สารบัญ
19 ความสัมพันธ์: พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซียพระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปนพระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดนพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์กมงแต็สกีเยอยุคเรืองปัญญาระบบใช้อำนาจเด็ดขาดวอลแตร์สมบูรณาญาสิทธิราชย์จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิรัสเซียจักรวรรดิสเปนประเทศโปรตุเกสประเทศเดนมาร์กเทวสิทธิราชย์
- ทฤษฎีการเมือง
- ยุคเรืองปัญญา
- ราชาธิปไตย
พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย
ระเจ้าฟรีดริชที่ 2 (เยอรมัน: Friedrich II.; อังกฤษ: Frederick II หรือ พระเจ้าฟรีดริชมหาราช (24 มกราคม ค.ศ. 1712 - 17 สิงหาคม ค.ศ. 1786 เป็นพระมหากษัตริย์ปรัสเซียจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น โดยทรงครองราชย์ระหว่างปีค.ศ.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย
พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน
ระวังสับสนกับ จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้ปกครองสเปนในช่วงเวลาสั้นๆในช่วงสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน ในฐานะ ชาร์ลส์ที่ 3 พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน หรือสำเนียงภาษาอังกฤษ พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3 (สเปน;การ์โลส, อิตาลี; การ์โล; 20 มกราคม ค.ศ.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและพระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน
พระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดน
พระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดน (Gustav III) เป็นกษัตริย์แห่งสวีเดน ระหว่างปี ค.ศ. 1771 จนถึงการลอบปลงพระชนม์ในปี ค.ศ. 1792 ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้าอดอล์ฟ เฟรเดอริกแห่งสวีเดน และสมเด็จพระราชินีหลุยเซ่ อูลริเค่แห่งปรัสเซีย ผู้ทรงเป็นพระขนิษฐาในพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 มหาราชแห่งปรัสเซีย หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สวีเดน หมวดหมู่:ราชวงศ์โฮลชไตน์-กอททอร์พ หมวดหมู่:บุคคลจากสตอกโฮล์ม หมวดหมู่:เสียชีวิตจากภาวะพิษเหตุติดเชื้อ.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและพระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดน
พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส
ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส
พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก
ระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 (28 มกราคม พ.ศ. 2311 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2382) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก (13 มีนาคม พ.ศ. 2351 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2382)และพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ ซึ่งเป็นพระขนิษฐาในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น พระประมุขสูงสุดที่ทรงภูมิธรรม (An enlightened despot) ในยุคเรืองปัญญา คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระผู้เป็นเจ้าและความยุติธรรม (Gud og den retfærdige sag).
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก
มงแต็สกีเยอ
ร์ล-หลุยส์ เดอ เซอกงดา บารอนแห่งลาแบรดและมงแต็สกีเยอ (Charles-Louis de Secondat, baron de La Brède et de Montesquieu) หรือรู้จักกันในชื่อ มงแต็สกีเยอ (Montesquieu) เป็นนักวิพากษ์สังคมและนักคิดทางการเมืองชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ในยุคเรืองปัญญา มีชื่อเสียงเกี่ยวกับทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจที่พูดถึงในการปกครองสมัยใหม่และใช้ในรัฐธรรมนูญในหลายประเทศ และเป็นผู้ที่ทำให้คำว่าระบบเจ้าขุนมูลนายและจักรวรรดิไบแซนไทน์ใช้กันอย่างแพร่หล.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและมงแต็สกีเยอ
ยุคเรืองปัญญา
ฌ็อง-ฌัก รูโซ บุคคลสำคัญจากยุคเรืองปัญญา ยุคเรืองปัญญา (Age of Enlightenment; Siècle des Lumières) คือการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล่าปัญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบนทวีปอเมริกาช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป้าหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส่งเสริมการใช้หลักเหตุผลมากกว่าการใช้หลักจารีต, ความเชื่อ และการเปิดเผยจากพระเจ้า รวมไปถึงส่งเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้หรือการใช้ปัญญา ต่อต้านความเชื่อทางไสยศาสตร์, โมหาคติ และการชักนำให้ผิดเพี้ยนจากคริสตจักรและรัฐบาล ยุคเรืองปัญญาเริ่มตั้นขึ้นในช่วงประมาณปี..
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและยุคเรืองปัญญา
ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด
ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด (Despotism) เป็นระบอบการปกครองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เริ่มจากการรวมกลุ่มของมนุษย์ โดยให้บุคคลเพียงคนเดียวหรือกลุ่มบุคคลเป็นมีอำนาจปกครองกลุ่ม โดยมีอำนาจอย่างสมบูรณ์ในระบอบของตน แนวคิดหลักคือ อำนาจอธิปไตยอยู่ในมือของคนคนเดียวหรือกลุ่มบุคคลขนาดเล็ก โดยอาจเป็นได้ทั้งการปกครองแบบทรราช ซึ่งใช้อำนาจปราบปรามและลงโทษผู้อยู่ใต้การปกครอง หรือการปกครองแบบเบ็ดเสร็จซึ่งผู้ปกครองอยู่เหนือกฎหมายใด ๆ การปกครองแบบราชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจเต็มและอยู่เหนือกฎหมายนั้นก็นับเป็นระบอบเผด็จการแบบหนึ่ง แต่มองเตสกีเยอได้ระบุถึงความแตกต่างระหว่างระบอบทั้งสองว่า ระบอบราชาธิปไตยใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จโดยการตราและแก้ไขกฎหมาย ขณะที่ระบอบเผด็จการจะใช้อำนาจตามใจตน.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและระบบใช้อำนาจเด็ดขาด
วอลแตร์
ฟร็องซัว-มารี อารูเอ (François-Marie Arouet) หรือเป็นที่รู้จักกันในนามปากกาว่า วอลแตร์ (Voltaire) เป็นปราชญ์, นักเขียน และนักประวัติศาสตร์ในยุคเรืองปัญญาของฝรั่งเศส เขาเป็นผู้โจมตีการจัดตั้งศาสนจักรคาทอลิกในฝรั่งเศส และยังสนับสนุนเสรีภาพทางศาสนา, เสรีภาพในการพูด และยังผลักดันให้มีการแบ่งแยกศาสนจักรออกจากรั.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและวอลแตร์
สมบูรณาญาสิทธิราชย์
มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและสมบูรณาญาสิทธิราชย์
จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย
ักรพรรดินีแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย (Catherine II of Russia) ซึ่งทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า "แคทเธอรีนมหาราชินี" (หรือ Екатерина II Великая; Katharina die Große; 2 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1
นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1
จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ระหว่างปี 1765 ถึง 1790 และทรงเป็นผู้ปกครองแผ่นดินฮับบูร์ก ระหว่างปี 1780 ถึง 1790 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา กับ จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และเป็นพระเชษฐาในพระนางมารี อ็องตัวแน็ต อัครมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ในฐานะจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์ทรงเป็นผู้ปกครองดินแดนประเทศราชของออสเตรียพระองค์แรก ที่มีเชื้อสายมาจากฮับส์บูร์กผ่านทางพระราชมารดา ในช่วงรัชกาลของพระองค์ ทรงใช้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม ตัวพระองค์ถูกเปรียบว่าเทียบได้กับ พระนางแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย และ พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย เป็นหนึ่งในสามกษัตริย์ผู้รุ่งโรจน์แห่งยุค พระองค์เสร็จสวรรคตโดยปราศจากรัชทายาท ดังนั้นผู้สืบราชบัลลังก์ต่อคือพระอนุชาของพระองค์ แกรนด์ดยุกปีเตอร์ เลโอโปล.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและจักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
ักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ กษัตริย์แห่งฮังการีและโครเอเชีย ระหว่างปี 1790 ถึง 1792 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา กับ จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และทรงเป็นพระเชษฐาในพระนางมารี อ็องตัวแน็ต อัครมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส พระองค์ขึ้นครองบัลลังก์จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์ จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 ที่เสด็จสวรรคตโดยปราศจากรัชทายาท จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 ทรงใช้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมตามรอยพระเชษฐาของพระอง.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
จักรวรรดิรัสเซีย
ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและจักรวรรดิรัสเซีย
จักรวรรดิสเปน
ักรวรรดิสเปน (Imperio Español, Spanish Empire) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก และเป็นหนึ่งในจักรวรรดิโลก (global empire) จักรวรรดิแรก ที่มีดินแดนและอาณานิคมในยุโรป, อเมริกา, เอเชีย และ โอเชียเนีย มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ส่วนอาณานิคมในแอฟริกาเป็นดินแดนที่ได้มาในตอนปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 20 สเปนก่อตัวขึ้นเป็นสหอาณาจักรในปี..
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและจักรวรรดิสเปน
ประเทศโปรตุเกส
ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและประเทศโปรตุเกส
ประเทศเดนมาร์ก
นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและประเทศเดนมาร์ก
เทวสิทธิราชย์
พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ในเครื่องทรงพระอาทิตย์ เทวสิทธิราชย์ (Divine Right of Kings) เป็นหลักความเชื่อทางการเมืองและทางศาสนาของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ว่าพระมหากษัตริย์ไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจใดภายในโลกียวิสัยเพราะทรงเป็นผู้ที่ได้รับอำนาจโดยตรงจากพระเจ้า ฉะนั้นพระมหากษัตริย์จึงไม่ทรงอยู่ภายใต้อำนาจของประชาชน ขุนนาง หรือสถาบันใดใดทั้งสิ้น (ทั้งนี้ผู้นับถือนิกายโปรแตสแตนท์ส่วนมากเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ไม่อยู่ใต้อำนาจพระศาสนจักรอีกด้วย ส่วนผู้นับถือนิกายคาทอลิกถือว่าพระศาสนจักรไม่ขึ้นต่อพระมหากษัตริย์) หลักความเชื่ออันนี้เป็นนัยว่าความพยายามในการโค่นล้มราชบัลลังก์หรือความพยายามในการจำกัดสิทธิของพระมหากษัตริย์เป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง และเป็นการขัดต่อพระประสงค์ของพระเจ้า มีผลด้านการเมืองคือทำให้ประชาชนเข้าใจว่าผู้ทำพยายามกระทำการดังกล่าวเป็นพวกนอกรีต หลักความเชื่อนี้มีมาตั้งแต่ยุคกลางที่กล่าวว่าพระเจ้าทรงมอบอำนาจทางโลกให้แก่พระมหากษัตริย์ เช่นเดียวกับที่ทรงมอบอำนาจทางธรรมให้แก่สถาบันศาสนาโดยมีประมุขเป็นพระสันตะปาปา ผู้ประพันธ์ทฤษฎีนี้คือฌอง โบแดง (Jean Bodin) ผู้เขียนจากการตีความหมายของกฎหมายโรมัน เมื่อการขยายตัวของรัฐอิสระต่างๆ และการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์มีอิทธิพลมากขึ้น ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ก็กลายมาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนในการให้เหตุผลในเอกสิทธิ์ในการปกครองของพระมหากษัตริย์ทั้งในด้านการเมืองและทางด้านศาสนา ทฤษฎี “เทวสิทธิ์” ที่สนับสนุนโดยสถาบันโรมันคาทอลิกมามีบทบาทสำคัญระหว่างรัชสมัยการปกครองของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ.
ดู สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมและเทวสิทธิราชย์
ดูเพิ่มเติม
ทฤษฎีการเมือง
- การกำหนดการปกครองด้วยตนเอง
- การปฏิวัติโลก
- การเกณฑ์ทหาร
- การแบ่งแยกเชื้อชาติ
- ความสุขมวลรวมประชาชาติ
- จักรพรรดิสันตะปาปานิยม
- จักรวรรดินิยม
- ทฤษฎีโดมิโน
- นีโอนาซี
- ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ
- ประชานิยม
- ปรัชญาการเมือง
- ปล่อยให้ทำไป
- พหุนิยมทางการเมือง
- มณฑล (แบบจำลองทางรัฐศาสตร์)
- ระบบพ่อปกครองลูก
- ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ
- ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก
- ระบอบสหพันธรัฐ
- รัฐอันธพาล
- ลัทธิคลั่งชาติ
- ลัทธิอำนาจนิยม
- ลัทธิไตรราษฎร์
- สมบูรณาญาสิทธิราชย์
- สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม
- สันตินิยม
- อนุรักษนิยม
- เสรีนิยมใหม่
- เอกราช
ยุคเรืองปัญญา
- การปฏิวัติอเมริกา
- ฌ็อง-ฌัก รูโซ
- บารุค สปิโนซา
- บิดาผู้ก่อตั้งสหรัฐ
- ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง
- ผู้รู้รอบด้าน
- พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย
- ฟรานซิส เบคอน
- ยุคเรืองปัญญา
- รอเบิร์ต ฮุก
- ลัทธิคลาสสิกใหม่
- สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม
- สารานุกรม หรือพจนานุกรมอันเป็นระบบว่าด้วยวิทยาศาสตร์ ศิลปกรรม และหัตถกรรม
- อดัม สมิธ
- อิมมานูเอล คานต์
- เบนจามิน แฟรงคลิน
- เรอเน เดการ์ต
ราชาธิปไตย
- การสังหารหมู่ราชวงศ์เนปาล
- การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์
- การแต่งงานต่างฐานันดร
- คณะองคมนตรี
- ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์
- จตุราธิปไตย
- จุลมงกุฎ
- ดัชชี
- ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง
- ทายาทโดยสันนิษฐาน
- ประมุขแห่งรัฐ
- ประเทศในเครือจักรภพ
- ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
- พระปรมาภิไธย (พระมหากษัตริย์ไทย)
- พระมหากษัตริย์เสด็จสวรรคต ขอพระมหากษัตริย์ทรงพระเจริญ
- พรินซิพาลิตี
- พิธีราชาภิเษก
- มกุฎสาธารณรัฐ
- มงกุฎ
- มหาราชา
- ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด
- ราชวงศ์
- ราชอาณาจักร
- ราชาธิปไตย
- ราชาธิปไตยของปวงชน
- ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
- ลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์
- สมบูรณาญาสิทธิราชย์
- สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม
- อาณัติแห่งสวรรค์
- เทวสิทธิราชย์
- เอมิเรต
- แกรนด์ดัชชี
- โอรสสวรรค์