โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เซลล์หลอดตะแกรง

ดัชนี เซลล์หลอดตะแกรง

ในกายวิภาคศาสตร์พืช, เซลล์หลอดตะแกรง (sieve tube member) เป็นเซลล์ชนิดพิเศษในเปลือกชั้นในซึ่งยึดขยายขนาดออกมา ตรงปลายสุดของเซลล์หลอดตะแกรงจะเชื่อมต่อกับเซลล์หลอดตะแกรงอีกเซลล์หนึ่ง ซึ่งการเชื่อมต่อนี้เองที่ทำให้เกิดการสร้างหลอดตะแกรง หน้าที่หลักของหลอดตะแกรงคือการลำเลียงคาร์โบไฮเดรต, ซูโครสส่วนใหญ่ ลำเลียงไปในพืช (อาทิ ลำเลียงจากใบไปยังผลและราก ซึ่งแตกต่างจากท่อในระบบท่อลำเลียงน้ำซึ่งไม่มีชีวิตเมื่อพืชเจริญเติบโตเต็มที่ เซลล์หลอดตะแกรงเป็นเซลล์ที่มีชีวิต มีความแปลกตรงที่ไม่มีนิวเคลียสเมื่อเจริญเติบโตเต็มที.

8 ความสัมพันธ์: กายวิภาคศาสตร์พืชรากผลคาร์โบไฮเดรตซูโครสใบไม้เซลล์เปลือกชั้นใน

กายวิภาคศาสตร์พืช

การวิภาคศาสตร์พืช เป็นวิชาที่ศึกษากายวิภาคศาสตร์ภายในพืช โดยดั้งเดิมรวมถึงวิชาสัณฐานวิทยาพืชซึ่งอธิบายถึงลักษณะทางกายภาพและโครงสร้างภายนอกของพืช ปัจจุบันสองวิชานี้ได้ถูกแยกออกจากกันตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 ส่งผลให้วิชากายวิภาคศาสตร์พืชนี้ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างภายในของพืชเท่านั้น ปัจจุบันวิชากายวิภาคศาสตร์พืชมักศึกษาในระดับเซลล์ของพืช และรวมถึงการศึกษาเนื้อเยื่อและวิชาการใช้กล้องจุลทรรศน.

ใหม่!!: เซลล์หลอดตะแกรงและกายวิภาคศาสตร์พืช · ดูเพิ่มเติม »

ราก

ราก ราก (อังกฤษ: root) เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของพืชที่งอกต่อลงมาจากลำต้น ทำหน้าที่ดูดลำเลียงน้ำและอาหาร ยึดค้ำจุนต้นพืชไม่ให้โค่นล้ม สร้างฮอร์โมนและหน้าที่อื่นๆตามลักษณะของราก หมวดหมู่:สรีรวิทยาของพืช หมวดหมู่:กายวิภาคศาสตร์ของพืช หมวดหมู่:พฤกษศาสตร์.

ใหม่!!: เซลล์หลอดตะแกรงและราก · ดูเพิ่มเติม »

ผล

ผล อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เซลล์หลอดตะแกรงและผล · ดูเพิ่มเติม »

คาร์โบไฮเดรต

ร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) เป็นสารชีวโมเลกุลที่สำคัญที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด คำว่าคาร์โบไฮเดรตมีรากศัพท์มาจากคำว่า คาร์บอน (carbon) และคำว่าไฮเดรต (hydrate) อิ่มตัวไปด้วยน้ำ ซึ่งรวมกันก็หมายถึงคาร์บอนที่อิมตัวไปด้วยน้ำ เนื่องจากสูตรเคมีอย่างง่ายก็คือ (C•H2O) n ซึ่ง n≥3 โดยคาร์โบไฮเดรตจัดเป็นสารประกอบแอลดีไฮด์ (aldehyde) หรือคีโทน (ketone) ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (hydroxyl group, -OH) เกาะอยู่เป็นจำนวนมาก จึงเรียกว่า สารประกอบโพลีไฮดรอกซีแอลดีไฮด์ (polyhydroxyaldehyde) หรือ โพลีไฮดรอกซีคีโทน (polyhydroxyketone) ซึ่งการที่มีหมู่ไฮดรอกซิลในโมเลกุลนั้น ทำให้เกิดการวางตัวกัน และยังสามารถทำปฏิกิริยาหรือสร้างพันธะกับสารอื่นๆได้ ดังนั้น คาร์โบไฮเดรตจึงมีความหลากหลายทั้งในด้านของโครงสร้างทางเคมี และบทบาททางชีวภาพอีกด้วย หน่วยที่เล็กทีสุดของคาร์โบไฮเดรตก็คือน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวหรือโมโนแซคคาร์ไร.

ใหม่!!: เซลล์หลอดตะแกรงและคาร์โบไฮเดรต · ดูเพิ่มเติม »

ซูโครส

ซูโครส (Sucrose) เป็นไดแซ็กคาไรด์ชนิดหนึ่ง มีชื่อสามัญว่า น้ำตาลทราย (table sugar) ซูโครส 1 โมเลกุลประกอบด้วยมอโนแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุลได้แก่กลูโคสและฟรุคโต.

ใหม่!!: เซลล์หลอดตะแกรงและซูโครส · ดูเพิ่มเติม »

ใบไม้

ใบไม้ โครงเส้นใบของใบไม้ ใบไม้ (leaf) เป็นส่วนที่สร้างอาหารโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ใบไม้มีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันหลายแบบแบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ๆ ตามลักษณะที่แตกต่างกัน รูปพหูพจน์ของ leaf คือ leaves ส่วน foliage เป็นกลุ่มคำนามที่ใช้อธิบายว่าใบเป็นส่วนประกอบหนึ่งของพื.

ใหม่!!: เซลล์หลอดตะแกรงและใบไม้ · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์

ป็นสิ่งสวยงามเซล เซลล์ เซลส์ หรือ เซลล์ส เป็นคำที่เขียนทับศัพท์มาจากคำในภาษาอังกฤษ cell, cel, Cells, sale หรือ Zales; cell: หมายถึงหน่วยย่อยที่มีการกั้นขอบเขต (หรือห้อง) โดยทั่วไปเซลล์จะเป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอื่น ๆ ที่ใหญ่กว่า ความหมายขึ้นอยู่กับบริบท.

ใหม่!!: เซลล์หลอดตะแกรงและเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลือกชั้นใน

ปลือกชั้นใน หรือ โฟลเอ็ม (โฟฺล-) (phloem) เป็นกลุ่มที่ลำเลียงสารอาหารที่สังเคราะห์ขึ้นที่ใบไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืชจนถึงราก เซลล์ที่สำคัญมี 2 ชนิด คือ เซลล์หลอดตะแกรง (sieve tube member) เป็นเซลล์ที่เป็นแท่งยาว ยังมีชีวิตอยู่ แต่ไม่มีนิวเคลียส หัวและท้ายเป็นรูพรุน เป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหาร และเซลล์ข้างเคียง (companion cell) เป็นเซลล์ที่มีนิวเคลียส อยู่ใกล้เซลล์หลอดตะแกรงและคอยควบคุมการทำงานของเซลล์หลอดตะแกรง.

ใหม่!!: เซลล์หลอดตะแกรงและเปลือกชั้นใน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »