โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระมหาธรรมราชาที่ 3

ดัชนี พระมหาธรรมราชาที่ 3

ระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย)นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 40 เป็นพระมหากษัตริย์ไทยสมัยอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ตั้งแต่ปี..

18 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1943พ.ศ. 1962พญาสามฝั่งแกนพระมหากษัตริย์พระมหากษัตริย์ไทยพระมหาธรรมราชาที่ 2พระมหาธรรมราชาที่ 4พระยารามแห่งสุโขทัยพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ราชวงศ์พระร่วงรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยสมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดาสมเด็จพระอินทราชาสังฆราชหัวเมืองเหนืออาณาจักรสุโขทัยประเทศราชเวียงเชียงใหม่

พ.ศ. 1943

ทธศักราช 1943 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และพ.ศ. 1943 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1962

ทธศักราช 1962 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และพ.ศ. 1962 · ดูเพิ่มเติม »

พญาสามฝั่งแกน

ญาสามฝั่งแกน (100px) เป็นเจ้าผู้ครองนครแห่งราชวงศ์เม็งรายลำดับที่ 8 และเป็นลำดับที่ 32 แห่งราชวงศ์ลวจังกราช ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และพญาสามฝั่งแกน · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชาที่ 2

ระมหาธรรมราชาที่ 2 หรือ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และพระมหาธรรมราชาที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชาที่ 4

ระมหาธรรมราชาที่ 4 หรือ บรมปาล หรือ พระยาบาลเมือง เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาพระองค์หนึ่ง ได้ครองเมืองพิษณุโลกในระหว่างปี..

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และพระมหาธรรมราชาที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

พระยารามแห่งสุโขทัย

ระญาราม เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาที่ 2นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 45 แห่งอาณาจักรสุโขทัย เชื่อว่าพระนามของพระองค์ตั้งตามพระนามของพ่อขุนรามคำแหงมหาร.

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และพระยารามแห่งสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์

ระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ เป็นเอกสารสำคัญที่เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์ว่ามีความถูกต้องน่าเชื่อถือได้ฉบับหนึ่งในบรรดาพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับต่างๆ ที่มีปรากฏอยู่ในปัจจุบัน โดยพงศาวดารฉบับนี้ได้ถูกเขียนขึ้นใน..

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์พระร่วง

ราชวงศ์พระร่วง เป็นราชวงศ์แรกและราชวงศ์เดียวที่ปกครองอาณาจักรสุโขทัย หลักฐานจารึกปู่สบถหลานระหว่างกษัตริย์สุโขทัยและน่าน แล้วมีการลำดับพระนามพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์สุโขทัยตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่วนหลักฐานทางประวัติศาสตร์มักพบว่าผู้คนภายในเขตสุโขทัย หรือบ้านเมืองแว่นแคว้นอื่นมักเรียกพระมหากษัตริย์ของสุโขทัยในนามว่า "พระร่วง" ซึ่งเป็นนามที่รู้จักไปอย่างกว้างขวางของคนกลุ่มไทยในสมัยโบราณ เชื้อสายของราชวงศ์พระร่วงนี้สืบทอดมายาวนานในการปกครองสมัยสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง มีการสานสายสัมพันธ์กับราชวงศ์อู่ทองแห่งอาณาจักรละโว้ และราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชแห่งอาณาจักรตามพรลิงก์ มาถึงสมัยอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิรวมถึงราชวงศ์สุโขทัยแห่งอาณาจักรอยุธยา ยังปรากฏอยู่ผ่านความสัมพันธ์ทางเครือญาติระหว่างอาณาจักร สัญลักษณ์หรืออนุสรณ์อันศักดิ์สิทธิ์ของราชวงศ์พระร่วงที่สืบทอดมาถึงปัจจุบัน คือ รูปพระร่วงพระลือ ในซุ้มพระร่วงพระลือที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตามความเชื่อของคนรุ่นเก่าแก่ในจังหวัดสุโขทัย ระบุว่า ที่นี่คือนิวาสถานดั้งเดิม หรือต้นกำเนิดของราชวงศ์พระร่วง.

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และราชวงศ์พระร่วง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดา

มเด็จพระศรีธรรมราชมาดา หรือ สมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดามหาดิลกรัตนราชนาถกรรโลง (อักขรวิธีเก่า: สํเดจพระราชชนนีสรีธรมราชมาดามหาดิลกรตนราชนารถกนัโลง) เป็นเป็นพระอัครมเหสีในพระยาลิไท.

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และสมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอินทราชา

มเด็จพระอินทราชา (เจ้านครอินทร์) หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีศรีนครินทราธิราช หรือ สมเด็จพระนครินทราธิราช เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี..

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และสมเด็จพระอินทราชา · ดูเพิ่มเติม »

สังฆราช

ังฆราช คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดในสังฆมณฑล ในแต่ละประเทศ เช่น ประเทศพม่า ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา มักมีพระสังฆราชเป็นของตน พระสังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสกลมหาสังฆปริณายก) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระราชาแห่งคณะสง.

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และสังฆราช · ดูเพิ่มเติม »

หัวเมืองเหนือ

มืองเหนือ หรือ หัวเมืองเหนือ มีความหมายต่างกันในด้านเงื่อนไขเวลา ดังนี้.

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และหัวเมืองเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศราช

"ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง" ที่หัวเมืองมลายูส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม ประเทศราช หรือ รัฐบรรณาการ หมายถึง รัฐที่มีประมุขเป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราชต้องส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้ราชวงศ์หยวนของจีน (พ.ศ. 1813–1899), กรุงศรีอยุธยาภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), นครเชียงใหม่ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437).

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และประเทศราช · ดูเพิ่มเติม »

เวียงเชียงใหม่

วียงเชียงใหม่ หรือชื่อในรัชสมัยพระเจ้ากาวิละคือ เมืองรัตนตึงษาอภิณบุรี หมายถึงเขตเมืองนครหลวงของเชียงใหม่ (เขตเมืองเก่าในปัจจุบัน) แบ่งออกเป็นสองชั้น คือ เวียงชั้นนอก เป็นเขตเมืองโบราณรูปวงกลม ไม่เป็นที่แน่ชัดถึงปีสร้างและผู้สร้าง แต่จากตำนานคาดว่าสร้างโดยพญาลั๊วะ ซึ่งต่อมาถูกทิ้งร้าง และเวียงชั้นใน เป็นเขตเมืองรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สถาปนาเมื่อ 12 เมษายน..

ใหม่!!: พระมหาธรรมราชาที่ 3และเวียงเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พญาไสลือไทพญาไสลือไทยพญาไสสือไทยพระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไท)พระมหาธรรมราชาที่ ๓ไสลือไท

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »