สารบัญ
11 ความสัมพันธ์: พืชใบเลี้ยงคู่กรด 1-แนฟทาลีนแอซีติกกรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติกกรดอินโดล-3-บิวทีริกกรดน้ำส้มการแบ่งเซลล์สารกำจัดวัชพืชออกซินอินโดลฮอร์โมนพืชเยื่อหุ้มเซลล์
- กรดน้ำส้ม
- สรีรวิทยาของพืช
- ออกซิน
พืชใบเลี้ยงคู่
ืชใบเลี้ยงคู่ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliopsida หรือ Dicotyledons กลุ่มของพืชกลุ่มหนึ่งมีเมล็ดที่ประกอบด้วยใบเลี้ยงคู่ ซึ่งเป็นชั้นทางชีววิทยา ต่อจากส่วนทางชีววิทยา ของพืชดอก (Magnoliophyta) ชื่อวิทยาศาสตร์ของ พืชใบเลี้ยงคู่ ได้มีระบบการจัดชั้นแบบใหม่ขึ้นมา ในขณะที่ระบบเก่า ระบบ Cronquist ยังคงเป็นที่นิยมอยู่ ในระบบใหม่ ระบบ Angiosperm Phylogeny Group ได้มีการจัดชั้นดังแสดง.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและพืชใบเลี้ยงคู่
กรด 1-แนฟทาลีนแอซีติก
กรด 1-แนฟทาลีนแอซีติก (1-Naphthaleneacetic acid: NAA) มีสูตรโครงสร้างเป็น C10H7CH2COOH เป็นออกซินสังเคราะห์ที่ใช้ในการกระตุ้นการเกิดราก กระตุ้นให้ระบบรากเจริญดี เปลี่ยนเพศดอกเงาะ ทาที่รอยแผลหลังการตัดแต่งกิ่งเพื่อป้องกันการแตกหน่อ ป้องกันผลร่วง NAA ที่ใช้ในทางการเกษตรเป็นผลึกสีขาว ละลายได้ดีในแอลกอฮอล์ จัดเป็นสารที่เป็นพิษต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมระดับปานกลาง ในทางการเกษตรมีการนำเอา NAA มาใช้งานดังนี้.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและกรด 1-แนฟทาลีนแอซีติก
กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก
กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก (2,4-D) เป็นสารที่ถ้าใช้ในความเข้มข้นต่ำจะกระตุ้นการเจริญเติบโต ถ้าใช้ในความเข้มข้นสูงจะเป็นสารกำจัดวัชพืชใบกว้าง เพราะมีฤทธิ์ของความเป็นออกซินสูงมาก โดยพืชใบเลี้ยงคู่ไวต่อการตอบสนองต่อ 2,4- D มากกว่าพืชใบเลี้ยงเดี่ยว สารบริสุทธิ์อยู่ในรูปผลึกสีขาว ละลายได้ดีในแอลกอฮอล์ ยกเว้นในรูปของเกลือโซเดียมจะละลายในน้ำได้ มีพิษต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในระดับปานกลาง.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและกรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก
กรดอินโดล-3-บิวทีริก
กรดอินโดล-3-บิวทีริก (Indole-3-butyric acid; IBA) แต่เดิมจัดเป็นสารสังเคราะห์ที่ออกฤทธิ์เป็นออกซิน แต่ต่อมาพบการสร้าง IBA ในเมล็ดและใบของข้าวโพดและพืชใบเลี้ยงคู่อีกหลายชนิด จึงจัดว่าเป็นฮอร์โมนพืชด้วย IBA ที่เป็นสารสังเคราะห์ใช้ในการเร่งรากของกิ่งปักชำ สารบริสุทธิ์เป็นผลึกสีขาว ละลายได้ดีในแอลกอฮอล์ เมื่ออยู่ในรูปสารละลายจะสลายตัวได้เร็ว มีพิษต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในระดับปานกลางและเป็นพิษต่อใบพืชด้วย ในด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ใช้ชักนำการเกิดรากจากยอ.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและกรดอินโดล-3-บิวทีริก
กรดน้ำส้ม
หมวดหมู่:ตัวทำละลาย หมวดหมู่:สารเคมีในบ้าน หมวดหมู่:กรด หมวดหมู่:ยาหลักขององค์การอนามัยโลก หมวดหมู่:รสชาติ.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและกรดน้ำส้ม
การแบ่งเซลล์
Three types of cell division การแบ่งเซลล์คือกระบวนการที่เซลล์ตั้งต้น (parent cell) แบ่งตัวออกเป็นเซลล์ลูก (daughter cell) จำนวนสองเซลล์ขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วเกิดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของวัฏจักรเซลล์ หมวดหมู่:วัฏจักรเซลล์ หมวดหมู่:กระบวนการของเซลล์ หมวดหมู่:เทโลเมียร์.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและการแบ่งเซลล์
สารกำจัดวัชพืช
กำจัดวัชพืช, สารกำจัดวัชพืช, หรือ ยาฆ่าหญ้า เป็นสารกำจัดศัตรูพืชที่ใช้ฆ่าพืชที่ไม่ต้องการ ยากำจัดวัชพืชใช้ในการจัดการพื้นที่รกร้างหรือควบคุมวัชพืชในการเกษตร ยากำจัดวัชพืชมีการใช้อย่างกว้างขวางทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ยาฆ่าหญ้ามีทั้งชนิดเลือกทำลายและไม่เลือกทำลาย ชนิดเลือกทำลายมีฤทธิฆ่าพืชเฉพาะชนิด เช่น 2,4-D ซึ่งมีฤทธิ์ฆ่าทำลายเฉพาะพืชใบกว้าง โดยอาศัยส่วนประกอบทางเคมีที่เป็นฮอร์โมนพืชสังเคราะห์ ซึ่งเมื่อถูกดูดซึมจะไปรบกวนเฉพาะกระบวนการเติบโตของพืชใบกว้าง ชนิดไม่เลือกทำลายมีฤทธิฆ่าพืชทุกชนิด เช่น ไกลโฟเสต และ พาราคว็อท.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและสารกำจัดวัชพืช
ออกซิน
ออกซิน (Auxin) เป็นกลุ่มของฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทำให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัวของเซลล์ การขนส่งออกซินภายในพืชเป็นการขนส่งอย่างมีทิศทาง.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและออกซิน
อินโดล
อินโดล(อังกฤษ:Indole)เป็นสารประกอบอินทรีย์ประเภทอะโรมาติก เฮเทอโรไซคลิก มันเป็นโครงสร้าง 2 วงแหวน (bicyclic structure) ส่วนที่เป็น 6 เหลี่ยมเรียกเบนซีนเชื่อมกับวงแหวน 5 เหลี่ยมที่มีอะตอมไนโตรเจน1 อะตอม เชื่อมต่อกับคาร์บอน 4 อะตอมซึ่งเรียกว่า วงแหวน ไพร์โรล (pyrrole) การเชื่อมต่อไนโตรเจนกับวงแหวนอะโรมาติก มีความหมายว่าอินโดลจะประพฤติตัวไม่เป็นด่าง และมันก็ไม่เป็นอามีนธรรมดา อินโดลเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้องมีกลิ่น คล้าย อุจจาระ แต่ที่ความเข้มข้นต่ำๆ มันจะมีกลิ่นดอกไม้ โครงสร้าง อินโดล สามารถพบได้ในสารประกอบอินทรีย์มากมายเช่น กรดอะมิโน ทริปโตแฟน (tryptophan) ในอัลคะลอยด์ หรือ ในปิกเมนต์ อินโดล (indole) เป็นคำที่ได้จาก อินดิโก (indigo) เป็นสีน้ำเงินที่ได้จากพืชชนิดหนึ่ง โมเลกุลของอินดิโก ประกอบด้วยโครงสร้างอินโดล 2 หน่วยมาเชื่อมกัน.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและอินโดล
ฮอร์โมนพืช
right ฮอร์โมนพืช หรืออาจเรียกว่า ไฟโตฮอร์โมน เป็นสารเคมีที่ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ฮอร์โมนพืชเป็นโมเลกุลที่ใช้ส่งสัญญาณและถูกผลิตขึ้นในต้นพืชเองและถูกพบในปริมาณความเข้มข้นที่ต่ำมาก ฮอร์โมนจะควบคุมกระบวนการที่เกี่ยวกับเซลล์ในเซลล์เป้าหมายเฉพาะที่ ฮอร์โมนยังช่วยกำหนดรูปทรงของพืช, การงอกของเมล็ด, การออกดอก, เวลาการออกดอก, เพศของดอก, การแตกกิ่ง, การแตกใบ, การสลัดใบ, การเจริญเติบโต และการสุกของผลอีกด้วย พืชจะต่างกับสัตว์ตรงที่พืชไม่มีต่อมสำหรับหลั่งฮอร์โมน แต่เซลล์แต่ละเซลล์ของพืชจะมีความสามารถในการผลิตฮอร์โมนออกมาได้ ฮอร์โมนจะส่งผลกับกับลักษณะของพืชโดยทั่วไปเช่น การแตกกิ่ง, การอายุขัย, การสร้างใบ หรือแม้แต่การตายของพืชก็ตาม.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและฮอร์โมนพืช
เยื่อหุ้มเซลล์
ื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ (plasma membrane) เป็นเยื่อหุ้มที่อยู่ชิดกับผนังเซลล์ อาจมีลักษณะเรียบ หรือพับไปมา เพื่อขยายขนาดเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปในเซลล์ เรียกว่า มีโซโซม (mesosome) หรือที่เรียกกันอีกอย่างว่า "เซลล์คุม" มีหน้าที่ควบคุม การเข้าออกของน้ำ สารอาหาร และอิออนโลหะต่าง ๆ เป็นตัวแสดงขอบเขตของเซลล์ เซลล์ทุกชนิดต้องมีเยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์เป็นเยื่อบาง ๆ ประกอบด้วยสารประกอบสองชนิด คือ ไขมันชนิดฟอสโฟลิปิดกับโปรตีน โดยมีฟอสโฟลิปิดอยู่ตรงกลาง 2 ข้างเป็นโปรตีน โดยมีไขมันหนาประมาณ 35 อังสตรอม และโปรตีนข้างละ 20 อังสตรอม รวมทั้งหมดหนา 75 อังสตรอม ลักษณะที่แสดงส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์นี้ต้องส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน จึงจะเห็นได้ เยื่อหุ้มสามารถแตกตัวเป็นทรงกลมเล็ก ๆ เรียกเวสิเคิล (Vesicle) ซึ่งมีช่องว่างภายใน (Lumen) ที่บรรจุสารต่าง ๆ และสามารถเคลื่อนที่ไปหลอมรวมกับเยื่อหุ้มอื่น ๆ ได้ การเกิดเวสิเคิลนี้เกิดขึ้นได้ทั้งกับการขนส่งสารระหว่างออร์แกแนลล์ และการขนส่งสารออกนอกเซลล์ที่เรียกเอกโซไซโทซิส (Exocytosis) ตัวอย่างเช่น การที่รากเจริญไปในดิน เซลล์รากจะสร้างมูซิเลจ (Mucilage) ซึ่งเป็นสารสำหรับหล่อลื่น เซลล์สร้างมูซิเลจบรรจุในเวสิเคิล จากนั้นจะส่งเวสิเคิลนั้นมาหลอมรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อปล่อยมูสิเลจออกนอกเซลล์ ในกรณีที่มีความต้องการขนส่งสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์จะเว้าเข้าไปด้านใน ก่อตัวเป็นเวสิเคิลหลุดเข้าไปในเซลล์ โดยมีสารที่ต้องการอยู่ภายในช่องว่างของเวสิเคิล การขนส่งแบบนี้เรียกเอ็นโดไซโตซิส (Endocytosis) นอกจากนั้น เยื่อหุ้มยังทำหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน ยอมให้เฉพาะสารที่เซลล์ต้องการหรือจำเป็นต้องใช้เท่านั้นผ่านเข้าออกได้ การแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เกิดขึ้นได้ดีกับสารที่ละลายในไขมันได้ดี ส่วนสารอื่น ๆ เช่น ธาตุอาหาร เกลือ น้ำตาล ที่แพร่เข้าเซลล์ไม่ได้ จะใช้การขนส่งผ่านโปรตีนที่เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งเป็นได้ทั้งแบบที่ใช้และไม่ใช้พลังงาน.
ดู กรดอินโดล-3-แอซีติกและเยื่อหุ้มเซลล์
ดูเพิ่มเติม
กรดน้ำส้ม
- กรด 1-แนฟทาลีนแอซีติก
- กรด 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก
- กรด 3-เมทอกซี-4-ไฮดรอกซีฮิปปูริก
- กรดจัสโมนิก
- กรดน้ำส้ม
- กรดอินโดล-3-แอซีติก
- เซทิริซีน
- เซโฟดิกซิม
- เมอร์ซาลิล
- เลโวเซทิริซีน
- ไกลโฟเสต
- ไดโคลฟีแนค
สรีรวิทยาของพืช
- กรดอินโดล-3-แอซีติก
- กัตเตชัน
- การคายน้ำ
- การตอบสนองของพืช
- การสังเคราะห์ด้วยแสง
- การหายใจระดับเซลล์
- การหายใจแสง
- การเปลี่ยนสีของใบไม้ในฤดูใบไม้ร่วง
- ความต้องการสภาพอากาศหนาวเย็น
- ปากใบ
- ผนังเซลล์
- พลาสติด
- พิท
- วาสคิวลาร์แคมเบียม
- สรีรวิทยาของพืช
- สรีรวิทยาระบบนิเวศ
- ออกซิน
- เซลล์หลอดตะแกรง
- เนื้อเยื่อท่อลำเลียง
- เนื้อเยื่อเจริญ
- เนื้อไม้
- เปลือกชั้นใน
- เหง้า
- เอนโดสเปิร์ม
- โทรูลีน
- โฟโตเพอริโอดิซึม
- โมเลกุลเล็ก
- ใบไม้
ออกซิน
- กรด 1-แนฟทาลีนแอซีติก
- กรดฟีนิลแอซีติก
- กรดอินโดล-3-บิวทีริก
- กรดอินโดล-3-แอซีติก
- ออกซิน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ IAAIndole-3-acetic acid