โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

แคว้นล้านนา

ดัชนี แคว้นล้านนา

แคว้นล้านนา เป็นอาณาจักรอันเป็นประเทศราชของราชวงศ์ตองอู และ อยุธยา ช่วงระหว่างปี..

36 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2094พ.ศ. 2101พ.ศ. 2107พ.ศ. 2121พ.ศ. 2139พ.ศ. 2150พ.ศ. 2151พ.ศ. 2156พ.ศ. 2158พ.ศ. 2174พ.ศ. 2198พ.ศ. 2202พ.ศ. 2215พญาหลวงทิพเนตรพญาแก้วพระชัยทิพพระช้อยพระนางวิสุทธิเทวีพระแสนเมืองพระเมกุฏิสุทธิวงศ์พระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าอะเนาะเพะลูนพระเจ้าเมืองแพร่การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่งภาคเหนือ (ประเทศไทย)รัฐชานราชวงศ์ตองอูอาณาจักรล้านนาอาณาจักรอยุธยาประเทศราชประเทศไทยนรธาเมงสอไทยวนเชียงตุงเวียงเชียงใหม่เจ้าพลศึกศรีสองเมือง

พ.ศ. 2094

ทธศักราช 2094 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2094 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2101

ทธศักราช 2101 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2101 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2107

ทธศักราช 2107 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2107 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2121

ทธศักราช 2121 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2121 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2139

ทธศักราช 2139 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2139 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2150

ทธศักราช 2150 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2150 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2151

ทธศักราช 2151 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2151 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2156

ทธศักราช 2156 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1613.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2156 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2158

ทธศักราช 2158 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2158 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2174

ทธศักราช 2174 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2174 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2198

ทธศักราช 2198 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2198 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2202

ทธศักราช 2202 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2202 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2215

ทธศักราช 2215 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพ.ศ. 2215 · ดูเพิ่มเติม »

พญาหลวงทิพเนตร

ญาหลวงทิพเนตร (ไม่ปรากฏ - พ.ศ. 2198) เป็นผู้ปกครองแคว้นล้านนาองค์ที่ 7 ตั้งแต่พม่าครอบครองล้านนา และเป็นพระองค์แรกในราชวงศ์เมืองฝางที่มาปกครองล้านนา แต่เดิมพระองค์ทรงมีตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองฝาง ต่อมาพระเจ้าศรีสองเมืองคิดแข็งเมืองต่อกรุงอังวะ ฝ่ายพระเจ้าสุทโธธรรมราชาพระเจ้ากรุงอังวะหลังจากที่ทรงจัดการบ้านเมืองเสร็จเรียบร้อย ทรงทราบว่าหัวเมืองในล้านนาแข็งเมืองกระด้างกระเดื่องต่อพระองค์ ก็ทรงยกกองทัพใหญ่มาปราบปราม ในปี..

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพญาหลวงทิพเนตร · ดูเพิ่มเติม »

พญาแก้ว

ระเจ้าศิริธรรมจักรพรรดิ หรือพญาแก้ว (พระเมืองแก้ว) (80px)เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 11 ในราชวงศ์เม็งราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ใน พ.ศ. 2038 - 2068 พญาแก้ว มีพระนามที่เรียกกันต่างๆ คือ พระเมืองแก้ว หรือพ่อท้าวแก้ว หรือเจ้ารัตนราชกุมาร หรือพญาแก้วภูตาธิปติราช หรือ พระเจ้าติลกปนัดดาธิราช ทรงเป็นพระปนัดดาของพระเจ้าติโลกราช และเป็นราชบุตรของพญายอดเชียงรายกับพระนางสิริยสวดี (เทวีปงน้อย) ประสูติในปีขาล ได้รับราชาภิเษกเมื่อชนมายุ 13 ปี ในวันเพ็ญเดือน 9..

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพญาแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

พระชัยทิพ

ระชัยทิพ (Pra Chaiyathip) หรือมองกอยต่อ กษัตริย์แห่งราชวงศ์พม่าที่ปกครองอาณาจักรล้านนา ใน พ.ศ. 2151 - 2156 รวมระยะเวลา 5 ปี พระองค์เป็นพระโอรสของเจ้าฟ้าสารวตี ปฐมวงศ์ของราชวงศ์พม่าในล้านน.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพระชัยทิพ · ดูเพิ่มเติม »

พระช้อย

ระช้อย หรือ สะโทกะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เจ้าหมองส่วยสโตคอย (พงษาวดารเมืองน่าน) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่จากราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในพระเจ้าเชียงใหม่นรธาเมงสอ หลังจากที่พระราชบิดาสิ้นพระชนม์แล้ว พระราชโอรสทั้ง 3 พระองค์ต่างแย่งชิงราชสมบัติกัน ในที่สุดขุนนางกลุ่มหนึ่งสนับสนุนให้พระองค์ครองราชย์ต่อจากพระบิดาได้สำเร็จในรัชสมัยแรกระหว่าง..

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพระช้อย · ดูเพิ่มเติม »

พระนางวิสุทธิเทวี

ระนางวิสุทธิเทวี หรือ สมเด็จเจ้าราชวิสุทธ (? — พ.ศ. 2121) เป็นขัตติยราชนารีพระองค์หนึ่งที่สำคัญพระองค์หนึ่งของอาณาจักรล้านนา และเป็นพระกษัตรีย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์มังราย ก่อนที่การปกครองอาณาจักรล้านนาจะตกไปสู่การปกครองของราชวงศ์ตองอู มหาเทวีวิสุทธิได้ให้การยอมรับอำนาจของพม่า และสนองนโยบายการขยายอำนาจจากล้านนาไปสู่กรุงศรีอยุธยา และล้านช้าง โดยใช้ล้านนาเป็นที่มั่น และส่งกองทัพเข้าร่วมรบกับเชียงใหม่ในคราวเสียกรุงศรีอ..

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพระนางวิสุทธิเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระแสนเมือง

ระแสนเมือง ทรงครองแคว้นล้านนาโดยมีอาณาเขตอิทธิพลด้านตะวันตกของแคว้นล้านนาเดิมในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2189 - 2202 ในรัชกาลนี้ พม่าเริ่มมีปัญหากับจีนฮ่อซึ่งเป็นกองกำลังของราชวงศ์หมิงที่ถูกขับไล่ลงมาทางใต้โดยราชวงศ์ชิง พระแสนเมือง เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ที่ปกครองโดยพม่า โดยนครถูกยึดครองในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ผู้คนและหญิงสาวในเมืองนั้นถูกกวาดต้อนเป็นอย่างมาก หนึ่งในนั้น คือ เจ้านางสมบุญ (ภายหลังในเป็น พระนางกุสาวดี) ได้เป็นบาทบริจาริกาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และมีพระโอรสด้วยกัน 1 พระองค์ คือ พระเจ้าเสือ.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพระแสนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

พระเมกุฏิสุทธิวงศ์

ระเป็นเจ้าแม่กุตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี, หน้า 91 (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) พระเมกุฏิสุทธิวงศ์ (พงศาวดารโยนก) พญาเมกุ หรือเจ้าขนานแม่กุประวัติศาสตร์ล้านนา, หน้า 178-179 ส่วนพม่าเรียกว่า ยูนบะหยิ่น (ယွန်းဘုရင်, Yun Bayin "กษัตริย์ของชาวโยน"), พระสังพม่าอ่านไทย, หน้า 162-163 หรือ พระสารพระราชพงศาวดารพม่า, หน้า 1129 เป็นอดีตเจ้านายเมืองนาย และเป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้สืบเชื้อสายมาจากพญามังราย ภายหลังอาณาจักรล้านนาได้พ่ายแพ้แก่พม่าในรัชสมัยพระเจ้าบุเรงนอง พระเมกุฏิสุทธิวงศ์จึงถูกนำไปเป็นองค์ประกันในพม่าก่อนพิราลัยที่นั่นด้วยโรคบิด การพิราลัยด้วยพระโรคบิดของพระองค์นั้น ทางคติพม่าถือว่าเป็นการตายร้าย น่าสังเวชเวทนา จึงกลายเป็นนัตตระกูลสูงหนึ่งจากทั้งหมดสามสิบเจ็ดตน พระสาทิสลักษณ์ของพระองค์ในรูปลักษณ์ของนัตมีลักษณะคือ ประทับนั่งชันพระชานุขวา พระหัตถ์ขวาถือพระแสงดาบพาดพระอังสาเบื้องขวา และพระหัตถ์ซ้ายวางบนพระชานุซ้.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพระเมกุฏิสุทธิวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพระเจ้าบุเรงนอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอะเนาะเพะลูน

ระเจ้าอะเน่าก์แพตหลุ่น (အနောက်ဖက်လွန် อะเน่าก์แพะหลุ่นมิง แปลว่า พระราชาแห่งทิศตะวันตก) หรือ พระเจ้ามหาธรรมราชา พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าปราสาททองกลดแก้ว เป็นพระมหากษัตริย์พม่าในราชวงศ์ตองอู เมื่อสิ้นพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงแล้ว ฐานอำนาจของราชวงศ์ตองอูสั่นคลอนเนื่องจากเกิดการกบฏจากพม่าด้วยกันเองในหลายหัวเมือง อีกทั้งการรุกรานจากต่างชาติ เช่น มอญและชาวโปรตุเกส พระองค์ทรงเป็นผู้รวบรวมอาณาจักรพม่าให้กลับมายิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง แม้ไม่ยิ่งใหญ่เท่าสมัยของพระอัยกาก็ตาม.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพระเจ้าอะเนาะเพะลูน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเมืองแพร่

ระเจ้าเมืองแพร่ (ไม่ปรากฏ - พ.ศ. 2215) เป็นกษัตริย์แคว้นล้านนาเชียงใหม่ องค์ที่ 9 ตั้งแต่พม่าครอบครองล้านนา ทรงเป็นเจ้าเมืองแพร่พระองค์เดียวที่มาปกครองล้านนา พระเจ้าเมืองแพร่มีพระนามเดิมว่าอย่างไรไม่ปรากฏหลักฐาน แต่มีนักประวัติศาสาตร์ท้องถิ่นระบุพระนามเดิมของพระองค์ว่า มังแรลักจ่อ หรือ มังแรลักกยอ โดยชาวเมืองขนานพระนามพระองค์ว่า เจ้าเมืองแพร่ เนื่องจากพระองค์เคยเป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่มาก่อน ในปี..

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและพระเจ้าเมืองแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งระหว่างอาณาจักรตองอูและอาณาจักรอยุธยา อันเป็นผลมาจากความต้องการของพระเจ้าบุเรงนองซึ่งต้องการได้กรุงศรีอยุธยาเป็นประเทศราชดนั.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาน

รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและรัฐชาน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศราช

"ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง" ที่หัวเมืองมลายูส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม ประเทศราช หรือ รัฐบรรณาการ หมายถึง รัฐที่มีประมุขเป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราชต้องส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้ราชวงศ์หยวนของจีน (พ.ศ. 1813–1899), กรุงศรีอยุธยาภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), นครเชียงใหม่ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437).

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและประเทศราช · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นรธาเมงสอ

นรธาเมงสอ (နော်ရထာ မင်းစော, หน่อยะถ่ามิงซอ) หรือ สาวัตถีนรถามังคะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เมงซานรธามังคุย (พงศาวดารโยนก) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้ปกครองแคว้นล้านนา ในช่วง..

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและนรธาเมงสอ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยวน

ทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) หรือ ไตยวน (อ่านว่า ไต-ยวน) เป็นกลุ่มประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาไท-กะไดกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา "ไทยวน" เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฎหลักฐานในวรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ยวน อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับชาวฉาน โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนฉานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐฉานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ฉานพม่า" (Burmese Shan) แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลายๆกลุ่ม ในปี..

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและไทยวน · ดูเพิ่มเติม »

เชียงตุง

ียงตุง (ภาษาไทเขิน: ᨩ᩠ᨿᨦᨲᩩᨦ ไทใหญ่:; ကျိုင်းတုံမြို့; 60px; Keng Tung) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่า เป็นเมืองของชาวไทเขิน และชาวไทใหญ่ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเทียบเท่า เมืองเชียงใหม่แห่งล้านนาไทย และเมืองเชียงรุ่งแห่งสิบสองปันนา โดยชาวไทใหญ่เรียกชื่อเมืองนี้ว่า เก็งตุ๋ง (Keng Tung) ในอดีตเชียงตุงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางการค้าเชื่อมต่อระหว่างสิบสองปันนากับล้านนา โดยมีพ่อค้าชาวจีนฮ่อเดินทางไปมาค้าขายในเส้นทางนี้.

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและเชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

เวียงเชียงใหม่

วียงเชียงใหม่ หรือชื่อในรัชสมัยพระเจ้ากาวิละคือ เมืองรัตนตึงษาอภิณบุรี หมายถึงเขตเมืองนครหลวงของเชียงใหม่ (เขตเมืองเก่าในปัจจุบัน) แบ่งออกเป็นสองชั้น คือ เวียงชั้นนอก เป็นเขตเมืองโบราณรูปวงกลม ไม่เป็นที่แน่ชัดถึงปีสร้างและผู้สร้าง แต่จากตำนานคาดว่าสร้างโดยพญาลั๊วะ ซึ่งต่อมาถูกทิ้งร้าง และเวียงชั้นใน เป็นเขตเมืองรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สถาปนาเมื่อ 12 เมษายน..

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและเวียงเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพลศึกศรีสองเมือง

ระเจ้าศรีสองเมือง หรือ เจ้าพญาพลเสิกซ้ายไชยสงคราม เป็นพระโอรสในพระญาหน่อคำไชยเสถียรสงคราม เจ้าเมืองน่าน ทรงครองราชย์แคว้นล้านนาใน..

ใหม่!!: แคว้นล้านนาและเจ้าพลศึกศรีสองเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »