สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: ชุดของคำสั่งเครื่องฮาร์ดแวร์คลัง (โปรแกรม)นักเขียนโปรแกรมโอเพนจีแอลโอเพนเอแอลไดเรกต์เอกซ์เบลนเดอร์ (ซอฟต์แวร์)เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
- เกมเอนจิน
- เอพีไอ
- ไลบรารีคอมพิวเตอร์
ชุดของคำสั่งเครื่อง
องคำสั่งเครื่อง (instruction set) เป็นรายการของคำสั่งเครื่องและตัวแปรทั้งหมดที่โปรเซสเซอร์ (หรือถ้าเป็นเครื่องจักรเสมือน (virtual machine) จะเรียกว่า อินเตอร์พรีเตอร์) สามารถประมวลผลได้ โดยชุดคำสั่งนั้นอาจแตกต่างกันขึ้นอยู่กับหน่วยประมวลผลของระบบ ชุดของคำสั่งเครื่อง ประกอบไปด้ว.
ดู โอเพนเอแอลและชุดของคำสั่งเครื่อง
ฮาร์ดแวร์
ร์ดแวร์ (hardware) อาจหมายถึง; สิ่งประดิษฐ์ทางกายภาพ: และอุปกรณ์เครื่องหนัก หลากหลายประเภท ที่ใช้เทคโนโลยี.
คลัง (โปรแกรม)
ตัวอย่างแผนภาพแสดงการเรียกใช้งานไลบรารีของโปรแกรมเล่นสื่อผสมประเภท Ogg Vorbis คลังโปรแกรม หรือ ไลบรารี (library) ในทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ คือส่วนที่รวบรวมกระบวนการ (process) และฟังก์ชันย่อย (subroutine) ต่าง ๆ ซึ่งอาจจะรวมซอร์สโค้ดหรือไม่ก็ได้ ที่จำเป็นต้องใช้ในการเขียนซอฟต์แวร์หรือใช้ในการทำงานของโปรแกรมหนึ่ง.
ดู โอเพนเอแอลและคลัง (โปรแกรม)
นักเขียนโปรแกรม
นักเขียนโปรแกรม หรือ โปรแกรมเมอร์ (programmer) มีหน้าที่หลักคือการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมสามารถหมายถึงผู้ที่เชี่ยวชาญในการโปรแกรมเฉพาะด้าน หรือผู้ที่สามารถเขียนรหัสซอฟต์แวร์ได้หลากหลายข้อมุล เอดา ไบรอนได้ชื่อว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก เพราะเป็นคนแรกที่สามารถนำขั้นตอนวิธี มาเรียบเรียงเป็นชุดคำสั่ง ให้แก่เครื่องคำนวณได้ในปี..
ดู โอเพนเอแอลและนักเขียนโปรแกรม
โอเพนจีแอล
อเพนจีแอล (OpenGL: Open Graphics Library ไลบรารีกราฟิกส์แบบเปิด) คือส่วนต่อประสานโปรแกรมประยุกต์ (API) ด้านการเร็นเดอร์ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์สองมิติและสามมิติ ที่ทำงานได้หลายแพลตฟอร์มและหลายภาษา ส่วนต่อประสานนี้มักใช้ทำงานระหว่างหน่วยประมวลผลกราฟิกส์ (GPU) เพื่อให้บรรลุผลการเร็นเดอร์แบบเร่งฮาร์ดแวร์ โอเพนจีแอลพัฒนาขึ้นโดยบริษัทซิลิคอนกราฟิกส์ (Silicon Graphics Inc.: SGI) ตั้งแต..
โอเพนเอแอล
ัญลักษณ์ของ โอเพนเอแอล โอเพนเอแอล (OpenAL: Open Audio Library) เป็นไลบรารีที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับนักเขียนโปรแกรม เพื่อส่งคำสั่งควบคุมการวาดภาพไปยังอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ประมวลผลเสียง รุ่นปัจจุบันของ OpenAL คือ 1.0.
ไดเรกต์เอกซ์
รกต์เอกซ์ (DirectX) เป็นไลบรารีที่ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับนักเขียนโปรแกรม เพื่อส่งคำสั่งควบคุมการวาดภาพไปยังอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ประมวลผลภาพ ซึ่งได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในการพัฒนาวิดีโอเกมและเกมคอมพิวเตอร์สำหรับไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เอกซ์บอกซ์ และ เอกซ์บอกซ์ 360.
เบลนเดอร์ (ซอฟต์แวร์)
ลนเดอร์ เป็นซอฟต์แวร์เสรี สำหรับงานคอมพิวเตอร์กราฟิกสามมิติ สามารถใช้สร้าง โมเดลสามมิติ, คลี่ UV, ทำพื้นผิว (Texture), จัดการการเคลื่อนไหวแบบใช้กระดูก, จำลองการไหลของน้ำ, จำลองผิวหนัง, คอมพิวเตอร์แอนิเมชัน, เร็นเดอร์, พาทิเคิล, การจำลองด้วยคอมพิวเตอร์อื่นๆ, การตัดต่อและตบแต่งวีดิทัศน์และภาพผ่านระบบ คอมโพสิต, และยังใช้สร้างแอปพลิเคชันแบบสามมิติได้อีกด้วย เบลนเดอร์ทำงานได้บนหลายระบบปฏิบัติการ, เช่น Microsoft Windows, Mac OS X, GNU/Linux, IRIX, Solaris, NetBSD, FreeBSD, OpenBSD และมีการพอร์ตอย่างไม่เป็นทางการไปยังระบบ BeOS, SkyOS, AmigaOS, MorphOS และ Pocket PC เบลนเดอร์มีคุณลักษณะทัดเทียมกับโปรแกรมสามมิติระดับสูงอื่นๆเช่น XSI, Cinema 4D, 3 ดีเอสแมกซ์, Lightwave และ Maya โดยมีคุณลักษณะสำคัญเช่นการจำลองกองวัตถุล้มกระทบ, การกระทบกันระหว่าง ของไหล, ผ้าถูกลมพัดพริ้ว และโครงสร้างยืดหยุ่นต่างๆ, มีระบบ modifier แบบเป็นชั้นสำหรับปรับโมเดล, ระบบจัดการภาพเคลื่อนไหวคุณภาพสูง, ระบบจัดการวัสดุและการคอมโพสิตแบบ node และรองรับ ภาษาไพทอน สำหรับเขียนสคริป Blender ต้องการ OpenGL ในการทำงาน ในปี..
ดู โอเพนเอแอลและเบลนเดอร์ (ซอฟต์แวร์)
เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal computer game) หรือ เกมคอมพิวเตอร์ หรือ เกมพีซี หมายถึงเกมที่เล่นบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มากกว่าเครื่องเกมคอนโซล หรือเครื่องเกมอาร์เขต เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีการพัฒนาจากรูปแบบการเล่นและกราฟิกที่เรียบง่าย ก่อนที่จะมีรูปแบบสลับซับซ้อนดังเช่นในปัจจุบัน เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลถูกผลิตขึ้นมาโดยผู้พัฒนาเกมหนึ่งคนหรือมากกว่า ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นการร่วมตัวกันของผู้เชี่ยวชาญหลายด้าน (อย่างเช่น ผู้ออกแบบเกม) และออกจำหน่ายด้วยตนเอง หรือผ่านบุคคลที่สาม จากนั้น ผู้ผลิตเกมก็อาจจะมีการเผยแพร่เกมผ่านทางสื่อ อย่างเช่น ดีวีดี ซีดี เปิดโอกาสให้ดาวน์โหลดทางอินเทอร์เน็ต เกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมักจะต้องการฮาร์ดแวร์ที่มีลักษณะเฉพาะในการเล่น อย่างเช่น ระบบประมวลผลทางกราฟิก หรือการต่ออินเทอร์เน็ต เป็นต้น ถึงแม้ว่าระบบดังกล่าวอาจไม่จำเป็นสำหรับการเล่นในบางเกมก็เป็นได้ หมวดหมู่:สื่อดิจิทัล หมวดหมู่:วิดีโอเกม หมวดหมู่:อภิธานศัพท์วิดีโอเกม หมวดหมู่:คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล.
ดู โอเพนเอแอลและเกมคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
ดูเพิ่มเติม
เกมเอนจิน
- อันเรียลเอนจิน
- อาร์พีจีเมกเกอร์
- เกมเอนจิน
- เรน'ไพ
- โรบล็อกซ์
- โอเพนเอแอล
เอพีไอ
- คิวต์
- ด็อม
- อะโดบี อินทิเกรทิดรันไทม์
- เว็บคิต
- เอพีไอ
- แซกซ์
- โครโนสกรุป
- โปรแกรมเสริม
- โอเพนจีแอล
- โอเพนซีแอล
- โอเพนเอแอล
- ไดเรกต์เอกซ์
ไลบรารีคอมพิวเตอร์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ OpenAL