สารบัญ
14 ความสัมพันธ์: กรุงเทพมหานครรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานครวัดสถานีสามย่านจัตุรัสจามจุรีถนนพญาไทถนนพระรามที่ 4ถนนสี่พระยาคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแยกอังรีดูนังต์แยกปทุมวันเขตบางรักเขตปทุมวัน
- ทางแยกในกรุงเทพมหานคร
- สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- เขตปทุมวัน
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร
รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร ทางแยกต่างระดับ รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.
ดู แยกสามย่านและรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร
วัด
วัด, อาวาส หรือ อาราม คือคำเรียก ศาสนสถานของศาสนาพุทธในประเทศไทย กัมพูชา และลาว เป็นที่อยู่ของภิกษุ และประกอบศาสนกิจของพุทธศาสนิกชน ภายในวัดมีวิหาร อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฎิ เมรุ ซึ่งใช้สำหรับประกอบศาสนพิธีต่าง ๆ เช่น การเวียนเทียน การสวดมนต์ การทำสมาธิ วัดโดยส่วนใหญ่นิยมแบ่งเขตภายในวัดออกเป็นสามส่วนคือ พุทธาวาส สังฆาวาส และสัตวาส โดยส่วนพุทธาวาสจะเป็นที่ตั้งของสถูปเจดีย์ อุโบสถ สถานที่ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ส่วนสังฆาวาส จะเป็นส่วนกุฎิสงฆ์สำหรับภิกษุสามเณรจำพรรษา ส่วนสัตวาสเป็นส่วนที่อนุญาตให้พุทธศาสนิกชนนำสัตว์เลี้ยงมาปล่อยเพื่อให้วัด และพระภิกษุสงฆ์สามเณรได้เลี้ยงดู และในปัจจุบันแทบทุกวัดจะเพิ่มส่วนฌาปนสถานเข้าไปด้วย เพื่อประโยชน์ในด้านการประกอบพิธีทางศาสนาของชุมชน เช่น การฌาปนกิจศพ โดยในอดีตส่วนนี้จะเป็นป่าช้า ซึ่งอยู่ติดหรือใกล้วัด ตามธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มฌาปนสถานในวัดพุทธศาสนาในประเทศไทยจะตั้งอยู่บนพื้นที่ ๆ เป็นป่าช้าเดิม.
สถานีสามย่าน
นีสามย่าน (รหัส SAM) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกสามย่าน มีทำเลอยู่ใจกลางเมือง ใกล้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และย่านธุรกิจบริเวณสามย่าน สี่พระยา และสุรวง.
จัตุรัสจามจุรี
มจุรีสแควร์ หรือ จัตุรัสจามจุรี (Chamchuri Square) เป็นศูนย์การค้า อาคารสำนักงานและอาคารพักอาศัย ใจกลางเขตธุรกิจการค้าของกรุงเทพมหานคร คือแยกสามย่าน ถนนสีลมและถนนสุรวงศ์ มีพื้นที่เชื่อมต่อกับส่วนการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริหารจัดการโดยสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จามจุรีสแควร์ตั้งอยู่บริเวณหัวมุมแยกสามย่านฝั่งคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นอาคาร 3 หลัง แบ่งเป็นส่วนอาคารสำนักงาน 40 ชั้น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุด ส่วนศูนย์การค้าและศูนย์การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นอาคารสูง 4 ชั้น ตั้งอยู่ตรงกลาง ส่วนอาคารพักอาศัย 23 ชั้น ตั้งอยู่ด้านตะวันตกสุด มีพื้นที่รวม 274,459 ตารางเมตร ชั้นใต้ดินของอาคารสามารถเชื่อมต่อกับสถานีรถฟ้าใต้ดิน (MRT) สถานีสามย่าน ซึ่งนับเป็นการเชื่อมต่อกับอาคารแห่งแรกของไทย นอกจากนี้ อาคารดังกล่าวยังเป็นที่ทำการหลักของ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ ดีแทค อีกด้ว.
ดู แยกสามย่านและจัตุรัสจามจุรี
ถนนพญาไท
นนพญาไทช่วงมาบุญครองและสี่แยกปทุมวัน ถนนพญาไท (Thanon Phaya Thai) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 (สี่แยกสามย่าน) ไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงวังใหม่กับแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากนั้นตัดกับถนนพระรามที่ 1 (สี่แยกปทุมวัน) ข้ามคลองบางกะปิ หรือคลองแสนแสบ (ที่สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี ตัดกับถนนเพชรบุรี (สี่แยกราชเทวี) จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท โดยตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามทางรถไฟสายตะวันออก ตัดกับถนนศรีอยุธยา (สี่แยกพญาไท) ไปสิ้นสุดที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือ ถนนพหลโยธิน.
ถนนพระรามที่ 4
นนพระรามที่ 4 ช่วงสวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 (Thanon Rama IV) เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ทางแยกหมอมี (แยกจากถนนเจริญกรุง) ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่สะพานเจริญสวัสดิ์ ผ่านสถานีหัวลำโพง สามย่าน ไปบรรจบถนนสุขุมวิท.
ดู แยกสามย่านและถนนพระรามที่ 4
ถนนสี่พระยา
นนสี่พระยา ถนนสี่พระยา (Thanon Si Phraya) ถนนสายหนึ่งในพื้นที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ถือเป็นถนนสายรองของพื้นที่ เป็นถนนเชื่อมระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนพระราม 4 มีจุดเริ่มต้นที่แขวงสี่พระยา บริเวณหน้าโรงแรมรอยัลออร์คิดเชอราตัน และศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ไปสิ้นสุดที่แยกสามย่าน บริเวณหน้าวัดหัวลำโพง อันเป็นจุดตัดของถนนพระราม 4 และถนนพญาไท ถนนสี่พระยา มีที่มาจาก การที่ขุนนางซึ่งมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยา 4 คน ได้แก่ พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง (ม.ร.ว.ลพ สุทัศน์), พระยาพิพัฒโกษา (เซเรสติโน ซาเวียร์), พระยานรฤทธิ์ราชหัช (ทองดี โชติกเสถียร) และพระยานรนารถภักดี (สุด บุนนาค) รวมถึงหลวงมนัศมานิต (เถียน โชติกเสถียร) ได้ร่วมกันซื้อที่ดินระหว่างถนนสุรวงศ์กับคลองผดุงกรุงเกษมและสร้างผ่านที่ดินเชื่อมต่อกับถนนเจริญกรุง คือ วัดหัวลำโพงไปตกท่าน้ำ คือ ท่าน้ำสี่พระยา พระยาทั้ง 4 คนได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "ถนนสี่พระยา" เมื่อ..
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคมพ.ศ. 2481 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มเปิด "แผนกวิชาการบัญชี" และ "แผนกวิชาพาณิชยศาสตร์" สังกัดคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู แยกสามย่านและคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นส่วนงานประเภทคณะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 164 ลงวันที่ 15 มิถุนายน 2515 มีรากฐานมาจากโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม ที่โอนมาเป็นคณะนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ..
ดู แยกสามย่านและคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แยกอังรีดูนังต์
ี่แยกอังรีดูนังต์ (Henri Dunant Intersection) หรือรู้จักกันในนาม สี่แยกเสาวภา และ สี่แยกจุฬาฯ เป็นสี่แยกในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 4 ถนนอังรีดูนังต์และถนนสุรวง.
ดู แยกสามย่านและแยกอังรีดูนังต์
แยกปทุมวัน
แยกปทุมวัน (Pathum Wan Intersection) เป็นสี่แยกในพื้นที่แขวงวังใหม่และแขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 1 และถนนพญาไท.
เขตบางรัก
ตบางรัก เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตลุมพินี ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.
เขตปทุมวัน
ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.
ดูเพิ่มเติม
ทางแยกในกรุงเทพมหานคร
- กล้วยน้ำไท
- ตลาดพลู
- ถนนตก
- ถนนพลับพลาไชย
- ถนนราชวงศ์
- ถนนวรจักร
- ถนนเสือป่า
- ถนนแปลงนาม
- ราชประสงค์
- วงเวียน 22 กรกฎาคม
- วงเวียนโอเดียน
- วงเวียนใหญ่
- สะพานควาย
- สะพานช้างโรงสี
- สะพานผ่านฟ้าลีลาศ
- สะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร)
- สะพานมัฆวานรังสรรค์
- สะพานเฉลิมวันชาติ
- สะพานเทวกรรมรังรักษ์
- สี่กั๊กพระยาศรี
- สี่กั๊กเสาชิงช้า
- อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
- อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
- เสาชิงช้า
- แยกกษัตริย์ศึก
- แยกคอกวัว
- แยกท่าพระ
- แยกบางกระบือ
- แยกบ้านขมิ้น
- แยกบ้านเนิน
- แยกมไหสวรรย์
- แยกราชเทวี
- แยกลำสาลี
- แยกวัดตึก
- แยกศาลาแดง
- แยกสามยอด
- แยกสามเหลี่ยมดินแดง
- แยกหมอมี
- แยกอุรุพงษ์
- แยกเกียกกาย
- แยกเฉลิมบุรี
- แยกเอส. เอ. บี.
- แยกแม้นศรี
- แยกโพธิ์สามต้น
- แยกไฟฉาย
สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เขตปทุมวัน
- จัตุรัสจามจุรี
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ถนนบรรทัดทอง
- ถนนพระรามที่ 1
- ถนนราชดำริ
- ถนนวิทยุ
- ถนนเพลินจิต
- พิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์สัน
- ราชกรีฑาสโมสร
- ราชประสงค์
- วังวินด์เซอร์
- วังสระปทุม
- วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร
- วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร
- ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ
- สถานีสยาม
- สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐประจำประเทศไทย
- สถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย
- สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
- สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- สนามมวยเวทีลุมพินี
- สภากาชาดไทย
- สยามพารากอน
- สยามสแควร์
- สยามเซ็นเตอร์
- สวนลุมพินี
- สะพานเฉลิมหล้า 56
- หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
- อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- เกษรวิลเลจ
- เขตปทุมวัน
- เซ็นทรัล ชิดลม
- เซ็นทรัล เอ็มบาสซี
- เซ็นทรัลเวิลด์
- เอ็มบีเคเซ็นเตอร์
- แยกกษัตริย์ศึก
- แยกศาลาแดง
- โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
- โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย
- โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
- โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
- โรงแรมเอราวัณ
- ไชน่า รีซอร์สเซส ทาวเวอร์
- ไทยไดมารู
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สี่แยกสามย่าน