เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร) vs. เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

ระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท หรือ อาชญาหลวงปรานี นามเดิมว่า ท้าวเมฆ หรือ ท้าวเมฆทองทิพย์ เป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครองค์ที่ ๓ หรือองค์สุดท้ายจากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม เป็นเจ้าขุนโอกาส (ขุนโอกลาษ) ผู้รักษากองข้าอุปัฏฐากพระบรมมหาธาตุเจ้าเจดีย์พระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) องค์ที่ ๓ แห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ภายหลังทรงถูกลดบทบาททางการปกครองลงและด้วยปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองกับกลุ่มเจ้านายเมืองธาตุพนมซึ่งเป็นเครือญาติใกล้ชิด จึงเสด็จหนีจากธาตุพนมไปประทับยังเมืองเซบั้งไฟทางฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงหลังการสิ้นสุดของราชวงศ์เวียงจันทน์ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์ (พ.ศ. ๒๓๔๘-๒๓๗๑) ก่อนที่ตำแหน่งเจ้าเมืองหรือขุนโอกาสจะถูกลดฐานะไปเป็นนายกอง ทรงสืบเชื้อสายเจ้านายผู้ปกครองเมืองธาตุพนมจากฝ่ายพระมารดา โดยมีศักดิ์เป็นพระนัดดา (หลานดา) ในเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) เจ้าเมืองและขุนโอกาสเมืองธาตุพนมพระองค์แรก และสืบเชื้อสายฝ่ายพระบิดาจากเจ้านายในราชวงศ์ศรีโคตรบูรแห่งเมืองนครพนม สายพระบรมราชากิติศักดิ์เทพฤๅยศ ทศบุรีศรีโคตรบูรหลวง (มัง มังคละคีรี) ใน.. ระอาชญาเจ้าขุนรามราชรามางกูร (ลาว: ພຣະອາດຊະຢາເຈົ້າຂຸນຣາມມະຣາຊຣາມາງກູຣ, ราว พ.ศ. ๒๓๐๐-๒๔๐๐) ทรงเป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครพระองค์แรกจากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม และทรงเป็นเจ้าขุนโอกาส (ขุนโอกลาษ) ผู้รักษากองข้าอุปัฏฐากพระบรมมหาธาตุเจ้าเจดีย์พระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) พระองค์แรกแห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ระหว่างราวปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหารหลวงอามาตย์ราชวงษา (อำนาจ รามางกูร)อาณาจักรล้านช้างอำเภอธาตุพนมจังหวัดนครพนมเวียงจันทน์เจ้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท (ศรี รามางกูร)

วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร

วัดพระธาตุพนม วรมหาวิหาร เป็นวัดพระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร ปัจจุบันมี พระเทพวรมุนี เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ ปี..

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร · วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหารและเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอามาตย์ราชวงษา (อำนาจ รามางกูร)

หลวงอามาตย์ราชวงษา (อำนาจ รามางกูร) คนทั่วไปและทายาทบุตรหลานนิยมออกนามว่า กวานหลวงอำมาตย์ หรือ กวานอามาถย์ หรือ ท้าวอำนาจราชวงศ์ อดีตนายกองข้าอุปัฏฐากผู้ควบคุมท้าวเพี้ยตัวเลกข้าพระมหาธาตุพนม หรือนายกองบ้านธาตุพนมลำดับที่ ๑ ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ภาคอีสานของประเทศไทย หลังสิ้นสุดการปกครองแบบเจ้าเมืองหรือขุนโอกาส อีกทั้งยังมีตำแหน่งเป็นอดีตกวานเวียงชะโนดองค์ที่ ๓ ด้ว.

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และหลวงอามาตย์ราชวงษา (อำนาจ รามางกูร) · หลวงอามาตย์ราชวงษา (อำนาจ รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และอาณาจักรล้านช้าง · อาณาจักรล้านช้างและเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธาตุพนม

ตุพนม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครพนม.

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และอำเภอธาตุพนม · อำเภอธาตุพนมและเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครพนม

ังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร นับเป็นเมืองชายแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ความสวยงามของทิวทัศน์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีพระธาตุพนมเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมือง พื้นที่ด้านเหนือและตะวันออกของจังหวัดติดกับแม่น้ำโขงโดยตลอ.

จังหวัดนครพนมและพระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร) · จังหวัดนครพนมและเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

เวียงจันทน์

วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน เวียงจันทน์มีชื่อที่ตั้งในรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ว่า กรุงศรีสัตนาคคนหุต วิสุทธิ์รัตนราชธานีบุรีรม.

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และเวียงจันทน์ · เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)และเวียงจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท (ศรี รามางกูร)

้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท มีพระนามเต็มว่า พระอาชจญาหลวงเจ้าพระรามราชปราณี ศรีมหาพุทธปริษัท ขัติยวรราชวงศา อุกาสะราชาพนม บ้างออกพระนามว่า อาชญาหลวงกลางน้อยศรีวรมุงคุณ หรือ แสนกางน้อยสีมุงคุร พระนามเดิมว่า ท้าวกลางน้อยหรือท้าวศรี บรรดาศักดิ์เดิมที่ ท้าวศรีวรมุงคุณ ทายาทบุตรหลานนิยมออกพระนามโดยยกย่องว่า เจ้าพ่อขุนโอกาส หรือ ญาปู่หลวงกาง หรือ เจ้าปู่หลวงกางน้อย ทรงเป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครพระองค์ที่ 2 จากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม ทรงเป็นเจ้าโอกาส (ขุนโอกาส) ผู้ปกครองกองข้าอุปัฏฐากพระมหาธาตุเจ้าพระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) พระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ในตำนานบ้านดงนาคำกล่าวว่า ทรงเป็นผู้รักษาคัมภีร์อุรังคธาตุ (พื้นตำนานพระธาตุพนม) หรือตำนานธาตุหัวอกฉบับลานคำ (ลาวเรียกว่า บั้งจุ้ม) อีกทั้งเป็นผู้อพยพไพร่พลข้าโอกาส (ข้าอุปัฏฐาก) พระธาตุพนมไปก่อตั้งบ้านดงใน บ้านดงนอก และบ้านหมากนาว (บ้านมะนาว) ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ปัจจุบันคือบ้านหมากนาวในแขวงคำม่วน ประเทศลาว เจ้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท (ศรี รามางกูร) เป็นพระปัยกาหรือทวดของ ดร.

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และเจ้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท (ศรี รามางกูร) · เจ้าพระรามราชปราณีศรีมหาพุทธปริษัท (ศรี รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร) มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) มี 101 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 6.42% = 7 / (8 + 101)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระปราณีศรีมหาพุทธบริษัท (เมฆ รามางกูร)และเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: