สารบัญ
26 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1920พ.ศ. 1967พระมหาธรรมราชาที่ 3พระมหาธรรมราชาที่ 4พระยารามแห่งสุโขทัยพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขาพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ราชวงศ์พระร่วงราชวงศ์สุพรรณภูมิราชวงศ์อู่ทองรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้ารามราชาหัวเมืองเหนืออาณาจักรสุโขทัยอาณาจักรอยุธยาอำเภอสรรคบุรีจังหวัดชัยนาทจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดสุโขทัยจังหวัดนครสวรรค์ประเทศจีนแคว้นสุพรรณภูมิ
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1902
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1967
- พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
พ.ศ. 1920
ทธศักราช 1920 ใกล้เคียงกั.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและพ.ศ. 1920
พ.ศ. 1967
ทธศักราช 1967 ใกล้เคียงกั.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและพ.ศ. 1967
พระมหาธรรมราชาที่ 3
ระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย)นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 40 เป็นพระมหากษัตริย์ไทยสมัยอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ตั้งแต่ปี..
ดู สมเด็จพระอินทราชาและพระมหาธรรมราชาที่ 3
พระมหาธรรมราชาที่ 4
ระมหาธรรมราชาที่ 4 หรือ บรมปาล หรือ พระยาบาลเมือง เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาพระองค์หนึ่ง ได้ครองเมืองพิษณุโลกในระหว่างปี..
ดู สมเด็จพระอินทราชาและพระมหาธรรมราชาที่ 4
พระยารามแห่งสุโขทัย
ระญาราม เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาที่ 2นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 45 แห่งอาณาจักรสุโขทัย เชื่อว่าพระนามของพระองค์ตั้งตามพระนามของพ่อขุนรามคำแหงมหาร.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและพระยารามแห่งสุโขทัย
พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา
ระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เป็นพงศาวดารสยาม ต้นฉบับเป็นสมุดไทยจำนวน 22 เล่ม เนื้อหาเริ่มตั้งแต่การสถาปนากรุงศรีอยุธยาจนถึง..
ดู สมเด็จพระอินทราชาและพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา
พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์
ระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ เป็นเอกสารสำคัญที่เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์ว่ามีความถูกต้องน่าเชื่อถือได้ฉบับหนึ่งในบรรดาพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับต่างๆ ที่มีปรากฏอยู่ในปัจจุบัน โดยพงศาวดารฉบับนี้ได้ถูกเขียนขึ้นใน..
ดู สมเด็จพระอินทราชาและพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์
ราชวงศ์พระร่วง
ราชวงศ์พระร่วง เป็นราชวงศ์แรกและราชวงศ์เดียวที่ปกครองอาณาจักรสุโขทัย หลักฐานจารึกปู่สบถหลานระหว่างกษัตริย์สุโขทัยและน่าน แล้วมีการลำดับพระนามพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์สุโขทัยตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่วนหลักฐานทางประวัติศาสตร์มักพบว่าผู้คนภายในเขตสุโขทัย หรือบ้านเมืองแว่นแคว้นอื่นมักเรียกพระมหากษัตริย์ของสุโขทัยในนามว่า "พระร่วง" ซึ่งเป็นนามที่รู้จักไปอย่างกว้างขวางของคนกลุ่มไทยในสมัยโบราณ เชื้อสายของราชวงศ์พระร่วงนี้สืบทอดมายาวนานในการปกครองสมัยสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง มีการสานสายสัมพันธ์กับราชวงศ์อู่ทองแห่งอาณาจักรละโว้ และราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชแห่งอาณาจักรตามพรลิงก์ มาถึงสมัยอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิรวมถึงราชวงศ์สุโขทัยแห่งอาณาจักรอยุธยา ยังปรากฏอยู่ผ่านความสัมพันธ์ทางเครือญาติระหว่างอาณาจักร สัญลักษณ์หรืออนุสรณ์อันศักดิ์สิทธิ์ของราชวงศ์พระร่วงที่สืบทอดมาถึงปัจจุบัน คือ รูปพระร่วงพระลือ ในซุ้มพระร่วงพระลือที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตามความเชื่อของคนรุ่นเก่าแก่ในจังหวัดสุโขทัย ระบุว่า ที่นี่คือนิวาสถานดั้งเดิม หรือต้นกำเนิดของราชวงศ์พระร่วง.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและราชวงศ์พระร่วง
ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือ ราชวงศ์สุวรรณภูมิ เป็นราชวงศ์ที่ 2 ที่ได้ครองอาณาจักรอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิมีอายุรวม 199 ปี.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและราชวงศ์สุพรรณภูมิ
ราชวงศ์อู่ทอง
ราชวงศ์อู่ทอง หรือ ราชวงศ์ละโว้-อโยธยา หรือ ราชวงศ์เชียงราย ทั้งหมดล้วนเป็นชื่อสมมุติที่นักประวัติศาสตร์ใช้เรียกราชวงศ์แรกที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา เพื่อความสะดวกในการศึกษาประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา โดยกำหนดเอาพระนามตามตำนานของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ที่มีพระนามเดิมว่า "พระเจ้าอู่ทอง" มาเป็นชื่อราชวงศ์ แต่ความเป็นมาของราชวงศ์ดังกล่าวยังคงคลุมเครืออยู.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและราชวงศ์อู่ทอง
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1
มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 หรือ ขุนหลวงพะงั่ว เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์สุพรรณภูมิที่ได้ครองกรุงศรีอยุธยา ตั้งแต่ปี..
ดู สมเด็จพระอินทราชาและสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2
มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือ เจ้าสามพระยา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 7 แห่งอาณาจักรอยุธยา ครองราชย์ระหว่างปี..
ดู สมเด็จพระอินทราชาและสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้ารามราชา
มเด็จพญารามเจ้า หรือ สมเด็จพระเจ้ารามราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 5 แห่งอาณาจักรอยุธยา ครองราชย์ระหว่าง..
ดู สมเด็จพระอินทราชาและสมเด็จพระเจ้ารามราชา
หัวเมืองเหนือ
มืองเหนือ หรือ หัวเมืองเหนือ มีความหมายต่างกันในด้านเงื่อนไขเวลา ดังนี้.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและหัวเมืองเหนือ
อาณาจักรสุโขทัย
อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและอาณาจักรสุโขทัย
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและอาณาจักรอยุธยา
อำเภอสรรคบุรี
อำเภอสรรคบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชัยนาท.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและอำเภอสรรคบุรี
จังหวัดชัยนาท
ังหวัดชัยนาท เดิมสะกดว่า ไชยนาท เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ ตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดอุทัยธานี.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและจังหวัดชัยนาท
จังหวัดพิษณุโลก
ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..
ดู สมเด็จพระอินทราชาและจังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดสุพรรณบุรี
รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและจังหวัดสุพรรณบุรี
จังหวัดสุโขทัย
ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).
ดู สมเด็จพระอินทราชาและจังหวัดสุโขทัย
จังหวัดนครสวรรค์
ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและจังหวัดนครสวรรค์
ประเทศจีน
ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..
ดู สมเด็จพระอินทราชาและประเทศจีน
แคว้นสุพรรณภูมิ
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ ดินแดนสุวรรณภูมิ อาณาจักรสุพรรณภูมิ หรือ แคว้นสุพรรณภูมิ เป็นแคว้นของชนชาติไทยในอดีต มีมาก่อนสถาปณากรุงศรีอยุธยา โดยมีเมืองอู่ทองเป็นเมืองหลวง.
ดู สมเด็จพระอินทราชาและแคว้นสุพรรณภูมิ
ดูเพิ่มเติม
บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1902
- จักรพรรดิโกะ-เอ็งยู
- สมเด็จพระอินทราชา
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 1967
- จักรพรรดิหย่งเล่อ
- สมเด็จพระอินทราชา
พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
- ขุนวรวงศาธิราช
- สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
- สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
- สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3
- สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4
- สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
- สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
- สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
- สมเด็จพระมหินทราธิราช
- สมเด็จพระยอดฟ้า
- สมเด็จพระรัษฎาธิราช
- สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
- สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
- สมเด็จพระราเมศวร
- สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา
- สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์
- สมเด็จพระอาทิตยวงศ์
- สมเด็จพระอินทราชา
- สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
- สมเด็จพระเจ้าทองลัน
- สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
- สมเด็จพระเจ้ารามราชา
- สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
- สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร
- สมเด็จพระเชษฐาธิราช
- สมเด็จพระเพทราชา
- สมเด็จพระเอกาทศรถ
- สมเด็จพระไชยราชาธิราช
- สมเด็จเจ้าฟ้าไชย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระอินราชาธิราชสมเด็จพระอินทรราชาสมเด็จพระอินทราชาธิราชสมเด็จพระอินทราชาที่ 1สมเด็จพระอินทราธิราชสมเด็จพระนครินทราชาธิราชสมเด็จเจ้านครอินทร์เจ้านครอินทร์