๊า และยังใช้มากในหมู่ของชาวจีนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับเหล่าชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลกที่อพยพไปจากมณฑลกวางตุ้งอีกด้วย โดยที่สำเนียงกวางเจาจัดเป็นสำเนียงกลางของภาษาจีนกวางตุ้ง มีผู้พูดทั่วโลกราวๆ 71 ล้านคน ซึ่งภาษากวางตุ้งจัดได้ว่าเป็นภาษาถิ่นอันดับหนึ่งของจีนที่คนพูดมากที่สุด และเป็นภาษาที่ใช้ทางการเป็นอันดับสอง รองลงมาจากภาษาจีนกลางที่เป็นภาษาราชการหลักของประเท.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาจีนกวางตุ้ง
ภาษาจีนกั้น
กั้น (赣语) คือหนึ่งในภาษาของตระกูลกลุ่มภาษาจีน มีผู้พูด 31 ล้านคนในมณฑลหูหนาน เสฉวน มณฑลหูหนาน และมณฑลเจียงซี แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือภาษาเซียงโบราณ และภาษาเซียงสมัยใหม่ที่มีอิทธิพลในภาษาจีนกลางมาก การกระจายตัวของผู้พูดภาษาจีนสำเนียงต่าง.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาจีนกั้น
ภาษาจีนหมิ่น
แผนที่แสดงสำเนียงหลักของภาษาจีนหมิ่น ภาษาหมิ่น เป็นหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน พูดทางตะวันออกเฉียงใต้ ของมณฑลฝูเจี้ยน และผู้ที่อพยพไปมณฑลกวางตุ้ง หูหนาน และไต้หวัน แบ่งย่อยได้เป็น ภาษาหมิ่นเหนือ (Min Bei) ภาษาหมิ่นใต้หรือภาษาจีนฮกเกี้ยน(Min nan) และสำเนียงอื่นๆ เป็นภาษาหลักของชาวจีน ในฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซี.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาจีนหมิ่น
ภาษาทิเบต
ษาทิเบตเป็นภาษาในตระกูลทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตมีภาษาถิ่นหลายกลุ่มคือ ภาษากลาง อยู่ในเขตปกครองตนเองทิเบต เช่นที่ ลาซา สำเนียงคาม อยู่ในเขตแคว้นคาม สำเนียงอัมโด อยู่ในแคว้นอัมโด ภาษาถิ่นอื่น ๆ ได้แก่ภาษาของชนเชื้อสายทิเบตในเนปาล เช่นชาวเศรป.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาทิเบต
ภาษาแคะ
300px ภาษาแคะ ภาษาฮักกา หรือ เค่อเจียฮว่า คือหนึ่งในภาษาของตระกูลกลุ่มภาษาจีน มีผู้พูด 34 ล้านคน เป็นภาษาของชาวฮั่น ที่มีบรรพบุรุษอยู่ในมณฑลเหอหนานและส่านซี ทางเหนือของจีนเมื่อกว่า 2,700 ปีที่แล้วต่อมาชาวแคะอพยพไปทางใต้เข้าสู่มณฑลกวางตุ้งและฝูเจี้ยนและไปเป็นชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาแคะ
ภาษาไต้หวัน
ษาไต้หวัน มักหมายถึง ภาษาฮกเกี้ยน (Taiwanese Hokkien) - ภาษาซึ่งใช้โดยราว ๆ ร้อยละเจ็ดสิบของประชากรในสาธารณรัฐจีน และอาจหมายถึง.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาไต้หวัน
ภาษาเลปชา
ษาเลปชา(อักษรเลปชา: ไฟล์:ᰛᰩᰵ་ᰛᰧᰶᰵ.SVG; Róng ríng)เป็นภาษาที่พูดโดยชาวเลปชา ในรัฐสิกขิม อินเดีย รวมทั้งบางส่วนของเนปาลและภูฏาน เขียนด้วยอักษรเลปชา ต้นกำเนิดของอักษรนี้ยังคลุมเครือ เริ่มแรกเขียนในแนวตั้งแบบเดียวกับอักษรจีน จัดเป็นภาษาท้องถิ่นในบริเวณที่ใช้พูด มีผู้พูดราว 50,000 คน.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาเลปชา
ภาษาเซียง
ษาเซียง (湘語/湘语) คือหนึ่งในภาษาของตระกูลภาษาจีน มีผู้พูด 36 ล้านคนในมณฑลหูหนาน เสฉวน กวางสี และกวางตุ้ง แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือภาษาเซียงโบราณ และภาษาเซียงสมัยใหม่ที่มีอิทธิพลในภาษาจีนกลางมาก.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาเซียง
ภาษาเนวารี
ษาเนวารี หรือเนปาล ภาษา (नेपाल भाषा, Nepal Bhasa, Newah Bhaye) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งของเนปาล อยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า เป็นภาษาในตระกูลนี้เพียงภาษาเดียวที่เขียนด้วยอักษรเทวนาครี พูดโดยชาวเนวาร์ ซึ่งอยู่ในหุบเขากาฏมาณฑุ มีความคล้ายคลึงกับภาษากลุ่มอินโด-อิหร่านด้ว.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและภาษาเนวารี
ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง พม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฏาน อินเดียและปากีสถาน ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผู้พูดภาษาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น George van Driem เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
เอเชียตะวันออก
แผนที่เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย มีพื้นที่ประมาณ 6,640,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 15% ของพื้นที่ทั้งหมดของทวีปเอเชีย ประเทศซึ่งมีพื้นที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีดังต่อไปนี้.
ดู ตระกูลภาษาจีน-ทิเบตและเอเชียตะวันออก
ดูเพิ่มเติม
ตระกูลภาษา
- กลุ่มภาษาคอเคซัสตะวันตกเฉียงเหนือ
- กลุ่มภาษาคอเคซัสใต้
- กลุ่มภาษาตุงกูซิก
- กลุ่มภาษาทรานส์-นิวกินี
- กลุ่มภาษาอิระควอย
- กลุ่มภาษาเตอร์กิก
- ตระกูลภาษา
- ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต
- ตระกูลภาษาญี่ปุ่น
- ตระกูลภาษาดราวิเดียน
- ตระกูลภาษาม้ง-เมี่ยน
- ตระกูลภาษายูรัล
- ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน
- ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก
- ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
- ตระกูลภาษาเกาหลี
- ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Sino-Tibetan languagesกลุ่มภาษาซิโน-ทิเบตันภาษากลุ่มจีน-ทิเบตจีน-ทิเบตตระกูลภาษาซิโน-ทิเบตันซีโน-ทิเบตาน