โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

ดัชนี เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

ระอาชญาเจ้าขุนรามราชรามางกูร (ลาว: ພຣະອາດຊະຢາເຈົ້າຂຸນຣາມມະຣາຊຣາມາງກູຣ, ราว พ.ศ. ๒๓๐๐-๒๔๐๐) ทรงเป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครพระองค์แรกจากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม และทรงเป็นเจ้าขุนโอกาส (ขุนโอกลาษ) ผู้รักษากองข้าอุปัฏฐากพระบรมมหาธาตุเจ้าเจดีย์พระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) พระองค์แรกแห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ระหว่างราวปี..

101 ความสัมพันธ์: บรรดาศักดิ์บัวสายชนชั้นขุนนางพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)พระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร)พระพุทธรูปพระมหากษัตริย์พระรามพระสงฆ์พระขรรค์พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชพนมเปญกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กรุงเทพกรุงเทพมหานครกัลปนากินรีกุฏิภาษาภาษาลาวภาคอีสาน (ประเทศไทย)มหาดเล็กมะขามยานพาหนะรัฐมนตรีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐศาสตร์รังราชวงศ์วอกวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหารวัดมหาธาตุวิหารวีรพงษ์ รามางกูรศาสนาศาสนาพุทธสกุลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสยามสังฆราชสงครามส่วยหลวงพระบางหลวงอามาตย์ราชวงษา (อำนาจ รามางกูร)อหิวาตกโรคอาญาสี่อาณาจักรล้านช้าง...อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรธนบุรีอำเภอธาตุพนมอีสานองคตจังหวัดมุกดาหารจังหวัดสตึงแตรงจังหวัดนครพนมจำปาศักดิ์ธาตุพนมทานท้าวสุริยะราชวัตร์ (อ้วน รามางกูร)ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร)ขวานขอมข่า (พืช)ข้าวข้าหลวงควายคำตำบลตำบล (ประเทศไทย)ประติมากรรมประเทศพม่าประเทศฝรั่งเศสประเทศราชประเทศลาวประเทศไทยปลานายกรัฐมนตรีนิพพานแม่น้ำโขงแขวงแขวงสุวรรณเขตโพธิสัตว์ไพร่ไวยาวัจกรเมืองศรีโคตรบองเมืองขวา (ประเทศลาว)เมืองคำเกิดเวียงจันทน์เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)เจ้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท (ศรี รามางกูร)เจ้าพระอัคร์บุตร (บุญมี รามางกูร)เจ้าพระอุปฮาชา (เฮือง รามางกูร)เจ้าอาวาสเจ้าอนุวงศ์เทวดาเงินตราเซบั้งไฟ ขยายดัชนี (51 มากกว่า) »

บรรดาศักดิ์

รรดาศักดิ์ คือระดับชั้น หรือชั้นยศของขุนนาง ซึ่งมีในทุกๆ ประเทศ เพียงแต่แตกต่างกันออกไปเท่านั้น.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และบรรดาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

บัวสาย

ัวสาย เป็นพืชน้ำชนิดหนึ่ง มีลำต้นใต้ดินเป็นหัว หรือเหง้า ลักษณะคล้ายหัวเผือก ใบเดี่ยวแตกจากเหง้า ก้านใบยาว อ่อน ส่งใบขึ้นมาลอยบนผิวน้ำ แผ่นใบค่อนข้างกลม ผิวใบด้านบนเรียบเป็นมัน ด้านล่างมีขนละเอียด ดอกเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกเหมือนก้านใบ ภายในมียางใสและท่ออากาศมาก ผลเรียกโตนดบัว รับประทานได้ มีแป้งมาก ก้านดอกเรียกสายบัว รับประทานได้.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และบัวสาย · ดูเพิ่มเติม »

ชนชั้นขุนนาง

นชั้นขุนนางในโปแลนด์ ช่วงค.ศ. 1697-1795 งานเลี้ยงของเหล่าขุนนางและชนชั้นสูงในออสเตรีย ค.ศ. 1904 ชนชั้นขุนนาง (nobility) เป็นชนชั้นทางสังคมที่อยู่รองลงมาจากชนชั้นเจ้า ชนชั้นนี้ถือครองสิทธิ์หรือชื่อเสียงมากกว่าชนชั้นอื่นในสังคมเป็นส่วนใหญ่ มีการสืบทอดสิทธิ์ต่างๆเป็นรุ่นต่อรุ่น โดยที่สิทธิ์ของชนชั้นขุนนางอาจหมายถึง ความได้เปรียบเหนือกว่าชนชั้นอื่น หรืออาจเป็นเกียรติยศใหญ่โต ซึ่งมีบริบทแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและในแต่ละยุค ในสมัยก่อน การเป็นชนชั้นขุนนางและมีอภิสิทธิ์ต่างๆ มักจะถูกกำหนดหรือประกาศขึ้นโดยชนชั้นปกครอง แต่ถึงกระนั้น บุคคลอื่นนอกเหนือไปจากนี้ที่มีเงินทอง วิถีชีวิต หรือแวดวงคล้ายคลึงก็อาจจะเป็นเครื่องหมายเด่นที่จะถูกนับรวมเป็นชนชั้นขุนนาง แม้ว่าโดยหลักการแล้ว ชนชั้นขุนนางจะต้องมีปราสาทเป็นของตัวเองและคอยแสวงหาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สมบัติ กำลังทหาร หรือความเป็นที่โปรดปรานของราชวงศ์ และการที่สามัญชนจะเป็นชนชั้นขุนนางได้นั้น มักจะใช้วิธีเข้าหาราชวงศ์เพื่อเป็นที่โปรดปราน ในชนชั้นขุนนางเองก็จะมีการแบ่งออกเป็นอีกหลายระดับ ในประเทศที่ปกครองโดยกษัตริย์มักจะมีกฎหมายหรือข้อบัญญัติเกี่ยวกับชนชั้นขุนนาง แต่ในบางอดีตประเทศที่เป็นสาธารณรัฐก็มีกฎหมายที่เกี่ยวเนื่องเช่นเดียวกัน อาทิ สาธารณรัฐดัตช์ (ค.ศ. 1581–1795), สาธารณรัฐเจนัว (ค.ศ. 1005–1815), สาธารณรัฐเวนิส (ค.ศ. 697–1797) เป็นต้น ในปัจจุบันยังคงมีอีกหลายประเทศที่มีข้อบัญญัติทางชนชั้นอยู่ในลักษณะไม่สืบทอดสิทธิ์ อาทิ ประเทศซานมารีโน, นครรัฐวาติกันในยุโรป ขุนนางจีนสมัยราชวงศ์หมิง แม้ว่าระบบขุนนางในประเทศส่วนใหญ่เป็นระบบขุนนางสืบตระกูลก็ตาม แต่ก็มีบางประเทศ(เช่นจีนหรือสยาม) ที่ตำแหน่งขุนนางยึดติดอยู่เฉพาะบุคคล ไม่มีการส่งต่อตำแหน่งและสิทธิไปถึงรุ่นลูกหลาน หากลูกหลานอยากจะเป็นขุนนางก็ต้องใช้ความรู้ความสามารถผ่านการสอบหรือใช้เส้นสายในการได้มาซึ่งบรรดาศัก.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และชนชั้นขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร)

ระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากพระมหาธาตุพนมหรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๒๙-๒๔๒๑) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายสืบตระกูลจากราชวงศ์เวียงจันทน์ตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ จึงนับเป็นผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๑๐ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ พระศรีชองฟ้า หรือ พระศรีสองฟ้า กรมการชั้นผู้ใหม่ของธาตุพนม ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์ที่ พระพิทักษ์เจดีย์ เป็นท่านที่ ๓ ต่อจากพี.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ศรี รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

พระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร)

ระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากพระมหาธาตุพนมหรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๗-๒๔๒๒ หรือ ๒๔๒๓) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายจากราชวงศ์เวียงจันทน์ผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๘ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ ท้าวอุปละ ผู้ควบคุมท้าวเพี้ยตัวเลกข้าพระมหาธาตุพนม สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์เวียงจันทน์และจำปาศักดิ์ ตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ที่ พระพิทักษ์เจดีย์ เป็นท่านแรกของเมืองธาตุพนมจากทั้งหมด ๔ ท่าน ซึ่งเป็นราชทินนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้นคู่กันกับบรรดาศักดิ์พระพิทักษ์เจดีย์พระมหาธาตุเชิงชุมแห่งเมืองสกลนคร.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (ถง รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

พระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร)

ระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากพระมหาธาตุพนมหรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๔๒๒-๒๔๒๗) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายจากราชวงศ์เวียงจันทน์ผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๙ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ ท้าวพระลคร หรือ ท้าวพลคร เจ้านายตระกูลนี้ปกครองธาตุพนมมาตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์ที่ พระพิทักษ์เจดีย์ เป็นท่านที่ ๒ ต่อจาก.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระพิทักษ์เจดีย์ (แก่น รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรูป

ระพุทธรูป หมายถึง รูปที่สร้างขึ้นแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อกราบไหว้บูชา อาจใช้การแกะสลักจากวัสดุต่างๆ เช่น ศิลา งา ไม้ หรือวัสดุอื่นๆ นอกจากนี้ยังอาจใช้การปั้นหรือหล่อด้วยโลหะก็ได้ โดยทั่วไป คำว่า พระพุทธรูปมักจะหมายถึง รูปขนาดใหญ่พอที่จะวางบูชาได้ สำหรับรูปขนาดเล็กมักจะเรียกว่า พระเครื่อง อย่างไรก็ตาม ทั้งสองแบบสามารถเรียกว่า พระพุทธรูป ได้เช่นกัน.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระพุทธรูป · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราม

ระราม (राम รามะ) เป็นตัวละครเอกในเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งชาวฮินดูเชื่อว่าเป็นร่างอวตารปางที่ 7 ของพระวิษณุ อวตารลงมาเป็นโอรสท้าวทศรถและนางเกาสุริยา มีพระวรกายเป็นสีเขียว ทรงธนูเป็นอาวุธ มีศรวิเศษสามเล่มคือ ศรพรหมมาตร ศรอัคนิวาต และศรพลายวาต เวลาสำแดงอิทธิฤทธิ์จะปรากฏเป็น 4 มือ ทรงเทพอาวุธ ตรี คฑา จักร สังข์ พระรามมีพระอนุชาร่วมพระบิดา 3 พระองค์ ได้แก่ พระพรต พระลักษมณ์ และพระสัตร.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระราม · ดูเพิ่มเติม »

พระสงฆ์

ระสงฆ์ หมายถึง หมู่สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ซึ่งฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วเลื่อมใส สละเรือนออกบวช ถือวัตร ปฏิบัติ ตามพระธรรมวินัยที่พระบรมศาสดาสั่งสอนและกำหนดไว้ พระสงฆ์ จัดเป็นหนึ่งในพระรัตนตรัย ซึ่งได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ในพระรัตนตรัยหมายถึงเฉพาะพระอริยสงฆ์ คือบุคคลไม่ว่าคฤหัสถ์หรือนักบวช และไม่ว่ามนุษย์หรือเทวดา ที่ปฏิบัติธรรมจนได้บรรลุมรรคผล แต่โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าพระสงฆ์คือภิกษุหรือภิกษุณี คือมนุษย์ที่ได้ฟังคำสั่งสอนแล้วเกิดความเลื่อมใสจนสละเรือนออกบวชตามพระพุทธเจ้า เพราะต้องการจะได้บรรลุธรรมตามพระพุทธเจ้าสั่งสอนไว้ ถือเป็นนักบวชในพระพุทธศาสนา พระภิกษุปฏิบัติตามสิกขาบทที่กำหนดไว้จำนวน 227 ข้อ ส่วนพระภิกษุณีรักษาสิกขาบท 311 ข้อ บางครั้งเรียกว่าสงฆ์ ภิกษุรูปแรกในพระศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้าคือพระอัญญาโกณฑัญญ.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระสงฆ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระขรรค์

ระขรรค์ คืออาวุธมีคม ลักษณะคล้ายดาบ มีคมสองด้าน ตรงกลางคอด สมมุติเป็นอาวุธของเทพเจ้า เห็นได้ในภาพประกอบเรื่องราวในวรรณคดี หรือตราสัญลักษณ์ที่มีเทวดาทรงพระขรรค์ นอกจากนี้ยังมีใช้ในพิธีกรรมสำคัญบางอย่างด้ว.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระขรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)

ระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท หรือ อาชญาหลวงปรานี นามเดิมว่า ท้าวเมฆ หรือ ท้าวเมฆทองทิพย์ เป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครองค์ที่ ๓ หรือองค์สุดท้ายจากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม เป็นเจ้าขุนโอกาส (ขุนโอกลาษ) ผู้รักษากองข้าอุปัฏฐากพระบรมมหาธาตุเจ้าเจดีย์พระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) องค์ที่ ๓ แห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ภายหลังทรงถูกลดบทบาททางการปกครองลงและด้วยปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองกับกลุ่มเจ้านายเมืองธาตุพนมซึ่งเป็นเครือญาติใกล้ชิด จึงเสด็จหนีจากธาตุพนมไปประทับยังเมืองเซบั้งไฟทางฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงหลังการสิ้นสุดของราชวงศ์เวียงจันทน์ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์ (พ.ศ. ๒๓๔๘-๒๓๗๑) ก่อนที่ตำแหน่งเจ้าเมืองหรือขุนโอกาสจะถูกลดฐานะไปเป็นนายกอง ทรงสืบเชื้อสายเจ้านายผู้ปกครองเมืองธาตุพนมจากฝ่ายพระมารดา โดยมีศักดิ์เป็นพระนัดดา (หลานดา) ในเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) เจ้าเมืองและขุนโอกาสเมืองธาตุพนมพระองค์แรก และสืบเชื้อสายฝ่ายพระบิดาจากเจ้านายในราชวงศ์ศรีโคตรบูรแห่งเมืองนครพนม สายพระบรมราชากิติศักดิ์เทพฤๅยศ ทศบุรีศรีโคตรบูรหลวง (มัง มังคละคีรี) ใน..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช

ระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช หรือเจ้าสุริยะ พระราชโอรสของพระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช · ดูเพิ่มเติม »

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และพนมเปญ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กัลปนา

กัลปนา (อ่านว่า กัน-ละ-ปะ-นา) แปลว่า เจาะจงให้ เป็นคำศัพท์ภาษาบาลี นำมาใช้ในภาษาไทย ในปริบททางพุทธศาสนา กัลปนา ใช้ในความหมาย 2 อย่าง คือหมายถึงส่วนบุญที่ผู้ทำบุญอุทิศไปให้ผู้ตาย เรียกว่าอุทิศกัลปนาไปให้ ส่วนความหมายที่สองคือ การมอบทรัพย์สิน หรือที่ดิน หรือข้าวของเครื่องใช้อันจำเป็น หรือการมอบคน ให้ตกไปเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างหรือทะนุบำรุงวัดด้วยนัยยะของการทำบุญ "ข้าพเจ้าขออุทิศกัลปนานี้ไปให้บิดา เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย" อย่างนี้เป็นความหมายแรก "ปีนี้ที่กัลปนาของวัดเราได้ผลตอบแทนไม่มากเพราะฝนแล้ง" อย่างนี้เป็นความหมายหลัง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และกัลปนา · ดูเพิ่มเติม »

กินรี

รูปหล่อโลหะของ กินร และ กินรี ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กินรี (ตัวเมีย) และ กินนร (ตัวผู้) เป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ ร่างกายท่อนบนเป็นมนุษย์ ท่อนล่างเป็นนก มีปีกบินได้ ตามตำนานเล่าว่าอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ เชิงเขาไกรลาศ นับเป็นสัตว์ที่มีปรากฏในงานศิลปะของไทยมาก ส่วนในวรรณคดีไทยก็มีการอ้างถึงกินรีด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และกินรี · ดูเพิ่มเติม »

กุฏิ

กุฏิ หรือ กุฎี (อ่านว่า กุด หรือ กุดติ) แปลว่า กระต๊อบ, กระท่อม, โรงนา ใช้ว่า กุฏี ก็ได้ เรียกเพี้ยนไปว่ากฎิ ก็มี (กฎิ แปลว่า สะเอว) หมายถึงอาคารที่เป็นโรงเรือนหรือตึกอันเป็นที่อยู่พำนักอาศัยของภิกษุสามเณร ใช้เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา กุฏิ สมัยก่อนจะแยกกันเป็นหลัง ๆ อยู่รวมกันหลาย ๆ หลัง เช่น กุฏิเรือนไทย เรียกว่า กุฏิหมู่ หรือ หมู่กุฏิ บางแห่งสร้างเป็นหลายชั้นและหลายห้อง เรียกว่า กุฏิแถว สำหรับกุฏิที่ประทับของพระพุทธเจ้ามีชื่อเรียกเป็นพิเศษว่า พระคันธกุฎี เพราะมีกลิ่นหอมอยู่ตลอดเวลา กุฏิที่อยู่อาศัย พุทธบัญญัติเดิมกําหนดขนาดของ กุฏิให้พอดีที่พระภิกษุรูปเดียวจะอาศัยอยู่ได้สะดวก มีเนื้อที่กําหนดความยาว ๑๒ คืบพระสุคต และกว้าง ๗ คืบพระสุคต คือ ประมาณ ๓.๐๐ เมตร x ๑.๗๕ เมตร ตามมาตราส่วนปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ขนาดตามที่กําหนดไว้นี้กําหนดเพื่อการอยู่อาศัย โดยแท้จริงมิใช่เพื่อสะสมสิ่งใดๆด้วยเลยตัวอย่างเช่นกุฏิที่ใช้ ในการปฏิบัติวิปัสสนาโดยทั่วไปในปัจจุบัน การที่พระภิกษุแต่ละรูปจะมีกุฏิอยู่อาศัยเองได้นั้น จะต้องประกาศต่อสาธารณะว่าจะทํากุฏิอยู่อาศัยอยู่ถึง ๓ ครั้ง หากไม่มีผู้ใดคัดค้านกรรมสิทธิ์ในที่ดินจึงจะทํากุฏิอยู่ได้ ที่มีพุทธบัญญัติให้กระทํา ดังนี้ก็เพื่อมิให้พระภิกษุล่วงละเมิด ที่ดินที่เป็นทรัพย์สินกรรมสิทธิ์ของผู้อื่น หรือพระภิกษุ อาจเข้าอยู่อาศัยในที่ที่มีผู้สละแบ่งให้ก็ได้ เช่นในเรือนที่พระภิกษุจะต้องอยู่รวมกันหลายๆ รูป แต่การอยู่อาศัยรวมกันนั้น ก็จะต้องมีการกำหนด แบ่งเขตให้เป็นสัดส่วนเฉพาะของภิกษุแต่ละรูป เขตเฉพาะตนดังกล่าวนี้เรียกว่า เขตของการครองผ้าไตรจีวร เขตนี้มีเครื่องล้อมบังเป็นที่หมายกำหนด แต่ถ้าไม่มีเครื่องล้อมบัง จะถือเอากำหนดหัตถบาสที่มีระยะหนึ่งศอกโดยรอบตัวเป็นเขตกำหนด หรือเป็นป่าก็อนุญาตให้อย่างมาก ๗ อัพภันดรโดยประมาณ คือในวงรอบ ๙๘ เมตร เป็นเขตครองผ้าไตรจีวร เขตครองผ้าไตรจีวร หมายถึง เขตที่พระภิกษุ จะต้องรักษาเครื่องนุ่งห่มที่เรียกว่าไตรจีวร (ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และผ้าพาดไหล่) ไว้กับตัวเฉพาะในเวลากลางคืน จนกว่าจะถึงเวลาเช้า แม้ในเวลานอนก็จะต้องรักษาไตรจีวรไว้ใกล้ตัว หากพระภิกษุละทิ้งให้ไตรจีวรอยู่ห่างจากตัว แม้ระยะห่างเกินกว่าหัตถบาสรอบตัว ก็ถือว่าขาดจากความเป็นเจ้าของ จะต้องประกาศความเป็นเจ้าของกับพระภิกษุรูปอื่นใหม่ เพื่อให้เป็นพยานจึงนำมานุ่งห่มได้อีก การที่มีบัญญัติเช่นนี้ ก็เพื่อให้มีการรู้จักระมัดระวังข้าวของของตน ไม่ให้ถูกลักขโมยได้ง่าย ลักษณะอาคารที่ใช้สอยในเขตสังฆวาสนี้ ไม่มีข้อกำหนดว่า จะต้องเป็นรูปหรือทรวดทรงอย่างไร ตามที่ปฏิบัติกันมานั้น กุฏิส่วนมากก็มีลักษณะดังเรือนราษฎรอยู่อาศัย เพราะพระภิกษุก็คือราษฎรที่มาบวชนั่นเอง แต่ถ้าจะมีการกำหนดจำแนกแล้ว กุฏิที่พระสงฆ์อยู่อาศัยอาจมีได้ดังนี้ ๑.ภิกษุสร้างขึ้นเองโดยวิธีประกาศหาที่ที่ไม่มีผู้คัดค้าน และอยู่ในขนาดที่มีพุทธานุญาต.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และกุฏิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษา

ษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การพูดอะไรก็ได้ที่เป็นภาษาเช่น สวัสดี คน สวย ให้ พี่ ไป ส่ง ป่าว เป็นราก...

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลาว

ษาลาว (ลาว: ພາສາລາວ พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไท.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และภาษาลาว · ดูเพิ่มเติม »

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาดเล็ก

มหาดเล็ก หมายถึง ข้าราชการในพระราชสำนัก โดยพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ว่า “......

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และมหาดเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

มะขาม

วามหมายอื่น ดูที่ อำเภอมะขาม มะขาม เป็นไม้ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบประเทศซูดาน ต่อมามีการนำเข้ามาในประเทศแถบเขตร้อนของเอเชียและประเทศแถบลาตินอเมริกา และในปัจจุบันมีมากในเม็กซิโก ชื่อมะขามในภาคต่าง ๆ เรียก มะขามไทย ภาคกลาง ขาม ภาคใต้ ตะลูบ โคราช ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) อำเปียล เขมร จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า tamarind ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ:تمر هندي (tamr hindī) แปลว่า Indian date มะขามเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดเพชรบูรณ์ มะขามในไทยมีสองชนิดคือมะขามเปรี้ยวและมะขามหวาน โดยมะขามหวานมีหลายพันธุ์เช่น พันธุ์น้ำผึ้ง อินทผลัม หมื่นจง สีทอง ในบางครั้งจะเรียกมะขามตามลักษณะของฝัก เช่น มะขามขี้แมว คือมะขามฝักกลม มะขามกระดาน คือมะขามฝักแบน มะขามข้อเดียวคือมะขามที่ฝักมีข้อเดียวออกกลมป้อม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และมะขาม · ดูเพิ่มเติม »

ยานพาหนะ

ักรยานยนต์เป็นยานพาหนะชนิดหนึ่ง ยานลอยตัวเป็นพาหนะชนิดหนึ่ง ยานพาหนะ หมายถึงวัตถุหรือสิ่งประดิษฐ์ที่ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตซึ่งสามารถเคลื่อนย้ายขนส่งไปได้ ยานพาหนะส่วนใหญ่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ อาทิ จักรยาน รถยนต์ จักรยานยนต์ รถไฟ เรือ และเครื่องบิน เป็นต้น หรือไม่ได้สร้างขึ้นโดยมนุษย์แต่สามารถเคลื่อนย้ายขนส่งไปได้ เช่น ภูเขาน้ำแข็งหรือท่อนซุงลอยน้ำ เป็นต้น ยานพาหนะสามารถชักจูงโดยสัตว์ เช่น รถม้าหรือเกวียนเทียมวัว อย่างไรก็ตามตัวสัตว์เองนั้นก็ไม่ได้เรียกว่าเป็นยานพาหนะ ซึ่งรวมไปถึงมนุษย์ที่เคลื่อนย้ายขนส่งมนุษย์ด้วยกันเอง (คนอุ้มคน) ก็ไม่ได้เรียกว่าเป็นยานพาหนะ แต่สัตว์และมนุษย์เหล่านั้นจะเรียกว่าเป็น พาหนะ (ไม่มีคำว่ายาน) ยานพาหนะแบ่งตามการเคลื่อนย้ายได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ยานพาหนะส่วนใหญ่ที่เคลื่อนย้ายขนส่งบนพื้นจะมีล้อ เช่น เกวียน, จักรยาน,รถยนต์ และรถไฟ และส่วนยานพาหนะที่ไม่ได้เคลื่อนที่บนพื้นมักถูกเรียกว่า craft เช่น watercraft, sailcraft, aircraft (อากาศยาน), hovercraft (ยานสะเทินน้ำสะเทินบก) และ spacecraft (ยานอวกาศ).

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และยานพาหนะ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรี

รัฐมนตรี คือผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการและรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง ในอดีต รัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐศาสตร์

รัฐศาสตร์ (political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 ซึ่งนักรัฐศาสตร์ยุคแรกนั้นพัฒนากระบวนวิชาขึ้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามแสวงหา และทำความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การปกครอง (government) หรือการเมือง กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหนึ่งซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่างๆ อาทิ ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบันทางการเมือง, การเมืองระหว่างประเทศ การปกครองและการบริหารรัฐ (national politics), การเมืองการปกครองท้องถิ่น (local politics) เป็นต้น ซึ่งสาขาต่างๆเหล่านี้อาจแปรเปลี่ยนไปตามแต่ละสถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวนวิชาใดนั้นเป็นรัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ขึ้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ "การเมือง" เป็นมโนทัศน์หลัก (crucial concept/key concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา(scholar) นั้นรัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยที่เป็นหลักอย่างน้อย 3 สาขาคือ สาขาการปกครอง (government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (public administration) และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(international relation).

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และรัฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัง

รัง (Burmese sal, Ingyin, Dark red meranti, Light red meranti, Red lauan) เป็นไม้ยืนต้นประเภทใบเดียวชนิดหนึ่งที่มีอยู่ตามป่าเบญจพรรณแล้งและป่าแดงทั่วไป มีคุณสมบัติในการทนแล้งและทนไฟได้ดีมาก พบในประเทศอินโดนีเซีย, มาเลเซีย, พม่า และไทย เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ มีความสูง 15–20 เมตร เปลือกต้นสีเทาแตกเป็นร่องตามความยาวลำต้น ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปไข่ ปลายใบมน โคนใบหยักเว้า ดอกสีเหลืองออกเป็นช่อ กลิ่นหอมอ่อน ออกดอกเดือนมีนาคม-เมษายน ผลรูปกระสวย มีปีกยาว 3 ปีก ปีกสั้น 2 ปีก เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดอุดรธานี มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "เปา, เปาดอกแดง" ในภาษาเหนือ หรือ "เรียง, เรียงพนม" ในภาษาเขมร.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และรัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วอก

right วอก เป็นชื่อปีที่ 9 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นลิง พุทธศักราชที่ตรงกับปีวอก เช่น พ.ศ. 2511 พ.ศ. 2523 พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2571 พ.ศ. 2583 และ พ.ศ. 2595 เป็นต้น โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย โดยการใช้สัญลักษณ์ลิงเป็นตัวแทนประจำปีนั้นมีที่มาจากจีน โดยปรากฏมีหลักฐานทางโบราณว่าตั้งแต่ก่อนยุคราชวงศ์ฉิน (221 ปีก่อนค.ศ. – 207 ปีก่อนค.ศ.) ก็ปรากฏมีการใช้สัตว์ประเภทต่าง ๆ แทนปีนักษัตรแล้ว โดยลิงซึ่งเป็นตัวแทนปีวอกนั้น การออกเสียงในภาษาจีน (猴) เป็นคำพ้องเสียงกับการออกเสียงเรียกบรรดาศักดิ์ขั้นหนึ่งของขุนนางจีนในยุคโบราณ ดังนั้นลิงจึงเป็นนัยของการอวยพรถึงการมียศถาบรรดาศักดิ์ในยุคโบราณที่ยังมีการปกครองแบบราชาธิปไตย เทียบความหมายในยุคปัจจุบัน คือ ความเจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน ในภาพจิตรกรรมแบบจีน ลิงจึงมักปรากฏในคติเช่นนี้ เช่น รูปลิงปีนต้นไม้แล้วแขวนตราประจำตำแหน่ง หรือลิงขี่ม้า หมายถึง ขอให้มีความก้าวหน้าในเร็ววัน ตามความเชื่อในเชิงโหราศาสตร์แบบจีน ผู้ที่เกิดปีวอกจะไม่ถูกกับผู้ที่เกิดปีขาล (เสือ) หากเป็นคู่สามีภรรยาที่ครองคู่ด้วยกันจะทะเลาะกันอย่างรุนแรง หากแต่ปีวอกนั้นจะสมพงษ์กับผู้ที่เกิดปีมะเส็ง (งูเล็ก) และในส่วนคติความเชื่อแบบล้านนา ผู้ที่เกิดปีวอก พระเจดีย์ธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุพนม ณ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และวอก · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร

วัดพระธาตุพนม วรมหาวิหาร เป็นวัดพระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร ปัจจุบันมี พระเทพวรมุนี เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุ

วัดมหาธาตุ เป็นชื่อเรียกของวัดที่ที่มีพระสถูปเจดีย์หรือพระปรางค์ที่บรรจุพระอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และวัดมหาธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

วิหาร

วิหาร คืออาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคล้ายเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้า คู่กับอุโบสถ แต่ไม่มีวิสุงคามเหมือนพระอุโบสถ คำว่า วิหาร แต่เดิมใช้ในความหมายว่า วัด เช่นเดียวกับคำว่า อาราม อาวาส เช่น เวฬุวัน วิหาร เชตวันมหาวิหาร วิหารมีหลายแบบ เช่น.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วีรพงษ์ รามางกูร

วีรพงษ์ รามางกูร หรือ ดร.โกร่ง รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตที่ปรึกษาเศรษฐกิจในหลายรัฐบาล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และวีรพงษ์ รามางกูร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนา

ัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ ภาพศาสนพิธีในศาสนาต่าง ๆ ทั่วโลก ศาสนา (Religion) หมายถึง ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบายความหมายของชีวิต และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับศีลธรรม จริยศาสตร์ กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก นอกจากนี้ ยังมีผู้ไม่นับถือศาสนาใด ๆ ซึ่งเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสน.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สกุล

กุล อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สังฆราช

ังฆราช คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดในสังฆมณฑล ในแต่ละประเทศ เช่น ประเทศพม่า ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา มักมีพระสังฆราชเป็นของตน พระสังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสกลมหาสังฆปริณายก) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระราชาแห่งคณะสง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และสังฆราช · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม

ระเบิดนิวเคลียร์ที่ นางาซากิในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง สงคราม (war) คือ สถานะความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างองค์การที่เป็นอิสระ (เช่น รัฐและตัวแสดงที่มิใช่รัฐ) หรือแนวร่วมขององค์การดังกล่าว โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นการรุกราน การทำลายล้างรวมสุดขีดและปกติมีอัตราตายสูง ชุดเทคนิคที่กลุ่มใช้ดำเนินสงคราม เรียก การสงคราม (warfare) การปลอดสงคราม ปกติเรียก สันติภาพ นักวิชาการบางส่วนมองว่าการสงครามเป็นสากลและเป็นส่วนที่สืบมาแต่บรรพชนของธรรมชาติมนุษย์ แต่บางส่วนก็แย้งว่าสงครามเป็นเพียงผลลัพธ์แห่งกรณีแวดล้อมทางสังคม-วัฒนธรรมหรือระบบนิเวศเฉพาะ ใน..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ส่วย

วย อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และส่วย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพระบาง

หลวงพระบาง (ຫຼວງພຣະບາງ) เป็นเมืองเอกของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและแม่น้ำคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกันบริเวณนั้นเรียกว่า ปากคาน เป็นเมืองที่องค์การยูเนสโกได้ยกย่องให้เป็นมรดกโลกด้ว.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และหลวงพระบาง · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอามาตย์ราชวงษา (อำนาจ รามางกูร)

หลวงอามาตย์ราชวงษา (อำนาจ รามางกูร) คนทั่วไปและทายาทบุตรหลานนิยมออกนามว่า กวานหลวงอำมาตย์ หรือ กวานอามาถย์ หรือ ท้าวอำนาจราชวงศ์ อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากผู้ควบคุมท้าวเพี้ยตัวเลกข้าพระมหาธาตุพนม หรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๑ ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย หลังสิ้นสุดการปกครองแบบเจ้าเมืองหรือขุนโอกาส อีกทั้งยังมีตำแหน่งเป็นอดีตกวานเวียงชะโนดองค์ที่ ๓ ด้ว.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และหลวงอามาตย์ราชวงษา (อำนาจ รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

อหิวาตกโรค

อหิวาตกโรค หรือ โรคห่า (cholera) คือ โรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Vibrio cholerae ที่ลำไส้เล็ก ผู้ป่วยจะมีอาการท้องร่วงเป็นน้ำและอาเจียนเป็นหลัก เรียกว่า "ลงราก" จึงเรียกโรคนี้ว่า "โรคลงราก" ก็มี และถ้าเกิดแก่สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ วัว ควาย เรียก "กลี" ร่างกายจะขับน้ำออกมาเป็นจำนวนมาก ในผู้ป่วยรุนแรงอาจทำให้มีผิวสีออกเทา-น้ำเงินได้ การแพร่เชื้อเกิดขึ้นจากการดื่มน้ำหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระของผู้ติดเชื้อเป็นหลัก ซึ่งผู้นั้นแม้ไม่มีอาการก็สามารถแพร่เชื้อได้ ความรุนแรงของอาการท้องร่วงและอาเจียนสามารถนำไปสู่ภาวะขาดน้ำและเสียสมดุลเกลือแร่อย่างรวดเร็ว กระทั่งเสียชีวิตในบางราย การรักษาหลักคือการชดเชยสารน้ำโดยการกิน ซึ่งมักทำโดยให้ดื่มสารละลายชดเชยการขาดน้ำและเกลือแร่ ถ้าไม่ได้ผลหรือได้ผลเร็วไม่เพียงพอหรือดื่มไม่ได้ ผู้ป่วยบางรายอาจจำเป็นต้องได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ สำหรับผู้ป่วยบางรายที่เป็นรุนแรงอาจใช้ยาปฏิชีวนะช่วยเพื่อลดระยะเวลาและความรุนแรงของการป่ว..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และอหิวาตกโรค · ดูเพิ่มเติม »

อาญาสี่

อาญาสี่ คือระบบการปกครองของราชอาณาจักรล้านช้างในสมัยโบราณ ที่พัฒนาขึ้นมาหลังการสถาปนาราชอาณาจักรล้านช้างในสมัยสมเด็จพระเจ้าฟ้างุ้ม และเป็นระบบการปกครองดั้งเดิมที่ถูกจารึกอยู่ใน คัมภีร์พระธรรมศาสตร์หลวง หรือคัมภีร์กฎหมายโบราณของลาวในสมัยสมเด็จพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชแห่งเวียงจันทน์ ตลอดจนกฎหมายท้าวพระยาโบราณของลาวและอีสานอีกหลายฉบับ ในวรรณกรรมโบราณเรียกระบบอาญาสี่ว่า เจ้าขันคำทั้งสี่ เมืองส่วนใหญ่ในราชอาณาจักรล้านช้างไม่ว่าจะเป็นนครหลวง เมืองเอกราช เมืองประเทศราชหรือเมืองสะทุดสะลาด เมืองหัวเศิก เมืองนครขอบด่าน เมืองกัลปนาหรือเมืองศาสนานคร ตลอดจนหัวบ้านหัวเมืองใหญ่น้อยและเมืองห้อยเมืองแขวนทั้งหลาย เช่น เมืองชั้นเอก เมืองชั้นโท เมืองชั้นตรี และเมืองชั้นจัตวา ต่างนิยมใช้ระบบการปกครองแบบอาญาสี่ทั้งสิ้น หลังจากประกาศสถาปนาพระราชอาณาจักรลาวได้มีการยกย่องพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตให้อยู่เหนืออาญาทั้ง ๓ ตำแหน่ง แล้วเพิ่มอาญาตำแหน่งอื่นเข้าไปอีก ๒ ตำแหน่ง รวมเป็น ๕ ตำแหน่งเรียกว่า เจ้าย่ำขม่อมทั้งห้า หรือ เจ้ายั้งกระหม่อมทั้งห้า ระบบอาญาสี่แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ประเภทที่เป็นการปกครองของลาวโดยตรง ประกอบด้วย ๔ ตำแหน่ง คือ เจ้าเมือง อุปฮาด ราชวงศ์ ราชบุตร และประเภทที่สองเป็นการปกครองของลาวที่ได้รับอิทธิพลจากเขมร แบ่งออกเป็น ๔ ตำแหน่งเช่นกัน ได้แก่ เจ้าเมือง ปลัดเมือง ยกกระบัตรเมือง และกรมการเมืองหรือกรรมการเมือง แต่ในความเข้าใจโดยทั่วไปแล้วอาญาสี่มักหมายถึงถึงระบบการปกครองประเภทแรกมากกว่าประเภทที่สอง ส่วนเจ้านายในราชวงศ์ที่มีตำแหน่งต่ำกว่าอาญาสี่นั้นกษัตริย์หรือเจ้าเมืองมักโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้ดำรงตำแหน่งเสนาบดีสำคัญอีก ๒ ประเภท ได้แก่ เสนาบดีจตุสดมภ์ และเสนาบดีอัตถสดม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และอาญาสี่ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และอาณาจักรล้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธาตุพนม

ตุพนม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และอำเภอธาตุพนม · ดูเพิ่มเติม »

อีสาน

อีสาน หรือ อิสาน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

องคต

องคต (Angada จากअङ्गद องฺคท) เป็นตัวละครเอกตัวหนึ่งของเรื่อง รามเกียรติ์ เป็นลูกของพญาพาลี กับนางมณโฑ เป็นทหารเอกของพระรามมีอาวุธเป็นธนู ที่แม้แต่ใครก็ตามที่มาสู้กับองคตก็ต้องตายหมด องคตเกิดมาจาก เมื่อพาลีแย่งนางมณโฑมาจากทศกัณฐ์แล้ว นางต้องเป็นภรรยาของพาลีจนกระทั่งตั้งครรภ์ ทศกัณฐ์จึงไปฟ้องฤๅษีอังคัตผู้เป็นอาจารย์ของพาลีให้มาว่ากล่าวพาลี จนพาลียอมคืนนางมณโฑให้แต่ขอลูกเอาไว้ ฤๅษีอังคัตจึงทำพิธีเอาลูกออกจากท้องนางมณโฑไปใส่ในท้องแพะ เมื่อครบกำหนดคลอดพระฤๅษีก็ทำพิธีให้ออกจากท้องแพะให้ชื่อว่า องคต ทศกัณฐ์ยังผูกใจเจ็บ จึงแปลงกายเป็นปูยักษ์ คอยอยู่ก้นแม่น้ำเพื่อที่จะฆ่าองคตขณะทำพิธีลงสรง แต่ถูกพาลีจับได้ แล้วเอามาผูกไว้ให้ลูกลากเล่นอยู่เจ็ดวันจึงปล่อยไป เมื่อสุครีพขอให้พระรามมาช่วยปราบพาลี ก่อนที่พาลีจะสิ้นใจตาย ได้สำนึกว่าตนทำผิดต่อสุครีพ ทั้งไม่รักษาคำสัตย์สาบาน จึงได้ทูลฝากฝังสุครีพและองคตไว้กับพระราม องคตได้ช่วยทำศึกกับกองทัพของทศกัณฐ์อย่างเต็มความสามารถ พระรามเคยส่งองคตเป็นทูตไปเจรจากับทศกัณฐ์ เพื่อทวงนางสีดาคืนกลับมา แม้จะไม่สำเร็จ แต่ก็ได้แสดงความเฉลียวฉลาดและความกล้าหาญ ให้ประจักษ์แก่ตาของทศกัณฐ์ องคตเป็นผู้ที่มีสัมมาวาจา สามารถพูดจาให้คนหลงเชื่อได้ ดังจะเห็นได้จากตอนที่พระรามให้องคตแปลงกายเป็นยักษ์พิจิตรไพรีไปทูลขอแว่นแก้วสุรกานต์จากพระพรหม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และองคต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมุกดาหาร

มุกดาหาร เป็นจังหวัดชายแดน อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 642 กิโลเมตร แยกออกมาจากจังหวัดนครพนมเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2525 นับเป็นจังหวัดที่ 73 ของประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และจังหวัดมุกดาหาร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสตึงแตรง

ตึงแตรง (ស្ទឹងត្រែង, "แม่น้ำต้นกก") เป็น 1 ใน 2 จังหวัดที่อยู่ทางตอนเหนือสุดของประเทศกัมพูชา ชาวลาวเรียกชื่อที่แห่งนี้ว่า เซียงแตง (ຊຽງແຕງ) ส่วนในภาษาไทยเดิมเรียกตามภาษาลาวว่า เชียงแตง บ้างก็ทับศัพท์เป็น สตึงเตรง หรือ สะตึงแตรง พื้นที่ส่วนนี้เคยเป็นเขตแดนของอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ (ภายหลังเป็นประเทศราชของสยาม) ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 23–25 ก่อนจะตกมาเป็นของกัมพูชาใน พ.ศ. 2447 จากการที่ฝรั่งเศสได้พื้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำโขงในบังคับสยามมาเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินโดจีนฝรั่ง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และจังหวัดสตึงแตรง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครพนม

ังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร นับเป็นเมืองชายแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ความสวยงามของทิวทัศน์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีพระธาตุพนมเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมือง พื้นที่ด้านเหนือและตะวันออกของจังหวัดติดกับแม่น้ำโขงโดยตลอ.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และจังหวัดนครพนม · ดูเพิ่มเติม »

จำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ เป็นเมืองหนึ่งของแขวงจำปาศักดิ์ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศลาว.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุพนม

ตุพนม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และธาตุพนม · ดูเพิ่มเติม »

ทาน

ทาน หมายถึง การให้, การแบ่งปัน, การเสียสละ, การเอื้อเฟื้อ หรืออีกความหมายหนึ่งคือ วัตถุที่พึงให้ ทานที่แปลว่า การให้, การแบ่งปัน, การเสียสละ, การเอื้อเฟื้อ หมายถึงการให้ทานด้วยจิตใจที่ดีงาม มุ่งเพื่อบูชาพระคุณ เช่นที่ให้แก่บิดามารดา ถวายแก่พระสงฆ์ เป็นต้นบ้าง มุ่งเพื่อสงเคราะห์ เช่นที่ให้แก่คนตกทุกข์ได้ยาก ให้แก่คนทั่วไปด้วยความกรุณาสงสารบ้าง ทานที่แปลว่า วัตถุที่พึงให้ ย่อมาจาก "ทานวัตถุ" หมายถึงสิ่งของสำหรับให้สำหรับเสียสละให้ผู้อื่น ได้แก่สิ่งของที่ถวายพระ สิ่งของที่ควรนำไปให้เพื่อตอบแทนบุญคุณแก่ผู้มีพระคุณ เช่นพ่อแม่ ครู อาจารย์ ญาติผู้ใหญ่ เรียกว่าไทยทาน บ้าง ไทยธรรม บ้าง มี 10 อย่าง ทานสูตร ได้แก่ อาหาร, น้ำ, เครื่องนุ่งห่ม, ยานพาหนะ, มาลัยและดอกไม้, ของหอม (ธูปเทียน), เครื่องลูบไล้ (สบู่เป็นต้น), ที่นอน, ที่อยู่อาศัย, และประทีป (ไฟหรือไฟฟ้า) การให้ทานวัตถุ 10 อย่างนี้มีผลอานิสงส์มากเพราะเป็นสิ่งที่ให้ประโยชน์อย่างเดียว ไม่มีโทษ ไม่มีพิษภัยแก่ผู้รับ การเลือกของที่จะให้บัณฑิตสรรเสริญ ด้วยจิตใจที่ดีงาม ทานเป็นบุญอย่างหนึ่ง เรียกว่า "ทานมัย" คือบุญที่เกิดจากการให้ เป็นสังคหวัตถุ คือเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจกันไว้ได้ และเป็นบ่อเกิดแห่งบารมีที่เรียกว่า ทานบารมี การให้ทานมีวัตถุประสงค์สำคัญในการคลายความตระหนี่ ความเห็นแก่ตัว ความโลภในจิตใจมนุษย์ ส่งผลให้เกิดความ ใส สว่าง สะอาดของจิตใจขึ้นม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และทาน · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสุริยะราชวัตร์ (อ้วน รามางกูร)

ท้าวสุริยะราชวัตร์ (อ้วน รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากผู้ควบคุมท้าวเพี้ยตัวเลกข้าพระมหาธาตุพนม หรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๒ ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย หลังสิ้นสุดการปกครองแบบเจ้าเมืองหรือขุนโอกาส และเป็นผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๕.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และท้าวสุริยะราชวัตร์ (อ้วน รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร)

ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร) อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากผู้ควบคุมท้าวเพี้ยตัวเลกข้าพระมหาธาตุพนม หรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๔ (ก่อน พ.ศ. ๒๔๑๗) ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย เป็นเจ้านายจากราชวงศ์เวียงจันทน์ผู้ปกครองธาตุพนมในลำดับที่ ๗ เดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ ท้าวสุวรรณเชษฐา กรมการเมืองธาตุพนมเดิม สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์เวียงจันทน์และจำปาศักดิ์ ตั้งแต่สมัยก่อนสงครามกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ท้องถิ่นที่ เพี้ยอรรคฮาช กรมการในคณะอาญาสี่เมืองธาตุพนมก่อนถูกยุบลงเป็นกองบ้านธาตุพนม อนึ่ง ท้าวอุปละ (มุง รามางกูร) เป็นต้นตระกูล อุปละ และตระกูล อุประ แห่งอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และท้าวอุปละ (มุง รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

ขวาน

ขวานตัดไม้ ขวาน เป็นเครื่องมือที่มีมาแต่อดีต ใช้ในการตัดไม้ หรือหั่นไม้ รวมไปถึงการใช้เป็นอาวุธ โดยทั่วไปขวานจะประกอบด้วยสองส่วนหลักคือ ส่วนหัว และส่วนด้ามจับ โดยจะเห็นได้ว่าขวานเป็นตัวอย่างหนึ่งที่เป็นเทคโนโลยีเกี่ยวกับลิ่ม ที่ใช้ในการผ่อนแรง ขวานในสมัยโบราณ ส่วนหัวทำจากหิน และผูกเข้ากันกับด้ามไม้ ในขณะที่ขวานในยุคปัจจุบันส่วนหัว จะสร้างจากเหล็กและด้ามจับไม้ โดยขวานจะมีทั้งแบบที่ด้ามยาว และแบบด้ามสั้นขึ้นอยู่กับประเภทการใช้งานของขวานนั้น ๆ หมวดหมู่:เครื่องมือตัด หมวดหมู่:อาวุธมีคม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และขวาน · ดูเพิ่มเติม »

ขอม

อม เป็นชื่อทางวัฒนธรรม ไม่ใช่ชื่อชนชาติ หมายถึงคนกลุ่มหนึ่งที่อยู่บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา นับถือฮินดูหรือพุทธมหายาน ทางใต้ของแคว้นสุโขทัย อาจจะหมายถึงพวก ละโว้ (หรือ ลพบุรี) เอกสารทางล้านนา เช่น จารึกและตำนานต่างๆ ล้วนระบุสอดคล้องกันว่าขอมคือพวกที่อยู่ทางใต้ของล้านนา(ในสมัยอาณาจักรสุโขทัย) เนื่องจากคำว่า ขอม สัญนิษฐานว่ามาจากคำว่า “เขมร”+”กรอม” (ที่แปลว่าใต้) พูดเร็วๆ กลายเป็น “ขอม” พวกนี้ตัดผมเกรียน และนุ่งโจงกระเบน กินข้าวเจ้า ฯลฯ แคว้นละโว้มีชื่อในตำนาน และพงศาวดารว่า กัมโพช เลียนอย่างชื่อ กัมพูชา ของเขมร นับถือทั้งฮินดูและพุทธมหายาน อาจารย์ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เคยเขียนอธิบายไว้ว่า ขอมเป็นพวกนับถือฮินดูหรือพุทธมหายาน ใครเข้ารีตเป็นฮินดู หรือพุทธมหายาน เป็นได้ชื่อว่า ขอม ทั้งหมด ขอมไม่ใช่ชื่อชนชาติ เพราะไม่มีชนชาติขอม แต่เป็นชื่อทางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับ สยาม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และขอม · ดูเพิ่มเติม »

ข่า (พืช)

ป็นพืชที่มีลำต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า "เหง้า" อยู่ในวงศ์ขิง เป็นไม้ล้มลุก เป็นพืชสมุนไพรที่นำมาใช้ในการประกอบอาหารในประเทศไทยและอินโดนีเซีย ข่ามีชื่อสามัญอื่นอีกคือ กฎุกกโรหินี (กลาง) ข่าหยวก (เหนือ) ข่าหลวง (ตะวันออกเฉียงเหนือ,เหนือ) สะเอเชย (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) และ เสะเออเคย (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน).

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และข่า (พืช) · ดูเพิ่มเติม »

ข้าว

้าว ข้าว เป็นเมล็ดของพืชในสกุลข้าวที่พบมากในเอเชีย ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งประชากรโลกบริโภคเป็นอาหารสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทวีปเอเชีย จากข้อมูลเมื่อปี 2553 ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งมีการปลูกมากที่สุดเป็นอันดับสามทั่วโลก รองจากข้าวสาลีและข้าวโพด ข้าวเป็นธัญพืชสำคัญที่สุดในด้านโภชนาการและการได้รับแคลอรีของมนุษย์ เพราะข้าวโพดส่วนใหญ่ปลูกเพื่อจุดประสงค์อื่น มิใช่ให้มนุษย์บริโภค ทั้งนี้ ข้าวคิดเป็นพลังงานกว่าหนึ่งในห้าที่มนุษย์ทั่วโลกบริโภค หลักฐานพันธุศาสตร์แสดงว่าข้าวมาจากการนำมาปลูกเมื่อราว 8,200–13,500 ปีก่อน ในภูมิภาคหุบแม่น้ำจูเจียงของจีน ก่อนหน้านี้ หลักฐานโบราณคดีเสนอว่า ข้าวมีการนำมาปลูกในเขตหุบแม่น้ำแยงซีในจีน ข้าวแพร่กระจายจากเอเชียตะวันออกไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ ข้าวถูกนำมายังทวีปยุโรปผ่านเอเชียตะวันตก และทวีปอเมริกาผ่านการยึดอาณานิคมของยุโรป ปกติการปลูกข้าวเป็นแบบปีต่อปี ทว่าในเขตร้อน ข้าวสามารถมีชีวิตอยู่ได้หลายปีและสามารถไว้ตอ (ratoon) ได้นานถึง 30 ปี ต้นข้าวสามารถโตได้ถึง 1–1.8 เมตร ขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็นหลัก มีใบเรียว ยาว 50–100 เซนติเมตร และกว้าง 2–2.5 เซนติเมตร ช่อดอกห้อยยาว 30-50 เซนติเมตร เมล็ดกินได้เป็นผลธัญพืชยาว 5–12 มิลลิเมตร และหนา 2–-3 มิลลิเมตร การเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าวเหมาะกับประเทศและภูมิภาคที่ค่าแรงต่ำและฝนตกมาก เนื่องจากมันใช้แรงงานมากที่จะเตรียมดินและต้องการน้ำเพียงพอ อย่างไรก็ตาม ข้าวสามารถโตได้เกือบทุกที่ แม้บนเนินชันหรือเขตภูเขาที่ใช้ระบบควบคุมน้ำแบบขั้นบันได แม้ว่าสปีชีส์บุพการีของมันเป็นสิ่งพื้นเมืองของเอเชียและส่วนที่แน่นอนของแอฟริกา ร้อยปีของการค้าขายและการส่งออกทำให้มันสามัญในหลายวัฒนธรรมทั่วโลก วิธีแบบดั้งเดิมสำหรับเตรียมดินสำหรับข้าวคือทำให้น้ำท่วมแปลงชั่วขณะหนึ่งหรือหลังจากการตั้งของต้นกล้าอายุน้อย วิธีเรียบง่ายนี้ต้องการการวางแผนที่แข็งแรงและการให้บริการของเขื่อนและร่องน้ำ แต่ลดพัฒนาการของเมล็ดที่ไม่ค่อยแข็งแรงและวัชพืชที่ไม่มีภาวะเติบโตขณะจมน้ำ และยับยั้งศัตรูพืช ขณะที่การทำให้น้ำท่วมไม่จำเป็นสำหรับการเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าว วิธีทั้งหมดในการการชลประทานต้องการความพยายามสูงกว่าในการควบคุมวัชพืชและศัตรูพืชระหว่างช่วงเวลาการเจริญเติบโตและวิธีที่แตกต่างสำหรับใส่ปุ๋ยลงดิน.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และข้าว · ดูเพิ่มเติม »

ข้าหลวง

้าหลวง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และข้าหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ควาย

| name.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และควาย · ดูเพิ่มเติม »

คำ

ำ เป็นหน่วยของภาษาที่สื่อถึงความหมายซึ่งประกอบด้วยพยางค์หนึ่งพยางค์หรือมากกว่า ปกติแล้วในแต่ละคำจะมีรากศัพท์ของคำแสดงถึงความหมายและที่มาของคำนั้น โดยการนำคำหลายคำมาประกอบกันจะทำให้เกิดวลีหรือประโยคซึ่งใช้สื่อความหมายให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นไป.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และคำ · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล (ประเทศไทย)

ตำบล เป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทยซึ่งมีขนาดเล็กกว่าอำเภอและจังหวัด จึงจัดว่าเป็นเขตการปกครองระดับที่สาม จากข้อมูลเมื่อปี..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และตำบล (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ประติมากรรม

ผลงานประติมากรรมนูนต่ำ(ภาพแกะสลัก)ที่ปราสาทนครวัด โรแด็ง ประติมากรชาวฝรั่งเศส ผลงานประติมากรรมลอยตัว ของโรแด็ง ประติมากรชาวฝรั่งเศส ประติมากรรม (Sculpture) เป็นงานศิลปะแสดงออกด้วยการปั้น แกะสลัก หล่อ และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น ลงบนสื่อต่างๆ เช่น ไม้ หิน โลหะ สัมฤทธิ์ ฯลฯ เพื่อให้เกิดรูปทรง 3 มิติ มีความลึกหรือนูนหนา สามารถสื่อถึงสิ่งต่างๆ สภาพสังคม วัฒนธรรม รวมถึงจิตใจของมนุษย์โดยชิ้นงาน ผ่านการสร้างของประติมากร ประติมากรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานประติมากรรม มักเรียกว่า ประติมากร งานประติมากรรมที่เกี่ยวกับศาสนามักสะกดให้แตกต่างออกไปว่า ปฏิมากรรม ผู้ที่สร้างงานปฏิมากรรม เรียกว่า ปฏิมากร.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และประติมากรรม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศราช

"ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง" ที่หัวเมืองมลายูส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม ประเทศราช หรือ รัฐบรรณาการ หมายถึง รัฐที่มีประมุขเป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราชต้องส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้ราชวงศ์หยวนของจีน (พ.ศ. 1813–1899), กรุงศรีอยุธยาภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), นครเชียงใหม่ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437).

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และประเทศราช · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปลา

ปลา (อังกฤษ: Fish) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำ เป็นสัตว์เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไปมาด้วยครีบและกล้ามเนื้อของลำตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทั่วตัว บางชนิดไม่มีเกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรือแผ่นกระดูก มีหัวใจสองห้องและมีขากรรไกร สัตว์ที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำบางประเภท ถูกเรียกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น ปลาดาว, โลมา, วาฬและหมึก ซึ่งสัตว์ทั้งหมดนี้ก็มีแหล่งอาศัยอยู่ในน้ำด้วยกันทั้งสิ้น แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจำพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาคและสรีรวิทยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับปลา มีโครงสร้างที่เป็นหินปูน โลมาและวาฬถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ถูกจัดรวมอยู่กับสัตว์ประเภทเดียวกันกับหอ.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และปลา · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

นิพพาน

วาดพระพุทธเจ้าเข้าสู่'''อนุปาทิเสสนิพพาน'''สภาวะ นิพพาน (निब्बान nibbāna นิพฺพาน; निर्वाण nirvāṇa นิรฺวาณ) หมายถึง ความดับสนิทแห่งกิเลสและกองทุกข์ เป็นสภาพโลกุตระอันเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดในศาสนาพุทธ คำว่า นิพพาน เป็นคำที่ใช้กันในปรัชญาหลายระบบในอินเดีย โดยใช้ในความหมายของการหลุดพ้น แต่การอธิบายเกี่ยวกับสภาวะของนิพพานนั้นแตกต่างกันออกไป ในปรัชญาอุปนิษัทเชื่อว่านิพพานหรือโมกษะ คือการที่อาตมันย่อยหรือชีวาตมันเข้ารวมเป็นเอกภาพกับพรหมัน แต่ในพระพุทธศาสนาอธิบายว่า นิพพานคือการหลุดพ้นจากอวิชชา ตัณหา ซึ่งแสดงออกในรูปของโลภะ โทสะ และโมหะ มิได้หมายความว่าเป็นการหลุดพ้นของอัตตาหรือตัวตนในโลกนี้ ไปสู่สภาวะของนิพพานอย่างคำสอนอุปนิษัท แต่หมายถึงความดับสนิทแห่งความเร่าร้อนและเครื่องผูกพันร้อยรัดทั้งปวง ซึ่งเรียกว่าเป็นความทุก.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และนิพพาน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง (မဲခေါင်မြစ်; ແມ່ນ້ຳຂອງ; ទន្លេដ៏ធំ; Mê Kông) มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านบริเวณที่ราบสูงทิเบตและมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศจีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ หลานชางเจียง (จีนตัวย่อ: 澜沧江, จีนตัวเต็ม: 瀾滄江) แปลว่า "แม่น้ำที่มีความเชี่ยวกราก" และเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึงคำเมืองล้านนาก็เรียก น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูบตะวันออก นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ ปลาบึก.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และแม่น้ำโขง · ดูเพิ่มเติม »

แขวง

แขวง เป็นชื่อเรียกของเขตการปกครอง โดยในประเทศลาวและประเทศพม่านั้น "แขวง" จะมีอำนาจปกครองในระดับเดียวกับจังหวัดของประเทศไท.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และแขวง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงสุวรรณเขต

หวันนะเขต เชื่อมโยงมาที่นี่ สำหรับความหมายอื่นของสุวรรณเขต ดูที่ สุวรรณเขต (แก้ความกำกวม) สุวรรณเขต หรือ สะหวันนะเขต (ສະຫວັນນະເຂດ สะกด สะหวันนะเขด) เป็นหนึ่งในแขวงของประเทศลาว ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ ทิศตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม ทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับแขวงคำม่วน ทิศใต้ติดกับแขวงสาละวัน เป็นแขวงที่มีเนื้อที่ใหญ่อันดับที่ 2 รองจากแขวงเวียงจันทน์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และแขวงสุวรรณเขต · ดูเพิ่มเติม »

โพธิสัตว์

ัตว์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และโพธิสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพร่

ในสังคมไทยสมัยโบราณ ไพร่ หมายถึง สามัญชนทั่วไปที่ไม่ได้อยู่ในฐานะทาส หรือเจ้าขุนมูลนาย มีอิสระในการประกอบอาชีพ การตั้งบ้านเรือน มีครอบครัว มีศักดินา 10-25 ไร่ และต้องสังกัดมูลนาย จะโยกย้ายสังกัดไม่ได้ ไพร่ที่ขึ้นสังกัดหรือสักเลกแล้ว จะปรากฏเครื่องหมายสังกัดที่ข้อมือ หากสามัญชนผู้ใดไม่ได้สังกัดมูลนายจะไม่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมาย ไพร่มีหน้าที่ในการถูกเกณฑ์แรงงาน หรือเสีย "ส่วย" และถูกเกณฑ์ทหารในยามที่มีศึกสงคราม มีสองประเภทคือ ไพร่หลวง และ ไพร่สม ไพร่หลวง คือไพร่ที่สังกัดกรมกองต่างๆ เป็นไพร่ของพระมหากษัตริย์โดยตรง ประเภทที่ต้องถูกเกณฑ์มาทำงานตามราชการกำหนด และประเภทที่ต้องเสียเงินหรือสิ่งของมาแทนการเกณฑ์แรงงานหรือที่เรียกว่า "ไพร่ส่วย" การส่งเงินมาแทนการเกณฑ์แรงงาน เงินที่ส่งมาเรียกว่า "เงินค่าราชการ" ไพร่สม เป็นไพร่ที่พระมหากษัตริย์พระราชทานให้มูลนายและขุนนางที่มีตำแหน่งทางราชการเพื่อผลประโยชน์ตอบแทน มูลนายจะมีไพร่มากน้อยขึ้นอยู่กับ ยศ ตำแหน่ง ศักดินา ไพร่สมต้องทำงานให้ราชสำนักปีละ 1 เดือน ส่วนเวลาที่เหลือรับใช้มูลนายหรือส่งเงินแทน เมื่อถึงยามสงครามทุกคนต้องเป็นทหารป้องกันอาณาจักร เมื่อมูลนายถึงแก่กรรมไพร่สมจะถูกโอนมาเป็นไพร่หลวง นอกจากบุตรจะขอควบคุมไพร่สมต่อจากบิดา ระบบไพร่ดำรงอยู่จนกระทั่งถึงกลางสมัยรัตนโกสินทร์ จนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่มีการเลิกไพร่อย่างเป็นทางการ เมื่อมีการนำระบบภาษีอากร และระบบเกณฑ์ทหารสมัยใหม่มาใช้แทน.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และไพร่ · ดูเพิ่มเติม »

ไวยาวัจกร

วยาวัจกร (อ่านว่า ไวยาวัดจะกอน) แปลว่า ผู้ขวนขวายช่วยทำกิจของสงฆ์ หมายถึงผู้ช่วยเหลือรับใช้พระสงฆ์ ทำกิจธุระแทนสงฆ์ ไวยาวัจกร ตามกฎหมายหมายถึงคฤหัสถ์ผู้ได้รับแต่งตั้งให้มีหน้าที่เบิกจ่ายนิตยภัต และมีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษาจัดการทรัพย์สินของวัดได้ตามที่เจ้าอาวาสมอบหมายเป็นหนังสือ และกำหนดให้ไวยาวัจกรเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย การแต่งตั้งไวยาวัจกรเป็นอำนาจหน้าที่ของเจ้าอาวาส วัดหนึ่งอาจมีไวยาวัจกรได้หลายคน ความเป็นไวยาวัจกรสิ้นสุดลงเมื่อเจ้าอาวาสผู้แต่งตั้งให้ออกหรือเจ้าอาวาสผู้แต่งตั้งพ้นจากความเป็นเจ้าอาวาส เช่น ลาออก ลาสิกขา มรณ.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และไวยาวัจกร · ดูเพิ่มเติม »

เมืองศรีโคตรบอง

รีโคตรบอง เป็นอำเภอ (เมือง) ของนครหลวงเวียงจันทน์ นครหลวงในตอนกลางของประเทศลาว.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเมืองศรีโคตรบอง · ดูเพิ่มเติม »

เมืองขวา (ประเทศลาว)

มืองขวา เป็นเมืองในแขวงพงสาลี ทางตอนเหนือของประเทศลาวhttp://www.maplandia.com/laos/phongsaly/khoua/ Maplandia world gazetteer1.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเมืองขวา (ประเทศลาว) · ดูเพิ่มเติม »

เมืองคำเกิด

ำเกิด (ຄຳເກີດ) เป็นอำเภอ (เมือง) ของแขวงบอลิคำไซในตอนกลางของประเทศลาว ตั้งอยู่ตรงข้ามกับจังหวัดห่าติ๋ญ ประเทศเวียดนาม เมืองคำเกิดเชื่อมต่อกับทางหลวงหมายเลข 8.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเมืองคำเกิด · ดูเพิ่มเติม »

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน เวียงจันทน์มีชื่อที่ตั้งในรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ว่า กรุงศรีสัตนาคคนหุต วิสุทธิ์รัตนราชธานีบุรีรม.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์

้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ มีพระนามเต็มว่า เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ ดำรงรัฐสีมาอุบลราชธานีบาล พระนามเดิมว่า เจ้าหน่อคำ ทรงเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ ๕ ในฐานะเจ้าประเทศราชต่อจากพระพรหมราชวงศา (กุคำ สุวรรณกูฎ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ ๔ ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) เดิมมีพระยศในตำแหน่งคณะอาญาสี่เป็นที่เจ้าราชวงษ์นครจำปาศักดิ์ ในสมัยเจ้าราชบุตร (โย่) พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์เป็นเจ้านครจำปาศักดิ์ เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ทรงเป็นต้นสกุลพระราชทาน ๒ สกุลคือ พรหมโมบล และ เทวานุเคราะห.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

อนุสาวรีย์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (13 มกราคม พ.ศ. 2318 - 24 มิถุนายน พ.ศ. 2392) อัครมหาเสนาบดีสมุหนายก และแม่ทัพใหญ่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 "เจ้าพระยาบดินทรเดชา" เป็นราชทินนามพิเศษ ที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานราชทินนามนี้มีแต่ท่านเพียงผู้เดียวเท่านั้น.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท (ศรี รามางกูร)

้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท มีพระนามเต็มว่า พระอาชจญาหลวงเจ้าพระรามราชปราณี ศรีมหาพุทธปริษัท ขัติยวรราชวงศา อุกาสะราชาพนม บ้างออกพระนามว่า อาชญาหลวงกลางน้อยศรีวรมุงคุณ หรือ แสนกางน้อยสีมุงคุร พระนามเดิมว่า ท้าวกลางน้อยหรือท้าวศรี บรรดาศักดิ์เดิมที่ ท้าวศรีวรมุงคุณ ทายาทบุตรหลานนิยมออกพระนามโดยยกย่องว่า เจ้าพ่อขุนโอกาส หรือ ญาปู่หลวงกาง หรือ เจ้าปู่หลวงกางน้อย ทรงเป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครพระองค์ที่ 2 จากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม ทรงเป็นเจ้าโอกาส (ขุนโอกาส) ผู้ปกครองกองข้าอุปัฏฐากพระมหาธาตุเจ้าพระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) พระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ในตำนานบ้านดงนาคำกล่าวว่า ทรงเป็นผู้รักษาคัมภีร์อุรังคธาตุ (พื้นตำนานพระธาตุพนม) หรือตำนานธาตุหัวอกฉบับลานคำ (ลาวเรียกว่า บั้งจุ้ม) อีกทั้งเป็นผู้อพยพไพร่พลข้าโอกาส (ข้าอุปัฏฐาก) พระธาตุพนมไปก่อตั้งบ้านดงใน บ้านดงนอก และบ้านหมากนาว (บ้านมะนาว) ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ปัจจุบันคือบ้านหมากนาวในแขวงคำม่วน ประเทศลาว เจ้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท (ศรี รามางกูร) เป็นพระปัยกาหรือทวดของ ดร.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเจ้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท (ศรี รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระอัคร์บุตร (บุญมี รามางกูร)

้าพระอัคร์บุตร (บุญมี รามางกูร) หรือ ท้าวสุวรรณบุญมี อดีตคณะอาญาสี่เมืองธาตุพนม อดีตกรมการชั้นผู้ใหญ่เมืองธาตุพนม และอดีตกรมการชั้นผู้ใหญ่เมืองคำเกิด แขวงบอลิคำไซ ในประเทศลาว ทรงดำรงพระยศในคณะอาญาสี่ตำแหน่งที่ พระอัคร์บุตรเมืองธาตุพนม เป็นองค์แรกและองค์เดียวของเมืองธาตุพนม ทรงเป็นต้นตระกูล บุคคละ และ รามางกูร ณ โคตะปุระ แห่งอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในภาคอีสานของประเทศไทย อนึ่ง ใน..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเจ้าพระอัคร์บุตร (บุญมี รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระอุปฮาชา (เฮือง รามางกูร)

้าพระอุปฮาชา (เฮือง รามางกูร) (พ.ศ. ๒๔๐๓-๒๔๙๘) หรือ ท้าวสุวรรณคำเฮือง หรือ นายเฮือง รามางกูร สกุลเดิม บุคคละ อดีตคณะอาญาสี่เมืองธาตุพนม อดีตกรมการชั้นผู้ใหญ่เมืองธาตุพนม ทรงดำรงพระยศในคณะอาญาสี่ตำแหน่งที่ พระอุปฮาชาเมืองธาตุพนม หรือ พระอุปฮาดเมืองธาตุพนม เป็นองค์แรกและองค์เดียวของเมืองธาตุพนม ทรงเป็นผู้ตั้งสกุล รามางกูร แห่งอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ในภาคอีสานของประเทศไทย ภายหลังปฏิรูปการเมืองการปกครองหลัง..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเจ้าพระอุปฮาชา (เฮือง รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอาวาส

้าอาวาส คือพระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ปกครองวัด มีหน้าที่ปกครองดูแลอำนวยกิจการทุกอย่างเกี่ยวกับวัด กฎหมายกำหนดให้วัดหนึ่งมีเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง แต่จะมีรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสได้หลายรูปตามควรแก่ฐานะของวัด เจ้าอาวาสเป็น พระสังฆาธิการ และเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดังนี้.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเจ้าอาวาส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอนุวงศ์

้าอนุวงศ์ หรือ เจ้าอนุ (ສົມເດັຈພຣະເຈົ້າ​ອະນຸວົງສ໌) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์พระองค์ที่ ๕ หรือพระองค์สุดท้าย ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นพระมหาวีรกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างและประเทศลาว นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องจากประชาชนชาวลาวว่า เป็นพระมหากษัตริย์ผู้พยายามกอบกู้เอกราชชาติลาวจากการเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม ทรงปกครองราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ราว..

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเจ้าอนุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เทวดา

ระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ เทวดา (devatā) หรือ เทพ (deva เทว) ตามคติความเชื่อทางศาสนาต่าง ๆ หมายถึง ชาวสวรรค์ที่เป็นโอปปาติกะ มีกายทิพย์ ตาทิพย์ หูทิพย์ และกินอาหารทิพย์ และเสวยสุขในสรวงสวรรค์ชั้นต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นภพภูมิที่ดี เทวดาผู้หญิงเรียกว่า เทวี หรือ "เทพี" หรือ นางฟ้า เทวดาผู้มีมิจฉาทิฐิ เรียกว่า มาร คำว่า เทพเจ้า หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ ตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยม ซึ่งเชื่อว่ามีอำนาจควบคุมธรรมชาติบางอย่าง เช่น สุริยเทพ เทพเจ้าแห่งสายฟ้.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเทวดา · ดูเพิ่มเติม »

เงินตรา

งิน หมายถึง วัตถุหรือเอกสารใด ๆ ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการแลกเปลี่ยนกับสินค้าและบริการและใช้ชำระหนี้ในประเทศหรือในบริบทสังคมเศรษฐกิจหนึ่งๆตามตัวบทกฎหมาย หน้าที่หลักของเงินจำแนกได้ว่า (1) เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน (2) เป็นหน่วยวัดมูลค่า (3) เป็นเครื่องเก็บรักษามูลค่า และ (4) บางครั้งในอดีต เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ภายหน้าT.H. Greco.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเงินตรา · ดูเพิ่มเติม »

เซบั้งไฟ

ซบั้งไฟ เซบั้งไฟ (ເຊບັ້ງໄຟ) เป็นแม่น้ำในประเทศลาว ไหลผ่านแขวงคำม่วนและแขวงสุวรรณเขต รับน้ำมาจากแม่น้ำเทิน.

ใหม่!!: เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเซบั้งไฟ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อาชญาหลวงรามราชรามางกูรขุนรามราชรามางกูร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »