โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มภาษาเตอร์กิก

ดัชนี กลุ่มภาษาเตอร์กิก

กลุ่มภาษาเตอร์กิกเป็นกลุ่มของภาษาที่แพร่กระจายจากยุโรปตะวันออก ผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปถึงไซบีเรียและจีนตะวันตก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของสมมติฐานตระกูลภาษาอัลไตอิก กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน ถ้ารวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองด้วยมีราว 200 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40%ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหม.

63 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาอิหร่านกลุ่มภาษาจีนกลุ่มภาษาตุงกูซิกกลุ่มภาษาโอคุซภาษาชะกะไตภาษาบาราบาภาษาชูวัชภาษาชูเลียมภาษาฟุยุ-คีร์กิซภาษากากาอุซภาษาการากัลปักภาษาญี่ปุ่นภาษารัสเซียภาษาละตินภาษาอัฟซาร์ภาษาอัลไตภาษาอายนีภาษาอาหรับภาษาอาเซอร์ไบจานภาษาอุยกูร์ภาษาอุซเบกภาษาอูรดูภาษาฮังการีภาษาควาซไควภาษาคากัสภาษาคาราไช-บัลคาร์ภาษาคาลาซภาษาคาซัคภาษาคาซาร์ภาษาคาไรม์ภาษาคีร์กีซภาษาตาตาร์ภาษาตาตาร์ไครเมียภาษาตุรกีภาษาตุรกีกากาอุซบอลข่านภาษาตุรกีออตโตมันภาษาตูวันภาษาซาลาร์ภาษาซาฮาภาษาแบชเคียร์ภาษาโตฟาภาษาโนไกภาษาเกาหลีภาษาเครียมชากภาษาเตอร์กิกเก่าภาษาเติร์กโคราซานีภาษาเติร์กเมนภาษาเปอร์เซียภาษาเปเชเนกมองโกเลีย...ยุโรปตะวันออกสาธารณรัฐซาฮาอักษรออร์คอนทวีปยูเรเชียทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตระกูลภาษาอัลไตประเทศฮังการีประเทศจีนประเทศตุรกีประเทศโรมาเนียโรมันคาทอลิกไซบีเรียเอเชียกลาง ขยายดัชนี (13 มากกว่า) »

กลุ่มภาษาอิหร่าน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาอิหร่านเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอเวสตะถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาเปอร์เซีย (ประมาณ 70 ล้านคน) ภาษาพาซตู (ประมาณ 40 ล้านคน) ภาษาเคิร์ด (35 ล้านคน) และภาษาบาโลชิ (ประมาณ 7 ล้านคน).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษาอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาตุงกูซิก

300px กลุ่มภาษาตุงกูซิก (Tungusic languages) หรือ กลุ่มภาษาแมนจู-ตุงกุส เป็นภาษาที่ใช้พูดในไซบีเรียตะวันออกและแมนจูเรีย ยังเป็นที่โต้เถียงอยู่ว่าควรจัดให้อยู่ในตระกูลภาษาอัลตาอิกหรือไม่ ภาษานี้รวมอยู่ในกลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษามองโกลตามลำดับ ภาษาในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นภาษาที่ใกล้ต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษาตุงกูซิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาโอคุซ

ตแพร่กระจายของกลุ่มภาษาโอคุซ กลุ่มภาษาโอคุซ (Oghuz languages) เป็นสาขาหลักของกลุ่มภาษาเตอร์กิกมีผู้พูดมากกว่า 110 ล้านคน แพร่กระจายตั้งแต่คาบสมุทรบอลข่านถึงประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษาโอคุซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชะกะไต

ษาชะกะไต (ภาษาชะกะไต: جغتای; ภาษาตุรกี: Çağatayca; ภาษาอุยกูร์: چاغاتاي Chaghatay; ภาษาอุซเบก: ﭼىﻐﺎتوي Chig'atoy) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในเอเชียกลางและบริเวณโคราซาน คำว่า “ชะกะไต” มีความเกี่ยวพันกับเขตของชะกะไตข่านทางตะวันตกของจักรวรรดิมองโกเลียที่อยู่ในความครอบครองของชะกะไตข่าน ลูกชายคนที่สองของเจงกีสข่าน ชาวตุรกีชะกะไตและชาวตาตาร์จำนวนมากที่เคยพูดภาษานี้เป็นลูกหลานที่สืบตระกูลมาจากชะกะไตข่าน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาชะกะไต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาราบา

ษาบาราบา เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูด 8,000 คนในไซบีเรีย ประเทศรัสเซีย ใกล้เคียงกับภาษาตาตาร์มาก จนบางครั้งถือว่าเป็นสำเนียงของภาษาตาตาร์ อยู่ในภาษากลุ่มเคียปชัก โดยมีความสัมพันธ์กับภาษาบัสกีร์ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มเดียวกันน้อยที่สุด ไม่มีฐานะเป็นภาษาราชการ เฉพาะสำเนียงกาซาน ตาตาร์เท่านั้นที่ใช้ในงานเขียน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาบาราบา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชูวัช

ษาชูวัช (ภาษาชูวัช: Чӑвашла, Čăvašla, สัทอักษร:; อาจสะกดเป็น Chăvash, Chuwash, Chovash, Chavash, Çuvaş หรือ Çuaş) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในบริเวณเทือกเขายูรัลทางตอนกลางของรัสเซีย เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐชูวัชในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดราว 2 ล้านคน เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ภาษาที่มีอิทธิพลต่อภาษาชูวัชได้แก่ ภาษาตาตาร์ ภาษากลุ่มฟินโน-อูกริก ภาษารัสเซีย ภาษามารี ภาษามองโกเลีย ภาษาอาหรับ และภาษาเปอร์เซีย แต่โบราณ ภาษาชูวัชเขียนด้วยอักษรออร์คอน เปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับเมื่อเข้ารับอิสลาม เมื่อถูกยึดครองโดยมองโกเลีย ระบบการเขียนได้หายไป อักษรแบบใหม่ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย อีวาน ยาคอฟเลวิช ยาคอฟเลฟ ใน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาชูวัช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชูเลียม

ภาษาชูเลียม (ภาษารัสเซีย: Чулымский язык)เป็นภาษาที่พูดโดยชาวชูเลียมซึ่งเรียกตนเองว่า Ös ภาษานี้มีหลายสำเนียง แต่บางสำเนียงกลายเป็นภาษาตายไปแล้ว มีผู้พูดอยู่ในรัสเซีย บริเวณไซบีเรียกลาง ทางเหนือของเทือกเขาอัลไต บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำชูเลียม ผู้พูดทั้งหมดใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่สอง ชูเลียม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาชูเลียม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟุยุ-คีร์กิซ

ษาฟุยุ-คีร์กิซ (Fuyü Gïrgïs หรือ Fu-Yu Kirgiz) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ใช้พูดทางตะวันออกสุดของมณฑลเฮยลองเจียน (Heilongjiang) ที่อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของจีน มีผู้พูดน้อย และไม่ถือเป็นสำเนียงของภาษาคีร์กิซ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาฟุยุ-คีร์กิซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากากาอุซ

ษากากาอุซ (Gagauz dili) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาวกากาอุซ เป็นภาษาราชการของกากาอุเซีย ในสาธารณรัฐมอลโดวา มีผู้พูดราว 150,000 คน เริ่มแรกเขียนด้วยอักษรกรีก เปลี่ยนมาใช้อักษรซีริลลิกใน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษากากาอุซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาการากัลปัก

ษาการากัลปักเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวการากัลปักที่อยู่ในการากัลปักสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ใกล้เคียงกับภาษาคาซัคและภาษาโนไก คำศัพท์และไวยากรณ์ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบก เป็นภาษารูปคำติดต่อที่มีการเปลี่ยนเสียงสระเช่นเดียวกับภาษาฮังการีและภาษาตุรกี ไม่มีการแบ่งเพศทางไวยากรณ์ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา เริ่มแรกภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับจนถึง..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาการากัลปัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษารัสเซีย

ษารัสเซีย (русский язык) เป็นภาษากลุ่มสลาวิกที่ใช้เป็นภาษาพูดอย่างกว้างขวางที่สุด ภาษารัสเซียจัดอยู่ในกลุ่มอินโด-ยูโรเปียน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับภาษาสันสกฤต ภาษากรีก และภาษาละติน รวมไปถึงภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก โรมานซ์ และเคลติก (หรือเซลติก) ยุคใหม่ ตัวอย่างของภาษาทั้งสามกลุ่มนี้ได้แก่ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไอริชตามลำดับ ส่วนภาษาเขียนนั้นมีหลักฐานยืนยันปรากฏอยู่เริ่มจากคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในปัจจุบัน ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการใช้นอกประเทศรัสเซียด้วย มีเอกสารทางวิทยาศาสตร์จำนวนหนึ่งตีพิมพ์เป็นภาษารัสเซีย รวมทั้งความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยจำนวนหนึ่ง ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางการเมืองในยุคที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจและยังเป็นภาษาราชการภาษาหนึ่งของสหประชาชาต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษารัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาละติน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอัฟซาร์

ษาอัฟซาร์ (Afshar or Afshari) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน บางครั้งถูกจัดให้เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาอาเซอรี ภาษานี้มีคำยืมจากภาษาดารีมาก และเปลี่ยนเสียง /a/ เป็น /ɒ/ เช่นเดียวกับในภาษาอุซเบก ในหลายกรณี เสียงสระในภาษาอัฟซาร์ เป็นสระปากไม่ห่อในขณะที่ในภาษาอาเซอรีเป็นสระปากห่อ เช่น jiz (100) เป็น jyz ในภาษาอาเซอรีมาตรฐาน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาอัฟซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอัลไต

ษาอัลไต เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในสาธารณรัฐอัลไตในรัสเซีย ก่อน..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาอัลไต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอายนี

ภาษาอายนี เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในภาคตะวันตกของจีน บางครั้งเรียกว่าภาษาไอนุ แต่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษาไอนุในญี่ปุ่นและรัสเซีย เป็นภาษาที่มีลักษณะผสมคือ ไวยากรณ์เป็นแบบภาษากลุ่มเตอร์กิก แต่คำศัพท์มากจากภาษากลุ่มอินโด-อิหร่าน ใช้พูดโดยชาวอายนี ใกล้เคียงกับภาษาอุยกูร์ อายนี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาอายนี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาเซอร์ไบจาน

thumbnail ภาษาอาเซอรี หรือ ภาษาอาเซอร์ไบจาน เป็นภาษาราชการของประเทศอาเซอร์ไบจาน มีชื่อเรียกในภาษาของตนว่า Azərbaycan dili บางสำเนียงของภาษานี้ใช้พูดในอิหร่าน ซึ่งใช้เป็นภาษากลางระหว่างภาษาส่วนน้อยอื่นๆคือ ภาษาเคิร์ด ภาษาอาร์มีเนียและภาษาตาเลชิ มีผู้พูดภาษานี้ในสาธารณรัฐดาเกสถานในรัสเซีย จอร์เจียตะวันตกเฉียงใต้ อิหร่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกของตุรกี เป็นภาษาในกลุ่มภาษาอัลไตอิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 23 – 30 ล้านคน โดยมีราว 16- 23 ล้านคนในอิหร่านและ 7 ล้านคนในอาเซอร์ไบจาน และ 800,000 ในที่อื่นๆ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาตุรกี ได้รับอิทธิพลจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ผู้พูดภาษานี้พอจะเข้าใจกันได้กับผู้พูดภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาโอคุซอื่นๆ เช่น ภาษาตุรกี ที่ใช้พูดในตุรกี ไซปรัสและแหลมบอลข่าน รวมทั้งภาษาเติร์กเมนด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุยกูร์

ษาอุยกูร์ เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวอุยกูร์ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ประเทศจีน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาอุยกูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุซเบก

ษาอุซเบก (อักษรละติน: O'zbek tili ออซเบก ติลี; อักษรซีริลลิก: Ўзбек) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาว อุซเบกในประเทศอุซเบกิสถานและพื้นที่อื่น ๆ ในเอเชียกลาง ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดในเชิงคำและไวยากรณ์คือภาษาอุยกูร์ ภาษาเปอร์เซียและภาษารัสเซียได้มีอิทธิพลสำคัญต่อภาษาอุซเบก ภาษาอุซเบกเป็นภาษาราชการของประเทศอุซเบกิสถาน และมีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 18.5 ล้านคน ภาษาอุซเบกก่อนปีพ.ศ. 2535 เขียนด้วยอักษรซีริลลิก แต่ในปัจจุบีนมีการใช้อักษรละตินเขียนในประเทศอุซเบกิสถาน ส่วนชาวจีนที่พูดภาษาอุซเบกใช้อักษรอาหรับเขียน อิทธิพลของศาสนาอิสลามรวมถึงภาษาอาหรับแสดงชัดเจนในภาษาอุซเบก รวมถึงอิทธิพลของภาษารัสเซียในช่วงที่ประเทศอุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิรัสเซีย และ โซเวียต คำภาษาอาหรับส่วนใหญ่ผ่านเข้ามายังภาษาอุซเบกผ่านทางภาษาเปอร์เซีย ภาษาอุซเบกแบ่งเป็นภาษาย่อย ๆ จำนวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมากระหว่างภูมิภาค อย่างไรก็ดี มีภาษาย่อยที่เข้าใจกันทั่วไป ซึ่งใช้ในสื่อมวลชนและในสิ่งตีพิมพ์ส่วนใหญ่ นักภาษาศาสตร์บางคนถือว่าภาษาที่พูดในประเทศอัฟกานิสถานตอนเหนือโดยชาวอุซเบกพื้นเมือง เป็นภาษาย่อยของภาษาอุซเบก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอูรดู

ษาอูรดู (اردو) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งพัฒนามาจากหลายภาษารวมกันคือ ภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับ ฮินดี และ สันสกฤต นิยมใช้กันมากในช่วงสมัยรัฐสุลต่านเดลฮี และจักรวรรดิโมกุล (ค.ศ.๑๒๐๐ - ๑๘๐๐) ภาษาอูรดู อยู่ในอันดับที่ ๒๐ ของภาษาที่มีคนใช้เป็นภาษาแม่ และเป็นภาษาราชการของประเทศปากีสถาน นอกจากนี้ยังเป็นภาษาหนึ่งในภาษาราชการ ๒๓ ภาษา ของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาอูรดู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮังการี

ษาฮังการี (Magyar nyelv: มอดยอร นแยลฟ) เป็นภาษากลุ่มฟินโน-อูกริคมีผู้พูดในประเทศฮังการีและในประเทศเพื่อนบ้าน มีผู้พูดภาษาฮังการีประมาณ 14.7ล้านคน จำนวน 10ล้านคนอาศัยอยู่ในประเทศฮังการี ในประเทศฮังการีและประเทศเพื่อนบ้าน ภาษาฮังการีเป็นภาษาทางการหนึ่งใน 24ภาษาของสหภาพยุโรป ภายนอกประเทศฮังการี มีผู้พูดภาษานี้ในกลุ่มชนชาวฮังการี (Magyarok: มอดยอโร็ค) ในประเทศสโลวาเกีย แถบตะวันตกของประเทศยูเครน ประเทศสโลวีเนียตอนเหนือ อาณาเขตตะวันตกและตอนกลางของประเทศโรมาเนีย (ทรานซิลเวเนีย) ประเทศเซอร์เบียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา และประเทศโครเอเชียตอนเหนือในเขตวอยโวดีนา เนื่องจากการถูกแยกประเทศราชอาณาจักรฮังการี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาควาซไคว

ษาควาซไคว (Qashqai อาจสะกดเป็น Ghashghai, Qashqa'i, Qashqay, และ Kashkai) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดโดยชาวควาซไควที่เป็นชนกลุ่มน้อนในเขตฟาร์ของอิหร่าน มีผู้พูดประมาณ 500,000 คน ใกล้เคียงกับภาษาอาเซอรี เขียนด้วยอักษรอาหรับดัดแปลงแบบเปอร์เซีย ผู้พูดส่วนใหญ่จะใช้ภาษาเปอร์เซียได้ด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาควาซไคว · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคากัส

ษาคาดัสเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกและเป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐคากัสเซียในรัสเซีย ที่อยู่ทางภาคกลางตอนใต้ของไซบีเรียใช้พูดโดยชาวคากัสที่ส่วนใหญ่อยู่ทางใต้ของสาธารณรัฐคากัส ไซบีเรีย หรือคากัสเซียในรัสเซีย มีชาวคากัสที่พูดภาษานี้ราว 60,168 คน ส่วนใหญ่พูดภาษารัสเซียได้ด้วย ภาษาคากัสแบ่งได้เป็นหลายสำเนียงตามเผ่าย่อยต่างๆ หลักฐานการศึกษาภาษาคากัสเริ่มเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 โดยนักภาษาศาสตร์ชาวฟินแลนด์ Matthias Castren ผู้ที่เดินทางไปในเอเชียตอนเหนือและตอนกลางระหว่าง..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาคากัส · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาราไช-บัลคาร์

ษาคาราไช-บัลคาร์ (Karachay-Balkar language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดโดยชาวคาราไชและชาวบัลคาร์ มีภาษาถิ่นสองแบบคือสำเนียงคาราไชและสำเนียงบัลคาร์ ซึ่งมีหน่วยเสียงพยัญชนะบางตัวต่างกัน เช่น เสียง ของสำเนียงคาราไช เป็นเสียง ในสำเนียงบัลคาร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาคาราไช-บัลคาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาลาซ

ษาคาลาซ เป็นภาษาที่ใช้พูดในอัฟกานิสถานและอิหร่าน อยู่ในภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูด 42,000 เมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาคาลาซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาซัค

ษาคาซัค (Kazakh, Kazak, Qazaq, Қазақ тілі, Qazaq tili: คาซัค ติลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ที่มีรหัส ISO 639 ว่า kaz และ kk ภาษาคาซัคเป็นหนึ่งในภาษาราชการของประเทศคาซัคสถาน และนอกจากนี้ยังมีคนพูดภาษานี้ในอัฟกานิสถาน จีน อิหร่าน คีร์กีซสถาน มองโกเลีย รัสเซีย ทาจิกิสถาน ตุรกี เติร์กเมนิสถาน ยูเครน และอุซเบกิสถาน ในเยอรมนีมีคนที่พูดภาษาคาซัคตั้งแต่ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ทั่วโลกมีคนพูดภาษาคาซัคเป็นภาษาแม่ประมาณ 6.5 ล้านคน เขียนโดยใช้อักษรซีริลลิก อักษรละติน (ในตุรกี) และอักษรอาหรับที่มีการดัดแปลง (ในประเทศจีน อิหร่าน และอัฟกานิสถาน).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาคาซัค · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาซาร์

ษาคาซาร์ เป็นภาษาที่พูดโดยเผ่าคาร์ซาร์ในเอเชียกลางในยุคกลาง อยู่ในภาษากลุ่มเตอร์กิก ใกล้เคียงกับภาษาฮั่น มีข้อโต้แย้งกันมากว่าภาษาคาซาร์ควรอยู่ในสาขาใดของภาษากลุ่มเตอร์กิกถ้าจะจัดให้อยู่ในกลุ่มนี้ บางคนเสนอว่าน่าจะจัดให้อยู่ในภาษากลุ่มอิหร่านหรือภาษากลุ่มคอเคเซียน อาจได้รับอิทธิพลจากภาษาเตอร์กิกโบราณและภาษาอุยกูร์ นักวิชาการอาหรับในยุคกลางจำแนกให้ภาษาคาซาร์คล้ายกับภาษาของชาวเติร์กเช่น ภาษาโอคุซ นอกจากนั้นภาษาคาซาร์และภาษากลุ่มโอคุซมีความใกล้เคียงกับภาษาอื่น เพราะภาษาบัลการ์อาจได้รับอิทธิพลจากภาษาเตอร์กิกโบราณและภาษาอุยกูร์ นักวิชาการปัจจุบันได้ตั้งสมมติฐานโอคุซโดยสันนิษฐานว่าภาษาคาซาร์มีจุดกำเนิดจากยุคของกอกเติร์ก ซึ่งเป็นไปได้ว่าภาษาเตอร์กิกโบราณแบบของกอกเติร์กมีการใช้เป็นภาษาทางการในช่วงต้นของประวัติภาษาคาซาร์แต่ไม่มีหลักฐานเหลืออยู่ จารึกอักษรออร์คอน ที่ใช้เขียนภาษาคาซาร์ ตัวอย่างของภาษาคาซาร์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบันมีน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นชื่อที่ยังเหลืออยู่ในเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่เหลืออยู่ในภาษาฮีบรู ภาษาคาซาร์ที่เหลืออยู่เป็นข้อความที่เขียนด้วยอักษรรูนส์แบบเตอร์กิก แต่ก็ยังพบภาษาคาซาร์ที่เขียนด้วยอักษรซีริลลิก อักษรกรีก อักษรฮีบรู อักษรละติน อักษรอาหรับหรืออักษรจอร์เจียในชุมชนที่ต่างกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาคาซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาไรม์

ษาคาไรม์ (Karaim language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาฮีบรูในทำนองเดียวกับภาษายิดดิชหรือภาษาลาดิโน พูดโดยชาวคาไรต์ในไครเมียซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่นับถือศาสนายูดายในไครเมีย ลิธัวเนีย โปแลนด์และยูเครนตะวันตกเหลือผู้พูดอยู่เพียง 6 คน ภาษาคาไรม์สำเนียงลิธัวเนียเคยใช้พูดในกลุ่มชุมชนขนาดเล็กบริเวณเมืองตราไก ชาวคาไรต์เหล่านี้ถูกซื้อมาโดยแกรนด์ดุ๊กเวียเตาตัสแห่งลิธัวเนียเมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาคาไรม์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคีร์กีซ

ษาคีร์กีซ (Kyrgyz Language; Кыргыз тили, Kyrgyz tili; قىرعىز تىلى) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาษาราชการของประเทศคีร์กีซสถานคู่กับภาษารัสเซีย มีผู้พูด 7 ล้านคน ในคีร์กีซสถาน จีน อัฟกานิสถาน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน ตุรกี อุซเบกิสถาน ปากีสถานและรัสเซีย เขียนด้วยอักษรซีริลลิกดัดแปลงในคีร์กีซสถาน และอักษรอาหรับดัดแปลงในจีน เคยเขียนด้วยอักษรละตินในช่วง..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาคีร์กีซ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์

ษาตาตาร์ เป็นภาษากลุ่มเติร์ก ตระกูลยูราล-อัลไตอิก พูดโดยชาวตาตาร์ จัดเป็นภาษารูปคำติดต่อ มีผู้พูดในบางส่วนของยุโรป รัสเซีย ไซบีเรีย จีน ตุรกี โปแลนด์ ยูเครน ฟินแลนด์ และเอเชียกลาง เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐตาตาร์สถาน เขียนด้วยอักษรซีริลลิกโดยมีอักษรเฉพาะที่ไม่ได้ใช่ในภาษากลุ่มสลาวิก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาตาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์ไครเมีย

ษาตาตาร์ ไครเมีย หรือภาษาไครเมีย ภาษาตุรกีไครเมีย เป็นภาษาของชาวตาตาร์ไครเมีย ใช้พูดในไครเมีย เอเชียกลาง โดยเฉพาะในอุซเบกิสถาน และผู้อพยพชาวตาตาร์ ไครเมียในตุรกี โรมาเนีย บัลแกเรีย เป็นคนละภาษากับภาษากวาซัน ตาตาร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาตาตาร์ไครเมีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกีกากาอุซบอลข่าน

ษาตุรกีกากาอุซบอลข่าน (Balkan Gagauz Turkish) หรือภาษาตุรกีบอลข่าน เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ใช้พูดในตุรกี กรีซ และสาธารณรัฐมาซิโดเนีย เป็นภาษาที่ต่างจากภาษากากาอุซและภาษาตุรกี.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาตุรกีกากาอุซบอลข่าน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกีออตโตมัน

ษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาอังกฤษ: Ottoman Turkish; ภาษาตุรกี: Osmanlıca หรือ Osmanlı Türkçesi; ภาษาตุรกีออตโตมัน: لسان عثمانی‎ lisân-ı Osmânî) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาษาตุรกีที่เคยเป็นภาษาในการปกครองและภาษาเขียนในจักรวรรดิออตโตมัน เป็นภาษาที่มีคำยืมจากภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซียมาก เขียนด้วยอักษรอาหรับ ภาษานี้ไม่เป็นที่เข้าใจในหมู่ชาวตุรกีที่มีการศึกษาต่ำ อย่างไรก็ตาม ภาษาตุรกีที่ใช้พูดในทุกวันนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาตุรกีออตโตมันเช่นกัน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตูวัน

ษาตูวัน (ภาษาตูวัน: тыва дыл tyva dyl), เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูด 200,000 คนในสาธารณรัฐตูวา ในไซบีเรียกลางตอนใต้ มีคำยืมจากภาษามองโกเลียและภาษารัสเซียมาก มีชาวตูวันกลุ่มเล็กๆอยู่ในจีนและมองโกเลียด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาตูวัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาลาร์

ษาซาลาร์เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก พูดโดยชาวซาลาร์ที่อยู่ในมณฑลชิงไห่ และกานซูในประเทศจีน มีอยู่ในเมืองกุลจา (Ghulja) ในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ด้วย ชาวซาลาร์มีประมาณ 90,000 คน โดยพูดภาษาซาลาร์ 70,000 คน ที่เหลือพูดภาษาจีน ชาวซาลาร์อพยพเข้ามาอยู่ในบริเวณที่อยู่ปัจจุบันเมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาซาลาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซาฮา

ษาซาฮาหรือภาษายากุต เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูด 363,000 คน ในสาธารณรัฐซาฮาของรัสเซีย การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กริยาวิเศษณ์-กรรม-กริยา คำแสดงความเป็นเจ้าของมาก่อนคำที่เป็นเจ้าของ คำขยายตามหลังนามที่ถูกขยาย คำนามมีรุปเอกพจน์กับพหูพจน์ ไม่แบ่งเพศของนาม แต่มีการแยกสรรพนามบุรุษที่ 3 ระหว่างนามที่มีกับไม่มีชีวิต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาซาฮา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแบชเคียร์

ษาแบชเคียร์ (Bashkir language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ในรัสเซียมากกว่า 1,047,000 คน เมื่อ..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาแบชเคียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโตฟา

ษาโตฟา เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกใช้พูดในบริเวณอีร์กุส ออบลาสต์ในรัสเซีย ใกล้เคียงกับภาษาตูวัน ซึ่งมีสำเนียงลูกผสมระหว่างสองภาษาเกิดขึ้นคือ สำเนียงตูฮาและเซนเจล ตูวัน วึ่งถือเป็นสำเนียงของทั้งสองภาษา ภาษานี้มีการพัฒนาเสียงวรรณยุกต์ระดับต่ำสำหรับสระเสียงสั้น.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาโตฟา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโนไก

ษาโนไก หรือภาษาตาตาร์ โนไก เป็นภาษาที่ใช้พูดทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัสเซีย แบ่งได้เป็นสำเนียงหลักสามสำเนียงคือ Qara-Nogay (โนไกเหนือหรือโนไกดำ), ใช้พูดในดาเกสถาน Nogai Proper, ใช้พูดใน Stavropol; และ Aqnogay (โนไกตะวันตกหรือโนไกขาว), ใช้พูดในบริเวณแม่น้ำกูบัน Qara-Nogay และNogai Proper มีลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกันแต่ Aqnogay มีลักษณะที่ต่างออกไป จัดอยู่ในภาษากลุ่มเคียปชัก-โนไก ของภาษากลุ่มเตอร์กิก สาขาเคียปชัก เช่นเดียวกับภาษาตาตาร์ ไครเมีย ภาษาการากัลปัก และภาษาคีร์กีซ.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาโนไก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเครียมชาก

ษาเครียมชาก (Krymchak language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ใช้พูดในไครเมียโดยชาวเครียมชาก บางครั้งจัดเป็นสำเนียงของภาษาตาตาร์ไครเมียเรียกภาษาตาตาร์ไครเมียของชาวยิว ภาษานี้มีคำยืมจากภาษาฮีบรูมาก ก่อนยุคสหภาพโซเวียต เคยเขียนด้วยอักษรฮีบรู จนถึงยุคของสหภาพโซเวียตเมื่อราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาเครียมชาก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตอร์กิกเก่า

ภาษาเตอร์กิกเก่า ใช้พูดโดยชาวกอกเติร์กและใช้ในจารึกอักษรออร์คอน ใกล้เคียงกับภาษาอุยกูร์โบราณ รวมทั้งภาษาเติร์กในเขตไซบีเรีย เป็นบรรพบุรุษของภาษากลุ่มเติร์กตะวันตก เช่นภาษาโอคุซและภาษาเคียปชัก เตอร์กิกเก่า.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาเตอร์กิกเก่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเติร์กโคราซานี

ษาเติร์กโคราซานี (تركي خراساني / Turki Khorasani) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มเตอร์กิกใช้พูดทางตอนเหนือของโคราซาน ผู้พูดภาษานี้พูดภาษาเปอร์เซียได้ด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาเติร์กโคราซานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเติร์กเมน

ษาเติร์กเมน (Turkmen, Туркмен, ISO 639-1: tk, ISO 639-2: tuk) คือชื่อภาษาราชการของประเทศเติร์กเมนิสถาน.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาเติร์กเมน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซีย

ษาเปอร์เซีย หรือ ฟาร์ซี (فارسی Farsi, ฟอร์ซี ชื่อท้องถิ่นใน ประเทศอิหร่าน และประเทศอัฟกานิสถาน), ทาจิก (Tajik, ภาษาย่อยในเอเชียกลาง) หรือ ดารี (Dari ชื่อท้องถิ่นในประเทศอัฟกานิสถาน) เป็นภาษาที่พูดใน ประเทศอิหร่าน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศบาห์เรน และประเทศอุซเบกิสถาน เป็นภาษาทางการใน 3 ประเทศแรกที่กล่าวไว้ คนที่พูดเป็นภาษาแม่มีอยู่ประมาณ 75 ล้านคน เป็นสมาชิกของภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เป็นชนิดประธาน กรรม กร.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปเชเนก

ภาษาเปเชเนก (Pecheneg language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดโดยชาวเปเชเนกในยุโรปตะวันออก มีลักษณะคล้ายกับภาษากลุ่มโอคุซที่เป็นกลุ่มย่อยของภาษากลุ่มเตอร์กิก แต่มีหลักฐานหลงเหลืออยู่น้อย นักภาษาศาสตร์จัดให้อยู่ในภาษากลุ่มโปรโต-คัสเปียนซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของภาษากลุ่มเคียปชัก ปแชเนก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและภาษาเปเชเนก · ดูเพิ่มเติม »

มองโกเลีย

มองโกเลีย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันออก

แผนที่ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันออก (Eastern Europe) มีพื้นที่อยู่ระหว่างละติจูดที่ 40 - 53 องศาเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบชนบท ประกอบไปด้วยประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต, อดีตเช็กโกสโลวาเกีย (ปัจจุบันคือเช็กเกียและสโลวาเกีย), โปแลนด์, ฮังการี, โรมาเนีย, บัลแกเรีย และอดีตยูโกสลาเวีย ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปตะวันออกในอดีต ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาเป็นประชาธิปไตยบ้างแล้ว ศาสนาที่นับถือส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้คือศาสนาคริสต์ ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลุ่มโรแมนซ์และกลุ่มสลาวอนิก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐซาฮา

250px สาธารณรัฐซาฮา (The Sakha (Yakutia) Republic; Респу́блика Саха́ (Яку́тия)) เป็นเขตการปกครองของสหพันธรัฐรัสเซีย กินพื้นที่ครึ่งหนึ่งของเขตสหพันธ์ตะวันออกไกล มีพื้นที่ 3,100,000 ตร.กม.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและสาธารณรัฐซาฮา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรออร์คอน

รึกอักษรออร์คอนที่ Kyzyl อักษรออร์คอน เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาเตอร์กิกพบครั้งแรกในหุบเขาแม่น้ำออร์คอน ประเทศมองโกเลีย มีอายุราว..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและอักษรออร์คอน · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยูเรเชีย

ทวีปยูเรเชีย เป็นมหาทวีปที่รวมเอาทวีปยุโรป กับทวีปเอเชียเข้าด้วยกัน โดยเส้นแบ่งของทวีปยุโรปกับเอเชียคือเทือกเขายูราล คำนี้ส่วนใหญ่จะใช้พูดถึงกับเรื่องในประวัติศาสตร์เมื่อครั้งโลกหลายร้อยล้านปีที่ทวีปยุโรปกับทวีปเอเชียยังติดกัน ทวีปนี้ขยายตัวมาจากมหาทวีปพันเจีย โดยมีทวีปต่างๆที่แยกตัวออกมาคือ อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ (แยกออกมาจากทวีปแอฟริกา) ทวีปยูเรเชีย เกาะอินเดีย ออสเตรเลีย และขั้วโลกใต้ โดยที่ทวีปยูเรเชียนั้น ในปัจจุบันเรามักจะเรียกว่า ทวีปยุโรป และ ทวีปเอเชีย มากกว่าที่จะเรียกว่า ยูเรเชีย สาเหตุหนึ่งเนื่องมาจากที่ การเรียกอย่างนี้จะทำให้เกิดการสับสนว่าเป็น ทวีปใดกันแน่ ทั้งวัฒนธรรม การเมือง ประเพณี ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ วิถีชีวิต อาหารการกิน ยังแตกต่างกันด้วย นอกจากเราจะยังพูดถึงโลกล้านปีแล้ว การที่ทวีปเอเชียและทวีปยุโรป ติดกันตรงพรมแดนของประเทศจีน-ประเทศรัสเซีย เป็นต้น เป็นเสมือนเกาะใหญ่ และการคมนาคม ประวัติศาสตร์ยังคล้ายคลึงกันอีกด้วย เราจึงยังจะคงเรียกอยู.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและทวีปยูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอัลไต

ตระกูลภาษาอัลไต (Altaic language family) ตระกูลภาษานี้ใช้พูดกันตั้งแต่ป่าสนในไซบีเรียตะวันออกข้ามทุ่งหญ้าและทะเลทรายของเอเชียกลางไปจรดประเทศตุรกี และบางส่วนของประเทศจีน คนในแถบนี้มีลักษณะทางวัฒนธรรมแบบเลี้ยงสัตว์เร่ร่อนไปตามทุ่งหญ้าและทะเลทราย เช่น พวกเตอร์กและมองโกลบางเผ่า บางพวกก็อาศัยอยู่ตามป่าเขาและล่าสัตว์ เช่น พวกมองโกลบางพวกและพวกตุงกุส มีบางส่วนเท่านั้นที่รับวัฒนธรรมใกล้เคียงอย่างวัฒนธรรมจีนที่มีลักษณะแบบเกษตรกรรม เช่น ชาวเกาหลีและชาวญี่ปุ่นซึ่งอาจเป็นพวกตุงกุสดั้งเดิม (Proto-Tungusic) โดยอพยพมายังคาบสมุทรเกาหลีและหมู่เกาะญี่ปุ่นก่อนพวกอื่น ในปัจจุบันนี้ผู้ที่ใช้ตระกูลภาษานี้มีประมาณ 270 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและตระกูลภาษาอัลไต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการี

ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและประเทศฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและประเทศตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนีย

รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและประเทศโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

ไซบีเรีย

ซบีเรีย ไซบีเรีย (Siberia, Сиби́рь) ถูกครอบครองโดยชนเผ่าเร่ร่อนหลากหลายกลุ่มแตกต่างออกไป เช่น Yenets, the Nenets, the Hun และ the Uyghurs Khan of Sibir ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง มีอากาศหนาวเย็นได้เข้าครอบครองแล้วตั้งชื่อว่า Khagan ใน Avaria ในปี..

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและไซบีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ เอเชียกลาง(อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก.

ใหม่!!: กลุ่มภาษาเตอร์กิกและเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ภาษากลุ่มเตอร์กิก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »