สารบัญ
4 ความสัมพันธ์: รากนิวเคลียสของเซลล์ใบไม้เซลล์หลอดตะแกรง
- กายวิภาคศาสตร์ของพืช
- สรีรวิทยาของพืช
- เนื้อเยื่อ
ราก
ราก ราก (อังกฤษ: root) เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของพืชที่งอกต่อลงมาจากลำต้น ทำหน้าที่ดูดลำเลียงน้ำและอาหาร ยึดค้ำจุนต้นพืชไม่ให้โค่นล้ม สร้างฮอร์โมนและหน้าที่อื่นๆตามลักษณะของราก หมวดหมู่:สรีรวิทยาของพืช หมวดหมู่:กายวิภาคศาสตร์ของพืช หมวดหมู่:พฤกษศาสตร์.
นิวเคลียสของเซลล์
เซลล์spider man ย้อมดีเอ็นเอด้วยสีย้อม Blue Hoechst เซลล์ตรงกลางและเซลล์ทางขวาอยู่ในระยะอินเตอร์เฟสจึงทำให้สามารถย้อมสีเห็นนิวเคลียสได้ทั้งหมด ในขณะที่เซลล์ทางซ้ายอยู่ระหว่างการแบ่งนิวเคลียส (ไมโทซิส) ทำให้สามารถมองเห็นโครโมโซมที่กำลังแยกคู่จากกัน นิวเคลียส, (3) ไรโบโซม, (4) เวสิเคิล, (5) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ, (6) กอลไจแอปพาราตัส, (7) ไซโทสเกลเลตอน, (8) เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ, (9) ไมโทคอนเดรีย, (10) แวคิวโอล, (11) ไซโทพลาซึม, (12) ไลโซโซม, (13) เซนทริโอล ในทางชีววิทยาของเซลล์ นิวเคลียส (nucleus) คือออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มพบในเซลล์ยูแคริโอต ภายในบรรจุสารพันธุกรรม (genetic material) ซึ่งจัดเรียงตัวเป็นดีเอ็นเอ (DNA) สายยาวรวมตัวกับโปรตีนหลายชนิด เช่น ฮิสโตน (histone) เป็นโครโมโซม (chromosome) ยีน (gene) ต่างๆ ภายในโครโมโซมเหล่านี้ รวมเรียกว่า นิวเคลียส จีโนม (nuclear genome) หน้าที่ของนิวเคลียสคือการคงสภาพการรวมตัวของยีนเหล่านี้และควบคุมการทำงานของเซลล์โดยการควบคุมการแสดงออกของยีน (gene expression) โครงสร้างหลักของนิวเคลียสคือ เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear envelope) ซึ่งเป็นเยื่อสองชั้นที่หุ้มทั้งออร์แกเนลล์และทำหน้าที่แยกองค์ประกอบภายในออกจากไซโทพลาซึม (cytoplasm) อีกโครงสร้างหนึ่งคือ นิวเคลียร์ลามินา (nuclear lamina) ซึ่งเป็นโครงสร้างร่างแหภายในนิวเคลียส ทำหน้าที่เป็นโครงร่างค้ำจุน ให้ความแข็งแรงแก่นิวเคลียส คล้ายไซโทสเกลเลตอน (cytoskeleton) ภายในเซลล์ เนื่องจากเยื่อหุ้มนิวเคลียสมีลักษณะเป็นเยื่อเลือกผ่านที่โมเลกุลส่วนใหญ่ผ่านทะลุเข้าออกไม่ได้ ดังนั้นเยื่อหุ้มนิวเคลียสจึงต้องมีนิวเคลียร์พอร์ (nuclear pore) หรือช่องที่จะให้สารเคลื่อนผ่านเยื่อ ช่องเหล่านี้ทะลุผ่านเยื่อทั้งสองของเยื่อหุ้มนิวเคลียสให้โมเลกุลขนาดเล็กและไอออนเคลื่อนที่เข้าออกนิวเคลียสได้ การเคลื่อนที่เข้าออกของสารโมเลกุลใหญ่ เช่น โปรตีน ต้องมีการควบคุมและต้องใช้โปรตีนช่วยขนส่งสาร (carrier proteins หมวดหมู่:ออร์แกเนลล์ หมวดหมู่:ชีววิทยาของเซลล์ หมวดหมู่:กายวิภาคศาสตร์เซลล์.
ดู เปลือกชั้นในและนิวเคลียสของเซลล์
ใบไม้
ใบไม้ โครงเส้นใบของใบไม้ ใบไม้ (leaf) เป็นส่วนที่สร้างอาหารโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ใบไม้มีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันหลายแบบแบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ๆ ตามลักษณะที่แตกต่างกัน รูปพหูพจน์ของ leaf คือ leaves ส่วน foliage เป็นกลุ่มคำนามที่ใช้อธิบายว่าใบเป็นส่วนประกอบหนึ่งของพื.
เซลล์หลอดตะแกรง
ในกายวิภาคศาสตร์พืช, เซลล์หลอดตะแกรง (sieve tube member) เป็นเซลล์ชนิดพิเศษในเปลือกชั้นในซึ่งยึดขยายขนาดออกมา ตรงปลายสุดของเซลล์หลอดตะแกรงจะเชื่อมต่อกับเซลล์หลอดตะแกรงอีกเซลล์หนึ่ง ซึ่งการเชื่อมต่อนี้เองที่ทำให้เกิดการสร้างหลอดตะแกรง หน้าที่หลักของหลอดตะแกรงคือการลำเลียงคาร์โบไฮเดรต, ซูโครสส่วนใหญ่ ลำเลียงไปในพืช (อาทิ ลำเลียงจากใบไปยังผลและราก ซึ่งแตกต่างจากท่อในระบบท่อลำเลียงน้ำซึ่งไม่มีชีวิตเมื่อพืชเจริญเติบโตเต็มที่ เซลล์หลอดตะแกรงเป็นเซลล์ที่มีชีวิต มีความแปลกตรงที่ไม่มีนิวเคลียสเมื่อเจริญเติบโตเต็มที.
ดู เปลือกชั้นในและเซลล์หลอดตะแกรง
ดูเพิ่มเติม
กายวิภาคศาสตร์ของพืช
- กายวิภาคศาสตร์พืช
- คอร์กแคมเบียม
- ปากใบ
- ผนังเชื่อมยึดระหว่างเซลล์
- พลาสโมเดสมาตา
- พิท
- ละอองเรณู
- ลำต้นใต้ใบเลี้ยง
- วาสคิวลาร์แคมเบียม
- หมวกราก
- อีพิเดอร์มิส (พฤกษศาสตร์)
- เซลล์หลอดตะแกรง
- เนื้อเยื่อท่อลำเลียง
- เนื้อเยื่อเจริญ
- เนื้อไม้
- เปลือกชั้นใน
- เพอริสโตม
- เยื่อหุ้มเมล็ด
- เหง้า
- แวคิวโอล
- ใบไม้
- ไม้
สรีรวิทยาของพืช
- กรดอินโดล-3-แอซีติก
- กัตเตชัน
- การคายน้ำ
- การตอบสนองของพืช
- การสังเคราะห์ด้วยแสง
- การหายใจระดับเซลล์
- การหายใจแสง
- การเปลี่ยนสีของใบไม้ในฤดูใบไม้ร่วง
- ความต้องการสภาพอากาศหนาวเย็น
- ปากใบ
- ผนังเซลล์
- พลาสติด
- พิท
- วาสคิวลาร์แคมเบียม
- สรีรวิทยาของพืช
- สรีรวิทยาระบบนิเวศ
- ออกซิน
- เซลล์หลอดตะแกรง
- เนื้อเยื่อท่อลำเลียง
- เนื้อเยื่อเจริญ
- เนื้อไม้
- เปลือกชั้นใน
- เหง้า
- เอนโดสเปิร์ม
- โทรูลีน
- โฟโตเพอริโอดิซึม
- โมเลกุลเล็ก
- ใบไม้
เนื้อเยื่อ
- การกลายเป็นกระดูก
- พาเรงไคมา
- สารเคลือบเซลล์
- อีพิเดอร์มิส (พฤกษศาสตร์)
- เคลือบฟัน
- เซลลูไลต์
- เซลล์หลอดตะแกรง
- เนื้อเยื่อ
- เนื้อเยื่อท่อลำเลียง
- เนื้อเยื่อบุผิว
- เนื้อเยื่อประสาท
- เนื้อไม้
- เปลือกชั้นใน
- เลือด
หรือที่รู้จักกันในชื่อ โฟลเอมโฟลเอ็ม