สารบัญ
5 ความสัมพันธ์: พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์)พงศาวดารสมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราชอาณาจักรอยุธยา
พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์)
อำมาตย์เอก เสวกเอก พระยาปริยัติธรรมธาดา นามเดิม แพ ต้นสกุล ตาละลักษมณ์ อดีตเจ้ากรมราชบัณฑิตขว.
ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษมณ์)
พงศาวดาร
งศาวดาร คือบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น ๆ พงศาวดารในฐานะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันมีการถกเถียงกันเรื่องความน่าจะเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า เป็นหลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานชั้นรอง เพราะมีการเขียนพงศาวดารหลายฉบับในลักษณะที่คล้ายกันแต่แตกต่างกันในเนื้อหาและรายละเอียด ประกอบกับการใช้ศักราชในพงศาวดารไม่สอดคล้องกัน กล่าวคือ บ้างใช้มหาศักราช บ้างใช้จุลศักราช และพงศาวดารมีการเขียนขึ้นภายหลังเหตุการณ์ เช่น พระราชพงศาวดารฉบับเถื่อน ซึ่งเขียนขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่กล่าวถึงก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นต้น.
ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และพงศาวดาร
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.
ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..
ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ดู พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์และอาณาจักรอยุธยา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐฯ