โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ดัชนี พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..

83 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2297พ.ศ. 2308พ.ศ. 2336พระราชวังแวร์ซายพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซียพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 17 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าออกัสตัสที่ 3 แห่งโปแลนด์พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศสกบฏต่อแผ่นดินการทลายคุกบัสตีย์การขริบหนังหุ้มปลายการปฏิวัติฝรั่งเศสการปฏิวัติอเมริกาการประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789การเสด็จสู่วาแรนกิโยตีนมหาวิหารแซ็ง-เดอนีมารี อ็องตัวแน็ตมารี เลชชินสกา สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสมารี-เตแรซแห่งฝรั่งเศสยิบรอลตาร์ยิวยุคเรืองปัญญาระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัลระบอบเก่ารัฐผู้คัดเลือกซัคเซินราชวงศ์บูร์บงราชวงศ์กาเปเซียงราชวงศ์ฮาพส์บวร์คราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรฝรั่งเศสราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศสลัทธิคาลวินลามงตาญวัณโรคสภากงว็องซียงแห่งชาติสภาฐานันดร (ประเทศฝรั่งเศส)สมบูรณาญาสิทธิราชย์สมัยใหม่สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1สาธารณรัฐนิยมสิบสามอาณานิคมสงครามปฏิวัติอเมริกาสงครามประสานมิตรครั้งที่หนึ่งสงครามเจ็ดปี...สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1763)หลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็องฌัก แนแกร์ฌีรงแด็งฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ตจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซาจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงคำปฏิญาณสนามเทนนิสคณะเยสุอิตประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองประเทศมอริเชียสประเทศศรีลังกาประเทศจาเมกาประเทศเกรเนดาปลัสเดอลากงกอร์ดปารีสนิกายลูเทอแรนแม่น้ำไรน์แคว้นอาลซัสโรมันคาทอลิกโดแฟ็งแห่งฝรั่งเศสเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริงเจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส (ค.ศ. 1729–1765)เจ้าชายหลุยส์-โฌแซ็ฟ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศสเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกOgg20 ธันวาคม21 มกราคม5 กันยายน ขยายดัชนี (33 มากกว่า) »

พ.ศ. 2297

ทธศักราช 2297 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพ.ศ. 2297 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2308

ทธศักราช 2308 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพ.ศ. 2308 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2336

ทธศักราช 2336 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 1793.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพ.ศ. 2336 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังแวร์ซาย

ระราชวังแวร์ซาย (Château de Versailles) เป็นพระราชวังหลวงแห่งหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ที่แวร์ซาย ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกรุงปารีส พระราชวังแวร์ซายเป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่และสวยงามแห่งหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระราชวังแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส (Charles X de France, ชาร์ลดิสเดอฟร็องส์; 9 ตุลาคม พ.ศ. 2300 – 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2379), ได้รับพระสมัญญานามว่า ผู้ทรงเป็นที่รัก (le Bien-Aimé; เลอเบียงแนเม), ทรงดำรงตำแหน่งเคานต์แห่งอาร์ตัวก่อนจะขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ 16 กันยายน พ.ศ. 2367 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2373 เป็นพระปิตุลา (ลุง) ในเยาวกษัตริย์ผู้ทรงไม่ได้บรมราชาภิเษก พระเจ้าหลุยส์ที่ 17 และพระอนุชาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส ผู้ซึ่งหลังทรงถูกเนรเทศก็สนับสนุนพระอนุชาจนได้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าชาร์ลที่ 10 ทรงครองราชสมบัติเป็นระยะเวลาเกือบ 6 ปี และสิ้นสุดลงด้วยการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ส่งผลให้ต้องทรงสละราชสมบัติแก่หลุยส์ ฟิลิปป์ที่ ดยุคแห่งออร์เลอองส์ ซึ่งขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 10 ทรงถูกเนรเทศและสวรรคตที่กอริเซีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรี.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซีย (Friedrich Wilhelm II, Frederick William II of Prussia) (25 กันยายน ค.ศ. 1744 - 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1797) ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งปรัสเซียและรัฐผู้คัดเลือกแห่งบรันเดินบวร์ค (ในพระนามฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3) ผู้ทรงครองราชสมบัติต่อจากพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ในปี ค.ศ. 1786 และครองราชย์ต่อมาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1797 โดยมีพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 ทรงเป็นผู้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 1744 เป็นพระราชโอรสของออกัสตัส วิลเลียมแห่งปรัสเซีย และ หลุยส์ อามาลี แห่งเบราน์ชไวก์-โวลเฟนบึทเทิล.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส (Louis XIII de France; หลุยส์เตร์ซเดอฟร็องส์) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บองผู้ปกครองแผ่นดินฝรั่งเศสตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 15 (Louis XV de France; ''หลุยส์แก็งซ์เดอฟร็องส์''.) (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2253 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2317) หรือ ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่ง (ฝรั่งเศส: le Bien-Aimé; เลอเบียง-เนเม) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2258 (ค.ศ. 1715) จนกระทั่งสวรรคต ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อยังทรงพระเยาว์ การบริหารราชการในระยะแรกอยู่ในความรับผิดชอบของอ็องเดร แอร์กูล เดอเฟลอรี เมื่อเจริญพระชันษาขึ้นก็ทรงเอาพระทัยในการบริหารประเทศ แต่ทรงพยายามรักษาความยิ่งใหญ่ของฝรั่งเศสไว้เช่นสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ด้วยการทำสงครามกับเพื่อนบ้านหลายครั้งแต่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณไปเป็นจำนวนมาก ภายหลังทรงเริ่มละทิ้งราชการไปสนพระทัยในวิทยาศาสตร์และสนทนากับปัญญาชน รวมถึงทรงมีสัมพันธ์กับสตรีสูงศักดิ์หลายคน ถือว่าสถาบันกษัตริย์ของฝรั่งเศสเริ่มเสื่อมความนิยมและเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์มากขึ้น การบริหารประเทศไร้ประสิทธิภาพจนนำไปสู่วิกฤตการณ์ในรัชกาลต่อม.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 17 แห่งฝรั่งเศส

เจ้าชาย หลุยส์-ชาร์ล แห่งฝรั่งเศส (Louis-Charles de France) หรือที่กลุ่มกษัตริย์นิยมในฝรั่งเศสนับถือเป็น พระเจ้าหลุยส์ที่ 17 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVII de France) และพระเจ้าหลุยส์ที่ 4 แห่งนาวาร์ (Louis IV de Navarre) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์บูร์บง ประสูติเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2328 ณ เมืองแวร์ซายส์ โดยเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ใน พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส และพระนางมารี มารี อ็องตัวแน็ตแห่งออสเตรีย เมื่อแรกประสูตินั้น พระองค์มีพระอิสริยยศเป็นดยุคแห่งนอร์ม็องดี ต่อมาจึงได้ทรงดำรงพระยศเป็นโดแฟ็งแห่งเวียนนัวส์ (Dauphin de Viennois) ซึ่งเป็นตำแหน่งของรัชทายาทฝรั่งเศส และ "ปรินซ์รอแยลออฟฟรานซ์" (Prince Royal of France) ในปี พ.ศ. 2332 และ พ.ศ. 2334 ตามลำดับ พระองค์ได้ทรงรับสืบทอดพระอิสริยยศ พระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2336 หลังจากที่พระราชบิดาทรงถูกคณะปฏิวัติสำเร็จโทษด้วยการตัดพระเศียรในวันนั้น ซึ่งพระองค์เองก็ทรงถูกคณะปฏิวัติคุมขังตราบจนเสด็จสวรรคตในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2338 โดยที่ไม่มีโอกาสจะได้ขึ้นครองราชสมบัติเยี่ยงกษัตริย์พระองค์อื่นแต่อย่างใด สิริรวมพระชนมายุได้ 10 พรรษาโดยโรควัณโรค แต่หลักฐานก็ยังไม่แน่ชัดเพราะว่า บางคน เล่ากันว่าพระองค์ได้มีสหายคนสนิทได้ลักลอบพาตัวพระองค์ออกนอกประเทศและไม่เปิดเผยนามที่แท้จริงของพระองค์โดยสมัยนั้นมีถึง 30 คนที่ปลอมตนเองว่าเป็นพระองค์ หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่สวรรคตขณะทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 17 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVIII de France; หลุยส์ดีซุยต์เดอฟร็องส์; หลุยส์ สตานิสลาส กซาวีเย, 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1755 - 16 กันยายน ค.ศ. 1824) ซึ่งทรงเป็นที่รู้จักว่า "ผู้ปรารถนา" (le Désiré) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์บูร์บงผู้ครองราชบัลลังก์ฝรั่งเศสและนาวาร์ตั้งแต..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าออกัสตัสที่ 3 แห่งโปแลนด์

ระเจ้าออกัสตัสที่ 3 แห่งโปแลนด์ หรือ เจ้าชายฟรีดริช เอากุสท์ที่ 2 ผู้คัดเลือก (Augustus III of Poland, August III. หรือ Prince-elector Friedrich August II) (17 ตุลาคม ค.ศ. 1696 - 5 ตุลาคม ค.ศ. 1763) เป็นเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกแซกโซนี ระหว่างปี ค.ศ. 1733 ถึง ค.ศ. 1763 และเป็นพระมหากษัตริย์โปแลนด์ระหว่างปี ค.ศ. 1734 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1763 พระเจ้าออกัสตัสที่ 3 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม ค.ศ. 1696 ที่เมืองเดรสเดินในประเทศเยอรมนีปัจจุบัน พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าออกัสตัสที่ 2 แห่งโปแลนด์ และ พระนางคริสเตียน เอเบอร์ฮาร์ดีน (Christiane Eberhardine of Brandenburg-Bayreuth) และอภิเษกสมรสกับมาเรีย โจเซฟาแห่งออสเตรีย พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 1763 ที่เมืองเดรสเดินเช่นกัน.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าออกัสตัสที่ 3 แห่งโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส

พระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส หรือ พระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งนาวาร์ (Henri de Bourbon; 13 ธันวาคม ค.ศ. 1553 - 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1610) ทรงเป็นที่รู้จักในชื่อเรียกขานทั่วไปว่า พระเจ้าอ็องรีผู้ทรงธรรม ดำรงพระราชอิสริยยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนาวาร์ (ค.ศ. 1572 - ค.ศ. 1610) และพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์บูร์บงพระองค์แรก (ค.ศ. 1589 - ค.ศ. 1610) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2096 หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์นาวาร์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธมีคม หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง หมวดหมู่:ไนท์ออฟเดอะการ์เตอร์.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

กบฏต่อแผ่นดิน

การลงโทษโดยการ “แขวนคอ ควักไส้ และผ่าสี่” (Hanged, drawn and quartered) ซึ่งเป็นบทกำหนดการลงโทษของผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นกบฏต่อแผ่นดินในอังกฤษ กบฏต่อแผ่นดิน (High treason) เป็นความผิดทางอาญาในการทรยศต่อประเทศของตนเองซึ่งครอบคลุมการกระทำต่างๆ ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศของตนเอง ที่รวมทั้งการเข้าร่วมสงคราม, การพยายามโค่นล้มรัฐบาล, การสืบความลับทางการทหารหรือทางการทูต, หรือการพยายามสังหารผู้นำของประเทศ การ “กบฏต่อแผ่นดิน” อยู่บนพื้นฐานที่ว่าผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นกบฏต้องมีความสวามิภักดิ์ต่อประเทศที่ตนจงใจที่จะทำร้ายเช่นการเป็นประชาชนของประเทศนั้น แต่การมีที่อยู่อาศัยในประเทศหรือรัฐก็พอเพียง ชาวต่างประเทศที่เป็นสายลับ, ผู้ล่าสังหาร, และผู้ก่อการร้ายแม้ว่าจะไม่เข้าข่ายการเป็นกบฏต่อแผ่นดินอาจจะถูกฟ้องร้องและลงโทษในข้อหาเป็นสายลับ, เป็นผู้ล่าสังหาร, และเป็นผู้ก่อการร้าย แต่ในปัจจุบันผู้ต้องสงสัยในกรณีเหล่านี้มักจะถูกเนรเทศหลังจากถูกจับ ในประวัติศาสตร์ในประเทศที่ใช้ระบบคอมมอนลอว์ (common law) ข้อหาการกบฏต่อแผ่นดินแตกต่างจากกบฏย่อย (petty treason) ซึ่งเป็นการฆ่าผู้มีอำนาจเหนือกว่าตามกฎหมายเช่นผู้รับใช้ฆ่านายซึ่งถือว่าเป็นกรณีการฆาตกรรมที่หนักกว่าปกติ แต่กฎหมายครอบคลุมการกบฏย่อยถูกยุบเลิกกันไปจากประเทศต่างๆ เกือบทั้งสิ้น แนวคิดเกี่ยวกับกบฏย่อยจึงหายไป ในปัจจุบันคำว่า “กบฏ” จึงมักจะหมายถึงการ “กบฏต่อแผ่นดิน” ข้อสังเกตในกฎหมายของแคนาดาแยก “กบฏ” และ “กบฏต่อแผ่นดิน” เป็นสองกรณีแต่อันที่จริงแล้วในทั้งสองกรณีเป็นการกล่าวถึงการกบฏต่อแผ่นดินในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและกบฏต่อแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

การทลายคุกบัสตีย์

การทลายคุกบัสตีย์ (Prise de la Bastille; Fall of the Bastille) คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและการทลายคุกบัสตีย์ · ดูเพิ่มเติม »

การขริบหนังหุ้มปลาย

การขริบหนังหุ้มปลาย หลังจากการขริบอวัยวะเพศชาย การขริบหนังหุ้มปลาย (Circumcision) หรือเรียกกันว่า สุนัต คือ การผ่าตัดเพื่อเอาหนังหุ้มปลายของอวัยวะสืบพันธุ์ชายออกไป โดยมีจุดประสงค์เพื่อการรักษาความสะอาดที่ง่ายขึ้น หรือ การผ่าตัดเพื่อผู้ที่มีหนังหุ้มหนาเกินไปจนไม่สามารถเปิดออกเองได้ และเกิดความเจ็บปวดเวลาอวัยวะเพศแข็งตัว การขริบหนังปลายอวัยวะเพศ เป็นสิ่งที่ทำมาเป็นพัน ๆ ปีแล้ว ในหลายกลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มชาวยิวและมุสลิม เมื่อประมาณหลายสิบปีก่อนหน้านี้ ในสหรัฐอเมริกาจะมีการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะในทารกแรกเกิดเป็นส่วนใหญ่ ในปัจจุบันมีการถกเถียงว่าการขริบสามารถลดการติดเชื้อเอดส์และมะเร็งได้จริงหรือไม่ และคุ้มค่าหรือไม่กับการสูญเสียความรู้สึกทางเพศ โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับวิธีป้องกันอื่น ๆ ที่มีอยู่ รวมถึงเรื่องการละเมิดสิทธิเด็ก.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและการขริบหนังหุ้มปลาย · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฝรั่งเศส

การปฏิวัติฝรั่งเศส (Révolution française) ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและการปฏิวัติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอเมริกา

รัฐแรกทั้ง 13 รัฐ การปฏิวัติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิอังกฤษของประชาชนชาวอเมริกา จึงได้มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ้นในเวลาต่อมาหลังจากได้รับชัยชนะในการปฏิวัติในครั้งนี้.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและการปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789

ีเปิดสมัยการประชุมสภาฐานันดร ณ พระราชวังแวร์ซาย กรุงปารีส 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789 การประชุมสภาฐานันดร..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและการประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789 · ดูเพิ่มเติม »

การเสด็จสู่วาแรน

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส, พระชายา และพระราชโอรส-ธิดา ขณะฉลองพระองค์ปลอมเป็นกระฎุมพี ถูกจับกุม ณ เมืองวาแรน การเสด็จสู่วาแรน (Fuite à Varennes; เกิดขึ้นในคืนวันที่ 20 ย่างเช้าวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1791) คือเหตุการณ์สำคัญในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เป็นเหตุการณ์ซึ่งพระเจ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส, พระราชินีมารี อ็องตัวแน็ต และพระบรมวงศานุวงศ์ใกล้ชิด ทรงล้มเหลวในความพยายามเสด็จหนีออกจากปารีสเพื่อที่จะทรงริเริ่มการปฏิวัติต่อต้าน จุดหมายปลายทางคือออสเตรียที่ซึ่งพระนางมารี อ็องตัวแน็ตประสูติและเจริญพระชันษามา อีกทั้งยังทรงตระหนักดีว่าจะทรงปลอดภัยจากข้อตกลงระหว่างฝรั่งเศสและออสเตรียที่เพิ่งค้นพบใหม่ แต่ก็ทรงล้มเหลวเมื่อเสด็จไปได้ไกลเพียงเมืองวาแรน เหตุการณ์นี้นับเป็นจุดพลิกผันของการปฏิวัติเนื่องจากทำให้การต่อต้านระบอบกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสในฐานะสถาบันและการต่อต้านองค์กษัตริย์และพระราชินีในฐานะปัจเจกบุคคลมีความเด่นชัดเพิ่มมากขึ้น ความพยายามครั้งนี้ทำให้พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงถูกตั้งข้อกล่าวหาการกบฏจนในท้ายที่สุดนำไปสู่การสำเร็จโทษในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและการเสด็จสู่วาแรน · ดูเพิ่มเติม »

กิโยตีน

กีโยตีนในอังกฤษ โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง ผู้เสนอให้ประหารชีวิตโดยการตัดคอ แต่ตัวเขาไม่ใช่ผู้ประดิษฐ์กิโยตีน กิโยตีน (guillotine) เป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์การประหารชีวิตของฝรั่งเศส ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูปสี่เหลี่ยมคางหมู น้ำหนักประมาณ 40 กก.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและกิโยตีน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี (Basilique Saint-Denis) เดิมเป็นแอบบีย์ชื่อ อารามแซ็ง-เดอนี ที่ตั้งอยู่ที่แซ็ง-เดอนีที่ปัจจุบันอยู่ทางเหนือของปารีส ต่อมาถูกยกสถานะขึ้นเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแซ็ง-เดอนีในปี ค.ศ. 1966 มหาวิหารแซ็ง-เดอนีมีความสำคัญทั้งทางสถาปัตยกรรมและทางประวัติศาสตร์ต่อประเทศฝรั่งเศส มหาวิหารแซ็ง-เดอนีก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยพระเจ้าดาโกแบร์ที่ 1 บนที่ตั้งของที่ฝังศพของนักบุญเดนิสผู้เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ประเทศฝรั่งเศสองค์หนึ่งในสามองค์ มหาวิหารกลายเป็นสถานที่สำหรับการแสวงบุญและใช้เป็นที่บรรจุพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสเกือบทุกพระองค์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และบางพระองค์จากก่อนหน้านั้น (แต่ไม่ใช่สถานที่สำหรับพระราชพิธีราชาภิเษกที่ทำกันที่มหาวิหารแร็งส์ แต่พระราชพิธีราชาภิเษกพระราชินีมักทำกันที่นี่) มหาวิหารจึงกลายเป็นสิ่งก่อสร้างกลุ่มที่ซับซ้อน ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อธิการซูว์เฌสร้างบางส่วนของมหาวิหารใหม่โดยใช้วิธีการก่อสร้างที่ล้ำสมัยสำหรับยุคนั้น และใช้การตกแต่งที่นำมาจากสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ การก่อสร้างครั้งนี้ถือกันว่าเป็นก่อสร้างสิ่งก่อสร้างตามสถาปัตยกรรมกอทิกที่แท้จริงเป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมหาวิหารก็ยังเป็นตัวอย่างของสถาปัตยกรรมแรยอน็อง และกลายมาเป็นแบบการก่อสร้างของมหาวิหารและแอบบีย์อื่น ๆ ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส อังกฤษ และประเทศอื่น ๆ ต่อม.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและมหาวิหารแซ็ง-เดอนี · ดูเพิ่มเติม »

มารี อ็องตัวแน็ต

มารี อ็องตัวแน็ต (Marie Antoinette) หรือนามประสูติคือ อาร์ชดัชเชสมาเรีย อันโทเนีย โยเซฟา โยอันนา (Maria Antonia Josepha Johanna) เป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์ฝรั่งเศสและขึ้นเป็นพระราชินีแห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ (แคว้นบาสก์ในปัจจุบัน) พระนางถูกประหารด้วยกิโยตีนระหว่างการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและมารี อ็องตัวแน็ต · ดูเพิ่มเติม »

มารี เลชชินสกา สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

สมเด็จพระราชินีมารี เลชชินสกาแห่งฝรั่งเศส (Marie Leszczyńska) เป็นพระมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส และเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส พระนางเป็นพระราชธิดาในพระเจ้าสตานิสลอว์ที่ 1 และแคทเธอรีน โอปาลินสกา พระนางได้รับการยกย่องว่าเป็นพระราชินีที่ครองตำแหน่งนานที่สุดของฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2246 หมวดหมู่:ราชินีแห่งฝรั่งเศส หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและมารี เลชชินสกา สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

มารี-เตแรซแห่งฝรั่งเศส

เจ้าหญิงมารี-เตแรซแห่งฝรั่งเศส (Marie-Thérèse de France) เป็นพระชายาในเจ้าชายหลุยส์ อ็องตวน ดยุกแห่งอ็องกูแลม เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี อ็องตัวแน็ต ได้เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศสหลังจากที่พระเจ้าชาร์ลที่ 10 แห่งฝรั่งเศสสละราชสมบัติ เจ้าชายหลุยส์ อ็องตวน ดยุกแห่งอ็องกูแลม พระสวามีของพระองค์จึงได้ครองราชย์และเพียง 20 นาที ต่อมาพระองค์ก็ลงพระนามสละราชสมบัติ เป็นอันสิ้นสุดตำแหน่ง ชีวิตในวัยเยาว์ของพระองค์ได้รับการเอาใจใส่อย่างดีและเข้มงวดจากพระมารดา (ในขณะที่พระบิดาคือพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ค่อนข้างปล่อยปละละเลย) พระนางมารี อ็องตัวแน็ตได้ทรงพร่ำสอนมิให้พระองค์เป็นคนเย่อหยิ่งแบบพระปิตุจฉาของพระสวามีของพระองค์ พระนางจึงได้ทำการเชิญเหล่าเด็กสามัญชนให้เข้ามาร่วมในงานเลี้ยงอาหารเย็นร่วมกับพระองค์ และสอนให้พระองค์ในวัยเยาว์รู้จักแบ่งของเล่นแก่เด็กยากจน และยังคอยสอนให้รู้จักเห็นอกเห็นใจ รับรู้ความทุกข์ยากของผู้อื่น (ซึ่งขัดแย้งกับภาพลักษณ์ที่สังคมส่วนใหญ่มองพระมารดาของพระองค์) หมวดหมู่:ราชินีแห่งฝรั่งเศส หมวดหมู่:ราชวงศ์บูร์บง.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและมารี-เตแรซแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ยิบรอลตาร์

รอลตาร์ (Gibraltar) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ใกล้กับจุดใต้สุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ในบริเวณช่องแคบยิบรอลตาร์ มีเนื้อที่โดยรวมประมาณ 6.5 ตารางกิโลเมตร ทางทิศเหนือมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสเปน และมีประชากรประมาณ 32,000 คน สถานที่ที่มีชื่อเสียงของยิบรอลตาร์คือ โขดหินยิบรอลตาร์ (Rock of Gibraltar) ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญทางธรณีวิทยาแห่งหนึ่งของโลก เดิมทียิบรอลตาร์เคยเป็นดินแดนหนึ่งของราชอาณาจักรสเปน จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและยิบรอลตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยิว

ว อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและยิว · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเรืองปัญญา

ฌ็อง-ฌัก รูโซ บุคคลสำคัญจากยุคเรืองปัญญา ยุคเรืองปัญญา (Age of Enlightenment; Siècle des Lumières) คือการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของเหล่าปัญญาชนในยุโรปและอาณานิคมบนทวีปอเมริกาช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป้าหมายเพื่อปฏิรูปสังคมและส่งเสริมการใช้หลักเหตุผลมากกว่าการใช้หลักจารีต, ความเชื่อ และการเปิดเผยจากพระเจ้า รวมไปถึงส่งเสริมความรู้ทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง การเคลื่อนไหวยังสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้หรือการใช้ปัญญา ต่อต้านความเชื่อทางไสยศาสตร์, โมหาคติ และการชักนำให้ผิดเพี้ยนจากคริสตจักรและรัฐบาล ยุคเรืองปัญญาเริ่มตั้นขึ้นในช่วงประมาณปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและยุคเรืองปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

ระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัล

งานสิบสองเดือนของเกษตรกร (คริสต์ศตวรรษที่ 15) ระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัล (manorialism, seigneurialism) คือระบบเศรษฐกิจและสังคมที่นิยมปฏิบัติกันโดยทั่วไปในยุคกลางในยุโรปตะวันตกและยุโรปกลาง ระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัลเป็นระบบที่ผู้เป็นเจ้าของที่ดินหรือลอร์ดมีอำนาจทางเศรษฐกิจและทางกฎหมายที่สนับสนุนโดยรายได้ที่ได้มาจากผลผลิตของที่ดินที่เป็นเจ้าของ และจากค่าธรรมเนียมของเกษตรกรผู้ที่อยู่ภายใต้การปกครองตามกฎหมาย ค่าธรรมเนียมอาจจะเป็นในรูปของ: ระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัลเป็นคำที่เกี่ยวข้องกับยุคกลางของยุโรปตะวันตก ที่มีวิวัฒนาการมาจากระบบเศรษฐกิจชนบทของปลายสมัยจักรวรรดิโรมัน เมื่อจำนวนประชากรลดลง ชนชั้นแรงงานกลายเป็นปัจจัยสำคัญของเศรษฐกิจ ในที่สุดก็จัดเป็นระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัลหรือระบบเจ้า-ข้า ซึ่งเจ้าในที่นี้ไม่จำเป็นต้องเป็นฆราวาสเสมอไป แต่อาจจะเป็นสังฆราชหรือเจ้าอาวาสที่มีหน้าที่รับผิดชอบเช่นเดียวกับเจ้าของที่ดิน.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัล · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบเก่า

ระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ในฐานะ “พระสุริยเทพ” ระบอบเก่า หรือ อองเซียงเรฌีม (Ancien Régime) โดยทั่วไปหมายถึงระบบแบบราชาธิปไตย อภิชนาธิปไตย สังคม และการเมืองที่ใช้ในฝรั่งเศสภายใต้ราชวงศ์วาลัวและราชวงศ์บูร์บงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึง 18 โครงสร้างทางการบริหารและทางการสังคมของระบอบเก่าเป็นผลมาจากระบบการบริหารของสถาบันพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสในสมัยกลางที่สิ้นสุดในการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ. 1789 ระบอบเก่าของประเทศอื่น ๆ ในยุโรปก็มีประวัติความเป็นมาคล้ายคลึงกัน แต่มีผลบั้นปลายที่แตกต่างกันบางประเทศก็สิ้นสุดลงด้วยระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางประเทศก็แตกแยกออกไปจากสงครามและการปฏิวัติ อำนาจระบอบเก่าอยู่บนพื้นฐานสามประการ ได้แก่ พระมหากษัตริย์ นักบวช และชนชั้นขุนนาง ฐานันดรแห่งราชอาณาจักร (Estates of the realm) ก็แบ่งออกเป็นสามเช่นกัน คือ ฐานันดรที่หนึ่ง (First Estate) คือนักบวชโรมันคาทอลิก, ฐานันดรที่สอง (Second Estate) คือชนชั้นขุนนาง และ ฐานันดรที่สาม (Third Estate) คือสามัญชน โดยทั่วไปแล้วระบอบเก่าหมายถึงระบอบการปกครองใดใดที่มีลักษณะตามที่กล่าวแล้ว ระบอบเก่ารักษาลักษณะหลายประการของระบบเจ้าขุนมูลนายที่ปฏิบัติกันมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 8 โดยเฉพาะในการใช้อภิสิทธิ์ของขุนนางและชนชั้นเจ้านายที่สนับสนุนโดยปรัชญาเทวสิทธิราชย์ ความแตกต่างอยู่ตรงที่อำนาจการปกครองที่เคยเป็นของเจ้าครองนครต่างๆ มาก่อนกลายเป็นอำนาจของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่เพิ่มมากขึ้น วลีนี้ใช้มาตั้งแต่ยุคเรืองปัญญา (พบในเอกสารครั้งแรกในภาษาอังกฤษในปี ค.ศ. 1794) ในความหมายในทางลบ เช่นเดียวกับการใช้คำว่า ยุคมืด ที่กลายมาเรียกกันว่า สมัยกลาง แนวคิดของการใช้คำว่าระบอบเก่าเป็นการแฝงความหมายเป็นนัยยะว่าเป็นระบอบที่ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติ และควรจะเปลี่ยนแปลงไปเป็น ระบอบใหม่ (New Order) คำว่า ระบอบเก่า คิดขึ้นโดยนักปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อเผยแพร่สร้างความเชื่อถือในเหตุผลของการปฏิวัติและทำลายชื่อเสียงของระบอบการปกครองที่เป็นอยู่ ซึ่งเป็นการใช้ในทางที่มีอคติในการบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ สำหรับนักประพันธ์บางคนคำนี้เป็นคำที่ทำให้เกิดความรำลึกถึงเหตุการณ์บางอย่าง เช่นที่ตาล์ลีย์รองด์ (Talleyrand) กล่าวว่า: ภาษาสเปนใช้คำว่า “Antiguo Régimen” แต่แม้ว่าสเปนจะได้รับผลกระทบกระเทือนจากการปฏิวัติฝรั่งเศสและผลที่ตามต่อมาแต่ความเปลี่ยนแปลงในสเปนไม่รุนแรงเท่ากับการเปลี่ยนแปลงในฝรั่ง.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและระบอบเก่า · ดูเพิ่มเติม »

รัฐผู้คัดเลือกซัคเซิน

รัฐผู้คัดเลือกซัคเซิน (Kurfürstentum Sachsen) หรือบางครั้งรู้จักกันในชื่อ โอเบอร์ซัคเซิน (Obersachsen) เป็นรัฐหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ รัฐผู้คัดเลือกซัคเซินเกิดจากการล่มสลายลงของดัชชีซัคเซินในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและรัฐผู้คัดเลือกซัคเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บูร์บง

ราชวงศ์บูร์บง (ฝรั่งเศส: Maison de Bourbon; สเปน: Casa de Borbón; อังกฤษ: House of Bourbon) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา และเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 สมาชิกในราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศสเปน เมืองเนเปิลส์ เกาะซิซิลี และเมืองปาร์มาในประเทศอิตาลีด้วย ในปัจจุบันประเทศที่ยังคงมีสมาชิกในราชวงศ์บูร์บงปกครองอยู่คือราชอาณาจักรสเปนและราชรัฐลักเซมเบิร์ก กษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บงเริ่มการปกครองครั้งแรกในปี พ.ศ. 2098 (ค.ศ. 1555) ที่เมืองนาวาร์ (ตอนเหนือของประเทศสเปนและทางใต้ของประเทศฝรั่งเศส) และพอมาถึงปี พ.ศ. 2132 (ค.ศ. 1589) ราชวงศ์บูร์บงก็ได้ปกครองประเทศฝรั่งเศสทั้งประเทศ จนมาถึงสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2335 (ค.ศ. 1792) เมื่อครั้งการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงแม้จะมีการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่อีกครั้ง แต่ก็ดำรงอยู่ได้เพียง 24 ปี ก็ได้มีการล้มล้างระบอบกษัตริย์ลง พระเจ้าเฟลีเปที่ 5 แห่งสเปนทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์บูร์บงที่ได้ปกครองประเทศสเปน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2243 (ค.ศ. 1700) ได้มีการโค่นล้ม แก่งแย่ง และฟื้นฟูใหม่อยู่ตลอดเวลา จนมาถึงปัจจุบันซึ่งมีสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนทรงเป็นประมุขแห่งประเทศสเปนอยู่ ส่วนทางประเทศลักเซมเบิร์กนั้น ได้มีการอภิเษกสมรสระหว่างราชวงศ์ จึงนับได้ว่าทางฝ่ายราชสำนักลักเซมเบิร์กนั้นก็มีเชื้อสายราชวงศ์นี้เช่นกัน.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและราชวงศ์บูร์บง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์กาเปเซียง

ราชวงศ์กาเปเซียง (Capétiens) หรือ ราชวงศ์คะพีเชียน (Capetians) คือ ราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรฝรั่งเศสในสมัยกลาง มีพระเจ้าอูก กาแป (Hugh Capet) แห่งฝรั่งเศส เป็นต้นพระราชวงศ์ ปัจจุบันราชวงศ์กาเปเซียงที่ยังคงมีพระชนม์ชีพและถือพระราชสมบัติอยู่ คือ กษัตริย์แห่งสเปนและแกรนด์ดุ๊กแห่งลักเซมเบิร์กผ่านทางราชวงศ์บูร์บง คำว่า "คาพีเชียน" มาจากพระนามพระเจ้าอูก กาแป ทั้งที่ "กาแป" มิได้เป็นนามสกุลแต่เป็นฉายานาม แต่กษัตริย์ฝรั่งเศสก็ทรงใช้ "กาแป" เป็นพระนามของพระราชสกุล เช่นเมื่อ พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ทรงถูกประหารด้วยกิโยตีนใน ค.ศ. 1793 การปกครองปฏิวัติในสมัยนั้นบันทึกในมรณบัตรว่า "หลุยส์ กาแป" บรรพบุรุษของราชวงศ์กาเปเซียง คือ ตระกูลรอแบร์ (Robertian) ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นเคานต์แห่งปารีสในอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ปัจจุบันคือฝรั่งเศส ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 และ 10 ตระกูลรอแบร์อภิเษกกับราชวงศ์คาโรลินเจียน (Carolingian dynasty) ราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตกขณะนั้น ทำให้ตระกูลรอแบร์บางคนได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ด้วย แต่ใน ค.ศ. 987 ราชวงศ์กาโรแล็งเชียงสิ้นสุดลงในอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก อูก กาแป เคานต์แห่งปารีสที่สืบเชื้อสายจากตระกูลรอแบร์นั้น ได้ขึ้นครองราชย์เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์กาเปเซียง ราชวงศ์กาเปเซียงในสายตรงฝรั่งเศสสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1328 ด้วยการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าชาร์ลที่ 4 ที่ทรงไร้ทายาท แต่ ราชวงศ์วาลัว (Valois dynasty) และราชวงศ์บูร์บง (Bourbon dynasty) อันเป็นสาขาย่อยของราชวงศ์กาเปเซียงยังคงปกครองฝรั่งเศสต่อไป.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและราชวงศ์กาเปเซียง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ. 1707 จนถึง ค.ศ. 1801 เกิดจากการรวมกันของราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์ ภายใต้พระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1707 (พ.ศ. 2250) ก่อนหน้านี้ราชอาณาจักรทั้งสองได้มีพระประมุขพระองค์เดียวกัน ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ขึ้นครองราชย์เป็นประมุขของอังกฤษในค.ศ. 1631 สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เข้าแทนที่ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ในปีค.ศ. 1801 หลังจากราชอาณาจักรไอร์แลนด์เข้าร่วมในพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ. 1800.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส (Royaume de France) คือประเทศฝรั่งเศสในสมัยกลางและต้นสมัยใหม่ ก่อนที่จะเปลี่ยนการปกครองมาเป็นแบบสาธารณรัฐดังปัจจุบัน ถือเป็นรัฐที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป เป็นประเทศมหาอำนาจตั้งแต่ปลายสมัยกลางและสงครามร้อยปี และกลายเป็นจักรวรรดิที่แผ่ขยายอาณานิคมไปทั่วโลกแม้แต่ในทวีปอเมริกาเหนือ ราชอาณาจักรฝรั่งเศสมีต้นกำเนิดมาจากราชอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก ซึ่งเป็นรัฐด้านตะวันตกของจักรวรรดิการอแล็งเฌียงตามสนธิสัญญาแวร์เดิง และอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์การอแล็งเฌียงจนถึงปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและราชอาณาจักรฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส

ระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส (Monarques de France) ทรงปกครองดินแดนฝรั่งเศสมาตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรแฟรงก์ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและรายพระนามพระมหากษัตริย์และจักรพรรดิฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคาลวิน

ลัทธิคาลวิน (Calvinism) ขนบปฏิรูป (Reformed tradition) หรือ เทววิทยาปฏิรูป เป็นเทววิทยาศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ที่ถือแนวคำสอนและการปฏิบัติตามการตีความของฌ็อง กาลแว็ง และนักเทววิทยาอื่น ๆ ช่วงการปฏิรูปศาสนา ลัทธิคาลวินแตกหักกับคริสตจักรโรมันคาทอลิก จึงนับเป็นฝ่ายโปรเตสแตนต์ แต่ก็ต่างจากโปรเตสแตนต์สายอื่น ๆ เช่น ลูเทอแรน ในประเด็นต่าง ๆ เช่น พระเยซูในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ หลักบังคับในการนมัสการ การบังคับใช้กฎของพระเจ้ากับคริสตชน การเรียกเทววิทยาสายนี้ว่า "ลัทธิคาลวิน" ค่อนข้างคลาดเคลื่อน เพราะในความเป็นจริง เป็นเทววิทยาที่มีแนวคิดหลากหลาย ไม่ได้จำกัดเฉพาะกับฌ็อง กาลแว็งผู้ก่อตั้งเพียงคนเดียว นักเทววิทยากลุ่มนี้ถูกฝ่ายลูเทอแรนเรียกว่า "ลัทธิคาลวิน" แต่ในภายในสายมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป มากกว่า นับแต่มีการโต้แย้งอาร์มิเนียน ฝ่ายปฏิรูปก็แบ่งออกเป็นสองสาย คือ สายคาลวิน และ สายอาร์มิเนียน แต่ปัจจุบันมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป ในเชิงไวพจน์กับลัทธิคาลวินมากกว่า นักเทววิทยาสายปฏิรูปที่มีบทบาทสำคัญในยุคต้น ๆ ได้แก่ ฌ็อง กาลแว็ง มาร์ทิน บูเคอร์ ไฮน์ริช บุลลิงเงอร์ และปีเอโตร มาร์ตีเร แวร์มิกลี จุดเด่นของลัทธิคาลวินมีอยู่ 5 ประเด็น ที่เป็นที่รู้จักที่สุดคือความเชื่อเรื่องเทวลิขิตและมนุษย์เสื่อมทรามโดยสิ้นเชิง ประเด็น 5 ข้อของลัทธิคาลวิน (5 Points of Calvinism; TULIP) ได้แก.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและลัทธิคาลวิน · ดูเพิ่มเติม »

ลามงตาญ

ลามงตาญ (La Montagne) เป็นกลุ่มก้อนทางการเมืองในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส เป็นฝ่ายที่มีอิทธิพลสูงในสมัชชานิติบัญญัติฝรั่งเศส ลามงตาญถือเป็นส่วนหนึ่งของสโมสรฌากอแบ็ง​ (Jacobin) ลามงตาญประกอบด้วยสมาชิกหัวรุนแรงของฌากอแบ็งซึ่งสนับสนุนกระแสการปฏิวัติและสนับสนุนการถอนรากถอนโคนระบอบกษัตริย์ จึงทำให้ลามงตาญขัดแย้งกับบรรดาฌีรงแด็ง (Girondin) ที่คัดค้านกระแสการปฏิวัติและเห็นว่าควรใช้กษัตริย์เป็นหุ่นเชิดJeremy D. Popkin, A Short History of the French Revolution, 5th ed.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและลามงตาญ · ดูเพิ่มเติม »

วัณโรค

วัณโรค (Tuberculosis) หรือ MTB หรือ TB (ย่อจาก tubercle bacillus) เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วยในหลายกรณี ที่เกิดจากไมโคแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ ตามปกติคือ Mycobacterium tuberculosis วัณโรคโดยปกติก่อให้เกิดอาการป่วยที่ปอด แต่ยังสามารถส่งผลกระทบต่อส่วนอื่นของร่างกายได้ วัณโรคแพร่ผ่านอากาศเมื่อผู้ที่มีการติดเชื้อ MTB มีฤทธิ์ไอ จาม หรือส่งผ่านน้ำลายผ่านอากาศ การติดเชื้อในมนุษย์ส่วนมากส่งผลให้เกิดไร้อาการโรค การติดเชื้อแฝง และราวหนึ่งในสิบของการติดเชื้อแฝงท้ายที่สุดพัฒนาไปเป็นโรคมีฤทธิ์ ซึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา ทำให้ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตมากกว่า 50% อาการตรงต้นแบบมีไอเรื้อรังร่วมกับเสมหะมีเลือดปน ไข้ เหงื่อออกกลางคืน และน้ำหนักลด การติดเชื้อในอวัยวะอื่นก่อให้เกิดอาการอีกมากมาย การวินิจฉัยต้องอาศัยรังสีวิทยา (โดยมากคือ การเอ็กซ์เรย์อก) การทดสอบโรคบนผิวหนัง การตรวจเลือด เช่นเดียวกับการตรวจโดยทางกล้องจุลทรรศน์และการเพาะเชื้อจุลชีววิทยาต่อของเหลวในร่างกาย การรักษานั้นยากและต้องอาศัยการปฏิชีวนะยาวหลายคอร์ส คาดกันว่าหนึ่งในสามของประชากรโลกติดเชื้อ M. tuberculosis และมีการติดเชื้อใหม่เกิดขึ้นในอัตราหนึ่งคนต่อวินาที ใน..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและวัณโรค · ดูเพิ่มเติม »

สภากงว็องซียงแห่งชาติ

สภากงว็องซียงแห่งชาติ (Convention nationale) คือคณะการปกครองประเทศฝรั่งเศสในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส โดยเริ่มทำการปกครองตั้งแต่ 20 กันยายน ค.ศ. 1792 - 26 ตุลาคม ค.ศ. 1795 โดยทำหน้าที่บริหารประเทศและควบคุมอำนาจบริหารในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ถึงช่วงสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 โดยสมาชิกที่มีชื่อเสียงจากสมัชชาแห่งนี้ได้แก่ มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์, ฌ็อง-ปอล มารา, ฌอร์ฌ ด็องตง เป็นต้น โดยในภายหลังทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการความปลอดภัยส่วนรวม หมวดหมู่:การปฏิวัติฝรั่งเศส.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสภากงว็องซียงแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สภาฐานันดร (ประเทศฝรั่งเศส)

นันดร (Etats Généraux; States-General/Estates-General) เป็นสภานิติบัญญัติในระบอบเก่าของราชอาณาจักรฝรั่งเศส ประกอบด้วยสามฐานันดรแห่งราชอาณาจักร (Three Estates of the Realm) คือ นักบวช (those who pray) ชนชั้นขุนนาง (those who fight) และสามัญชน (those who work) แต่ละฐานันดรมีการประชุมแยกกัน แต่เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการเรียกประชุมและยุบสภาฐานันดร กับทั้งสภาฐานันดรไม่มีอำนาจให้ความเห็นชอบพระราชโองการเกี่ยวกับภาษีอากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งไม่มีอำนาจนิติบัญญัติเลย เพียงตั้งขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือของพระมหากษัตริย์เท่านั้น สภาฐานันดรจึงไม่มีอำนาจเป็นของตนอย่างแท้จริง เป็นข้อต่างจากรัฐสภาแห่งอังกฤษ สภาฐานันดรแห่งฝรั่งเศสเทียบได้กับสถาบันอื่น ๆ ในยุโรป เช่น สภาฐานันดรแห่งเนเธอร์แลนด์ รัฐสภาแห่งอังกฤษ สภาฐานันดรแห่งสกอตแลนด์ สภาฐานันดรแห่งสเปน สภานิติบัญญัติแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และสภานิติบัญญัติประจำรัฐในประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสภาฐานันดร (ประเทศฝรั่งเศส) · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871–1918) มีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ตามต้องการ แม้จะมีผลเท่ากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่โดยทางเทคนิคที่เป็นไปได้แล้ว นี่คือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) เนื่องจากการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายพื้นฐานของประเทศ ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ ซาอุดีอาระเบีย บรูไน โอมาน สวาซิแลนด์ กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง นครรัฐวาติกัน ด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยใหม่

กาลิเลโอ กาลิเลอี บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ สมัยใหม่ เป็นช่วงเวลาหนึ่งของอารยธรรมต่างๆ ซึ่งในช่วงนี้ อารยธรรมนั้น ๆ จะเริ่มมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เริ่มมีแนวคิดที่ยึดหลักความจริง หลุดพ้นจากความเชื่องมงายหลายอย่างในอดีต นักวิชาการได้กำหนดช่วงเวลาที่เป็น "สมัยใหม่" ของสากลโลกไว้ให้เป็นช่วง ค.ศ. 1453-ค.ศ. 1945 โดยเริ่มนับจากการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์และสิ้นสุดลงหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ นับตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายเป็นต้นมา ผู้คนเริ่มสงสัยในความเชื่อและเนื้อหาตำราเรียนแบบเก่า ๆ ที่เชื่อกันมายาวนาน และไม่นาน ความเชื่อเก่าๆ และอำนาจการปกครองที่เด็ดขาดของศาสนจักรเริ่มเสื่อมถอยลง ผู้คนเริ่มคิดได้ว่ามนุษย์สามารถลิขิตชีวิตของตนได้ด้วยการกระทำของตนเอง จึงเริ่มดิ้นรนเพื่อชีวิตที่ดีกว่า และมีการคิดค้นทฤษฎี สิ่งประดิษฐ์ รวมไปถึงศิลปะขึ้นมากมาย ทำให้เข้าสู่สมัยใหม่ในที่สุด ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เป็นช่วงเวลาหนึ่งที่อยู่ในช่วงปลายสมัยกลางถึงต้นสมัยใหม่ ซึ่งการเริ่มต้นของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในช่วงปลายสมัยกลาง เป็นปัจจัยสำคัญที่ชักนำโลกเข้าสู่สมัยใหม่ คือ วิทยาการต่างๆ จากโรมัน เริ่มถูกฟื้นฟูขึ้นมาและแผ่กระจายไปในแถบยุโรป เทคโนโลยีถูกพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จนในช่วงปลายของสมัยใหม่ วิทยาการถูกใช้ไปในทางการเข่นฆ่ากันเองของมนุษย์ เกิดสงครามโลก สังหารผู้คนไปหลายสิบล้านคน จนในที่สุดก็มีการตระหนักถึงการใช้วิทยาการอย่างถูกทาง และมีการควบคุมเทคโนโลยีที่อาจก่ออันตราย แต่ในขณะเดียวกันก็มีการพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สมัยใหม่สิ้นสุดลง และเข้าสู่ สมัยปัจจุบัน ตั้งแต่ ค.ศ. 1945 เป็นต้นมา หมวดหมู่:ยุคสมัยในประวัติศาสตร์.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสมัยใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1

ณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 (Première République) สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1792 โดยสภากงว็องซียงแห่งชาติ หลังจากการล่มสลายของราชอาณาจักรฝรั่งเศส ซึ่งในยุคนี้มีการเข่นฆ่าชีวิตผู้คนมากมายตามคำสั่งของมักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์ ประธานสภากงว็องซียงแห่งชาติ จึงทำให้ผู้คนเรียกยุคสมัยนั้นว่า สมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ก่อนที่รอแบ็สปีแยร์จะถูกประหารด้วยกิโยตีน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1794 และในที่สุดสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 ก็ล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1804 จากการขึ้นครองราชย์ของนโปเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐนิยม

สาธารณรัฐนิยม (ภาษาอังกฤษ: Republicanism) เป็นคตินิยมของการเป็นพลเมืองในรัฐที่ปกครองแบบสาธารณรัฐ ซึ่งอำนาจอธิปไตยถือว่า เป็นอำนาจอธิปไตยของปวงชน (popular sovereignty) ประเทศบางประเทศเป็นสาธารณรัฐในแง่ที่ว่า รัฐเหล่านั้นไม่ได้มีระบอบการปกครองโดยกษัตริย์ แต่ว่าไม่ได้ยึดเอาอุดมคติของสาธารณรัฐนิยมเป็นฐาน คำว่า "สาธารณรัฐ" มีที่มาจากคำลาตินว่า res publica ซึ่งอ้างอิงถึงรูปแบบของการปกครองที่ถือกำเนิดขึ้นในราว ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตศักราช หลังจากการขับไล่กษัตริย์ของกรุงโรม โดย ลูเชียส จูนิอัส บรูตัส และ คอลลาตินัส รูปแบบการปกครองนี้ล่มสลายลงในช่วงท้ายของ ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตศักราช โดยเปลี่ยนเป็นการปกครองแบบมีกษัตริย์ในเชิงรูปแบบ การปกครองแบบสาธารณรัฐถูกฟื้นฟูกลับมาอีกครั้ง ในสมัยการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการฟลอเรนซ์ คตินิยมแบบสาธารณรัฐนิยมมีบทบาทอย่างมากในการปฏิวัติอเมริกา ส่วนในยุโรปแนวคิดนี้ได้เพิ่มอิทธิพลอย่างมากหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:ปรัชญาการเมือง หมวดหมู่:อุดมการณ์ทางการเมือง.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสาธารณรัฐนิยม · ดูเพิ่มเติม »

สิบสามอาณานิคม

มอาณานิคม (Thirteen Colonies) เป็นอาณานิคมของอังกฤษฝั่งแอตแลนติกในทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมบริติชอเมริกา ก่อตั้งระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสิบสามอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามปฏิวัติอเมริกา

งครามปฏิวัติอเมริกา (American Revolutionary War; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา (American War of Independence) หรือสงครามปฏิวัติในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างบริเตนใหญ่และสิบสามอาณานิคมอเมริกาเหนือซึ่งหลังสงครามเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็นสหรัฐอเมริกา สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของแพทริอัต (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขาทำลายการส่งสินค้าชาในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดยซัฟฟอล์กรีซอฟส์ (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้งสภาภาคพื้นทวีปเพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้งจอร์จ วอชิงตันให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับการทัพบอสตัน ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1774 สภาลงมติสนับสนุนเอกราชอย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม เซอร์วิลเลียม ฮาว (William Howe) เริ่มการตีโต้ตอบซึ่งมุ่งยึดนครนิวยอร์กคืน ฮาวชนะวอชิงตันด้วยอุบาย ทำให้ความมั่นใจของฝ่ายอเมริกาแตะจุดต่ำสุด วอชิงตันสามารถยึดกองทัพเฮชชัน (Hessian) ได้ที่เทรนตัน และขับบริเตนออกจากนิวเจอร์ซีย์ ฟื้นความมั่นใจของฝ่ายอเมริกา ในปี 1777 บริเตนส่งกองทัพใหม่โดยมีจอห์น เบอร์กอยน์ (John Burgoyne) เป็นผู้บังคับบัญชาให้ยกลงใต้จากแคนาดาและแยกอาณานิคมนิวอิงแลนด์ ทว่า ฮาวไม่สนับสนุนเบอร์กอยน์ แต่นำกองทัพของเขาในอีกการทัพหนึ่งต่อกรุงฟิลาเดลเฟีย เมืองหลวงฝ่ายปฏิวัติ เบอร์กอยน์หมดกำลังบำรุง ถูกล้อมและยอมจำนนในเดือนตุลาคม 1777 ความปราชัยของบริเตนที่ซาราโทกา (Saratoga) มีผลใหญ่หลวง ฝรั่งเศสและสเปนได้จัดหาอาวุธ เครื่องกระสุนและกำลังบำรุงอื่นให้ชาวอาณานิคมอย่างลับ ๆ ตั้งแต่เดือนเมษายน 1776 บัดนี้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเป็นทางการในปี 1778 โดยลงนามพันธมิตรทางทหารซึ่งรับรองเอกราชของสหรัฐ บริเตนตัดสินใจยอมเสียอาณานิคมทางเหนือ และกู้อดีตอาณานิคมทางใต้ กำลังบริเตนโดยมีชาลส์ คอร์นวอลลิส (Charles Cornwallis) เป็นผู้บังคับบัญชายึดจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนา ยึดกองทัพอเมริกาได้ที่ชาลส์ตัน เซาท์แคโรไลนา ยุทธศาสตร์นี้อาศัยการก่อการกำเริบของลอยัลลิสต์ (Loyalist) ติดอาวุธจำนวนมาก แต่มีผู้มาเข้าร่วมน้อยเกินไป ในปี 1779 สเปนเข้าร่วมสงครามเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสภายใต้สนธิสัญญาตระกูล (Pacte de Famille) โดยเจตนายึดยิบรอลตาร์และอาณานิคมบริติชในแคริบเบียน บริเตนประกาศสงครามต่อสาธารณรัฐดัตช์ในปี 1780 ในปี 1781 หลังปราชัยอย่างเด็ดขาดสองครั้งที่คิงส์เมาน์เทนและคาวเพนส์ คอร์นวอลลิสถอยไปเวอร์จิเนียโดยตั้งใจอพยพ ชัยทางเรืออย่างเด็ดขาดของฝรั่งเศสในเดือนกันยายนตัดทางหนีของบริเตน กองทัพร่วมฝรั่งเศส-อเมริกาโดยมีเคาต์รอช็องโบ (Count Rochambeau) และวอชิงตันเป็นผู้นำล้อมกองทัพบริติชที่ยอร์กทาวน์ เมื่อเห็นว่าไม่มีการช่วยเหลือและสถานการณ์ป้องกันไม่อยู่ คอร์นวอลลิสยอมจำนนในเดือนตุลาคม และทหารถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 คน วิกในบริเตนคัดค้านฝ่ายข้างมากทอรีนิยมสงครามในรัฐสภาอย่างยาวนาน ทว่า ความปราชัยที่ยอร์กทาวน์ทำให้วิกเป็นฝ่ายเหนือกว่า ต้นปี 1782 พวกเขาลงมติยุติปฏิบัติการบุกทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่สงครามกับฝรั่งเศสและสเปนยังดำเนินต่อ โดยบริเตนชนะทั้งสองประเทศระหว่างการล้อมใหญ่ยิบรอลตาร์ นอกเหนือจากนี้ พวกเขาชนะฝรั่งเศสทางเรือหลายครั้งทโดยที่เด็ดขาดที่สุด คือ ยุทธนาวีที่ซานต์ (Battle of the Saintes) ในแคริบเบียนปีเดียวกัน วันที่ 3 กันยายน 1783 คู่สงครามลงนามสนธิสัญญากรุงปารีสซึ่งยุติสงคราม บริเตนตกลงรับรองเอกราชของสหรัฐเหนือดินแดนโดยมีขอบเขตคร่าว ๆ อยู่ที่แคนาดาทางเหนือ ฟลอริดาทางใต้และแม่น้ำมิสซิสซิปปีทางตะวันตก แม้การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของฝรั่งเศสมีผลชี้ขาดต่อสาเหตุของเอกราชอเมริกา แต่ได้ดินแดนเพียงเล็กน้อย และมีปัญหาหนี้สินมหาศาล สเปนได้อาณานิคมฟลอริดาของบริเตนและเกาะมินอร์กา แต่ไม่สามารถชิงยิบรอลตาร์คืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก ฝ่ายดัตช์มีแต่เสีย โดยถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้บริต.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสงครามปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามประสานมิตรครั้งที่หนึ่ง

งครามประสานมิตรครั้งที่ 1 (War of the First Coalition) เป็นส่วนหนึ่งของสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสที่เกิดขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสงครามประสานมิตรครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสงครามเจ็ดปี · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1763)

นธิสัญญาปารีส หรือเรียกสนธิสัญญ..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและสนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1763) · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง

หลุยส์ ฟีลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง (Louis Philippe II, Duke of Orléans หรือ Louis Philippe Joseph d'Orléans) (13 เมษายน ค.ศ. 1747 - 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1793) หลุยส์ ฟีลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง ผู้เป็นดยุกแห่งออร์เลอ็ององค์ที่ 5 เป็นขุนนางชาวฝรั่งเศสของสายย่อยของราชวงศ์บูร์บงซึ่งเป็นราชวงศ์ที่ครองฝรั่งเศสอยู่ในขณะนั้น หลุยส์ ฟีลิปเป็นผู้สนับสนุนการปฏิวัติฝรั่งเศสอย่างขันแข็งและเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “ฟีลิป เอกาลีเต” (Philippe Égalité) แต่กระนั้นก็ยังตกเป็นเหยื่อของการถูกประหารชีวิตโดยกิโยตีนระหว่างสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ลูกชายของหลุยส์ ฟิลิปป์ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศสหลังจากการปฏิวัติเดือนกรกฎาคมในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและหลุยส์ ฟิลิปที่ 2 ดยุกแห่งออร์เลอ็อง · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก แนแกร์

ัก แนแกร์ (Jacques Necker) เป็นนายธนาคารชาวสวิสซึ่งกลายเป็นรัฐบุรุษ รัฐมนตรีคลัง และหัวหน้ารัฐบาลของฝรั่งเศสในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แนแกร์เกิดในเจนีวาในยุคที่เจนีวายังเป็นรัฐอิสระ เขาเป็นบุตรของคาร์ล ฟริดริช เน็คเคอร์ ชาวเยอรมันเชื้อสายปรัสเซีย แนแกร์เริ่มมีผลงานด้านกฎหมายระหว่างประเทศ เขาก็เป็นอาจารย์สอนวิชากฎหมายมหาชนที่เจนีวา ต่อมาในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและฌัก แนแกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌีรงแด็ง

ีรงแด็ง (Girondin) เป็นสมาชิกกลุ่มทางการเมืองแบบหลวม ๆ กลุ่มหนึ่งในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกสมัชชานิติบัญญัติและสภากงว็องซียงแห่งชาติในช่วงปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและฌีรงแด็ง · ดูเพิ่มเติม »

ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต

มารี-ฌอแซ็ฟ ปอล อีฟว์ ร็อก ฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย, มาร์กี เดอ ลา ฟาแย็ต (Marie-Joseph Paul Yves Roch Gilbert du Motier, Marquis de Lafayette; 6 กันยายน ค.ศ. 1757 – 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1834) เป็นขุนนางทหารชาวฝรั่งเศส ผู้ช่วยเหลือชาวอเมริกันทำสงครามปฏิวัติ เป็นเพื่อนสนิทของจอร์จ วอชิงตัน อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน และทอมัส เจฟเฟอร์สัน นอกจากนี้ยังมีบทบาทในการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติเดือนกรกฎาคม ลาฟาแย็ตเกิดในตระกูลขุนนางมั่งคั่งในจังหวัดโอแวร์ญ ราชอาณาจักรฝรั่งเศส และได้รับราชการทหารตามครอบครัวตั้งแต่อายุได้ 13 ปี ต่อมาได้เข้าร่วมสงครามปฏิวัติอเมริกาและได้รับยศพลตรีตั้งแต่อายุเพียง 19 ปี เมื่อได้รับบาดเจ็บในยุทธการที่แบรนดีไวน์ ลาฟาแย็ตยังสามารถจัดถอยทัพได้อย่างเป็นระเบียบ และมีผลงานในยุทธการที่โรดไอแลนด์ ในช่วงกลางสงคราม เขากลับฝรั่งเศสเพื่อขอให้รัฐบาลเพิ่มงบประมาณสนับสนุน เขากลับอเมริกาอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและฌีลแบร์ ดูว์ มอตีเย เดอ ลา ฟาแย็ต · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และแกรนด์ดยุกแห่งทัสกานี แต่ทว่าตลอดรัชสมัยของพระองค์ ผู้ที่กุมอำนาจการปกครองที่แท้จริงกลับเป็นพระมเหสีของพระองค์ คือจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 ทรงเป็นองค์ปฐมวงศ์ของราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอแรน ทรงเป็นดยุกแห่งลอแรนในปี 1728 จนกระทั่งราชวงศ์ลอแลนถูกควบคุมโดยฝรั่งเศสภายใต้เงื่อนไขจากผลของสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์ ทำให้ดยุกฟรันซ์และพระราชวงศ์ลอแรนจึงไปปกครองทัสกานีแทนตามสนธิสัญญาสันติภาพและสงครามจึงสิ้นสุดลง ภายหลังพระองค์ขึ้นปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ราชวงศ์ของพระองค์ก็ได้กลับไปครองลอแรนอีกครั้ง โดยให้เจ้าชายชาร์ล อเล็กซานเดอร์ พระอนุชาของพระองค์ไปปกครอง นอกจากนี้พระองค์ยังทรงเป็นพระสัสสุระในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสอีกด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา

ักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา (Maria Theresia von Österreich, Maria Theresa of Austria; พระนามเต็ม: มาเรีย เทเรเซีย วาร์ลบูก้า อมาเลีย คริสติน่า ฟอน ฮับส์บูร์ก) หรือ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรีย เทเรซา แห่งฮังการีและโบฮีเมีย เป็นจักรพรรดินีแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จากอภิเษกสมรส แต่พระราชอำนาจทั้งหมดอยู่ที่พระองค์เพียงผู้เดียว นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงเป็นประมุขแห่งออสเตรีย ฮังการี โบฮีเมีย โครเอเชีย และสลาโวเนีย ถือว่า พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในพระประมุขผู้ทรงอำนาจที่สุดในทวีปยุโรปเลยทีเดียว.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ระหว่างปี 1765 ถึง 1790 และทรงเป็นผู้ปกครองแผ่นดินฮับบูร์ก ระหว่างปี 1780 ถึง 1790 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา กับ จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และเป็นพระเชษฐาในพระนางมารี อ็องตัวแน็ต อัครมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส ในฐานะจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ พระองค์ทรงเป็นผู้ปกครองดินแดนประเทศราชของออสเตรียพระองค์แรก ที่มีเชื้อสายมาจากฮับส์บูร์กผ่านทางพระราชมารดา ในช่วงรัชกาลของพระองค์ ทรงใช้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม ตัวพระองค์ถูกเปรียบว่าเทียบได้กับ พระนางแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย และ พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย เป็นหนึ่งในสามกษัตริย์ผู้รุ่งโรจน์แห่งยุค พระองค์เสร็จสวรรคตโดยปราศจากรัชทายาท ดังนั้นผู้สืบราชบัลลังก์ต่อคือพระอนุชาของพระองค์ แกรนด์ดยุกปีเตอร์ เลโอโปล.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและจักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงเป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ กษัตริย์แห่งฮังการีและโครเอเชีย ระหว่างปี 1790 ถึง 1792 พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในจักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา กับ จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และทรงเป็นพระเชษฐาในพระนางมารี อ็องตัวแน็ต อัครมเหสีในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส พระองค์ขึ้นครองบัลลังก์จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์ จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 ที่เสด็จสวรรคตโดยปราศจากรัชทายาท จักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 ทรงใช้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมตามรอยพระเชษฐาของพระอง.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและจักรพรรดิเลโอโปลด์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง

้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ “รัชทายาท” แห่งราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง (Heir apparent) คือทายาทผู้ (นอกจากมีเหตุการณ์อันคาดไม่ถึง) ที่ไม่สามารถมีผู้ใดมาแทนได้ในการรับตำแหน่งหรือมรดก เป็นคำที่ตรงกันข้ามกับคำว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” (heir presumptive) ผู้เป็นทายาทอยู่ในสายที่มีสิทธิแต่อาจจะมาแทนได้เมื่อใดก็ได้ กรณีที่หมายถึงทายาทตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลโดยเฉพาะในกรณีของพระมหากษัตริย์จะเรียกว่ารัชทายาท (heir to the throne) และใช้เป็นอุปลักษณ์ว่าผู้นั้นเป็นผู้ได้ผ่านพิธีในการยอมรับในตำแหน่งเช่นว่าอย่างเป็นทางการ (“anointed”) ไม่ว่าจะเป็นในด้านการเมืองหรือผู้นำทางธุรกิจ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ไม่ปรากฏบ่อยนักและถ้าใช้ในภาษาอังกฤษก็มักจะใช้ในรูป “Heir Apparent” สถาบันพระมหากษัตริย์ส่วนใหญ่แล้วก็จะมีตำแหน่งเป็นทางการสำหรับรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงเช่น “มกุฎราชกุมาร” หรือมีตำแหน่งที่มีชื่อเฉพาะเช่น “เจ้าชายแห่งออเรนจ์” (Prince of Orange) ในเนเธอร์แลนด์ “เจ้าชายแห่งเวลส์” ในสหราชอาณาจักร หรือ เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส ในสเปน ดยุกแห่งบราบันต์ ใน เบลเยียม.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง · ดูเพิ่มเติม »

คำปฏิญาณสนามเทนนิส

ำปฏิญาณสนามเทนนิส (Serment du Jeu de Paume; แซร์ม็งดูเฌอเดอโปม) คือเหตุการณ์ครั้งสำคัญในช่วงต้นของการปฏิวัติฝรั่งเศส คำปฏิญาณซึ่งได้รับสัตยาบันของบุคคลทั้งสิ้น 576 คน จากสมาชิกฐานันดรที่สามทั้งหมด 577 คน ผู้ถูกกีดกันออกจากการประชุมสภาฐานันดรเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและคำปฏิญาณสนามเทนนิส · ดูเพิ่มเติม »

คณะเยสุอิต

ณะเยสุอิต.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและคณะเยสุอิต · ดูเพิ่มเติม »

ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง

ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง (Déclaration des droits de l'homme et du citoyen) เป็นเอกสารสำคัญซึ่งเกิดขึ้นในสมัยปฏิวัติฝรั่งเศส กำหนดให้สิทธิของปัจเจกชนและสิทธิมวลชลเป็นสิทธิสากล ประกาศฉบับนี้ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีสิทธิธรรมชาติ ซึ่งหมายความว่า สิทธิดังกล่าวมีอยู่ไม่ว่าเมื่อใดและที่ใด เนื่องจากเป็นสิทธิที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานธรรมชาติของมนุษย์ สภาร่างรัฐธรรมนูญ (assemblée nationale constituante) รับรองร่างสุดท้ายของประกาศนี้เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอริเชียส

มอริเชียส (Mauritius) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐมอริเชียส (Republic of Mauritius) คือประเทศที่เป็นเกาะนอกชายฝั่งแอฟริกาในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ ประมาณ 900 กิโลเมตร (560 ไมล์) และทางตะวันตกเฉียงใต้ของอินเดียประมาณ 3,943 กิโลเมตร (2,450 ไมล์) นอกจากตัวเกาะมอริเชียสแล้ว สาธารณรัฐมอริเชียสประกอบด้วยเกาะเซนต์แบรนดอน เกาะรอดรีกส์ และหมู่เกาะอากาเลกา มอริเชียสเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะแมสการีน มีเกาะเรอูนียงของฝรั่งเศส ตั้งอยู่ห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 200 กิโลเมตร (125 ไมล์).

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและประเทศมอริเชียส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศศรีลังกา

รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 มีพรมแดนทางทะเลติดต่อกับอินเดียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และมัลดีฟส์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจาเมกา

มกา (Jamaica) เป็นประเทศที่อยู่บนเกาะในภูมิภาคหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่ เกาะจาเมกาเป็นเกาะที่มีความยาว 240 กม.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและประเทศจาเมกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกรเนดา

กรเนดา (Grenada) เป็นประเทศบนเกาะในทะเลแคริบเบียนตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงหมู่เกาะเกรนาดีนส์ (Grenadines) ทางใต้ เป็นประเทศอิสระที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับ 2 ใน ซีกโลกตะวันตก (ประเทศที่เล็กที่สุดคือ ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศตรินิแดดและโตเบโก และทางใต้ของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีน.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและประเทศเกรเนดา · ดูเพิ่มเติม »

ปลัสเดอลากงกอร์ด

ปลัสเดอลากงกอร์ด ใจกลางกรุงปารีส ปลัสเดอลากงกอร์ด (Place de la Concorde; จัตุรัสแห่งความปรองดอง) เป็นจัตุรัสกลางกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ทั้งหมด 86,400 ตารางเมตร พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและพระนางมารี อองตัวแนตถูกประหารด้วยกิโยตีน ณ จัตุรัสแห่งนี้ในสมัยการปฏิวัติฝรั่ง.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและปลัสเดอลากงกอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและปารีส · ดูเพิ่มเติม »

นิกายลูเทอแรน

ัญลักษณ์กุหลาบลูเทอแรน นิกายลูเทอแรน (Lutheranism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ตะวันตกฝ่ายโปรเตสแตนต์ มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นผู้ก่อตั้งนิกายนี้ขึ้นจากการปฏิรูปหลักเทววิทยาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและนิกายลูเทอแรน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำไรน์

แผนที่แดงเส้นทางแม่น้ำจากเทือกเขาแอลป์สู่ทะเลเหนือ ไรน์ (Rhine; Rein; Rhein; Rhin; Rijn) เป็นแม่น้ำที่สำคัญที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวทั้งสิ้น 1,230 กิโลเมตร ยาวเป็นอันดับสองรองจากแม่น้ำดานูบ มีต้นน้ำจากเทือกเขาแอลป์ ไหลผ่านประเทศสวิตเซอร์แลนด์, ลิกเตนสไตน์, ออสเตรีย, เยอรมนี, ฝรั่งเศส, ลักเซมเบิร์ก, เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ไปออกทะเลเหนือ แม่น้ำไรน์เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งทางน้ำที่สำคัญ สามารถขนสินค้าเข้าสู่ภายในแผ่นดินยุโรปได้อย่างสะดวก อีกทั้งยังมีความสำคัญทางด้านยุทธศาสตร์และภูมิศาสตร์ในการเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่สำคัญของยุโรป ร ร ร ร ร ร ร หมวดหมู่:แม่น้ำในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและแม่น้ำไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นอาลซัส

อาลซัส (Alsace) หรือ แอลซ็อส (อัลเซเชียน: Elsàss) เป็นอดีตแคว้นในประเทศฝรั่งเศส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของแคว้นกร็องแต็สต์) ตั้งอยู่บริเวณพรมแดนทางทิศตะวันออกของประเทศฝรั่งเศส และทางทิศตะวันตกของแม่น้ำไรน์ ติดกับประเทศเยอรมนีและสวิตเซอร์แลนด์ มีเมืองหลักและเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือเมืองสทราซบูร์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ และต่อมาประเทศฝรั่งเศสกับเยอรมนีผลัดกันครอบครองแคว้นอาลซัสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 20 เดิมอาลซัสเคยเป็นของเยอรมนี แต่หลังจากสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ฝรั่งเศสแย่งแคว้นอาลซัสและลอแรนไปจากเยอรมนีทำให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนไม่พอใจฝรั่งเศส จึงเกิดสงครามฝรั่งเศส-อาลซัสและสงครามฝรั่งเศส-ลอแรน โดยฝรั่งเศสต้องสู้กับชาวอาลซัสและชาวลอแรน แต่ในที่สุดฝรั่งเศสก็สามารถปราบชาวอาลซัสและลอแรนลงได้ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 แคว้นอาลซัสค่อย ๆ ถูกปรับปรุงในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และกลายเป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศฝรั่งเศส บ่อยครั้งที่แคว้นอาลซัสได้ถูกกล่าวรวมกับแคว้นลอแรน เนื่องจากการครอบครองดินแดนของแคว้นทั้งสอง (อาลซัส-ลอแรน) เป็นที่เลื่องชื่อในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเยอรมนีรวมกับปรัสเซียและไซลีเซียเข้าโจมตีฝรั่งเศสและสามารถยึดอาลซัสและลอแรนคืนมาได้ระยะหนึ่ง พอเยอรมนีแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝรั่งเศสซึ่งชนะสงครามจึงเอาอาลซัสและลอแรนคืนมา หลังจากนั้นในสงครามโลกครั้งที่สอง นาซีเยอรมันได้เข้ายึดปารีสและขู่ให้ฝรั่งเศสยกอาลซัสและลอแรนคืนให้เยอรมนี อาลซัสและลอแรนจึงกลับเป็นของเยอรมนีอีกครั้ง เมื่อเยอรมนีนาซีแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีก็คืนอาลซัส-ลอแรนแก่ฝรั่งเศส ในช่วงสงครามเย็นชาวเยอรมันในอาลซัสและลอแรนก็ประท้วงกันอีกครั้ง รัฐบาลฝรั่งเศสต้องคอยปราบปรามเลยยอมให้ชาวอาลซัสและชาวลอแรนใช้ภาษาเยอรมันได้ในที่สุด แต่ชาวเยอรมันบางกลุ่มไม่พอใจยังก่อการร้ายในอาลซัสอยู่เรื่อยมาจนเป็นปัญหาถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันอาลซัสเป็นของฝรั่งเศสอย่างสมบรูณ์ แม้ว่าแคว้นอาลซัสจะเป็นแคว้นที่มีคนพูดภาษาเยอรมันอยู่มากทางประวัติศาสตร์ แต่ปัจจุบันชาวอาลซัสก็สามารถพูดภาษาฝรั่งเศสประมาณร้อยละ 25 ของประชากรพื้นเมืองสามารถพูดภาษาอัลเซเชียน (Alsatian) โดยเป็นภาษาแม่หรือภาษาเยอรมัน (เป็นภาษาที่ 2).

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและแคว้นอาลซัส · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส

แฟ็งแห่งฝรั่งเศส (Dauphin de France) หรือ โดแฟ็งแห่งเวียนัว (Dauphin de Viennois) คืออิสริยยศที่มีไว้สำหรับทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง ผู้ซึ่งจะขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งฝรั่งเศสในอนาคต ในประวัติศาสตร์มีผู้ดำรงอิสริยยศนี้ในช่วงปี..

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและโดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง

อลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง (Élisabeth-Louise Vigée-Le Brun) หรือ มารี เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ (Marie Élisabeth-Louise Vigée; 16 เมษายน ค.ศ. 1755 - 30 มีนาคม ค.ศ. 1842) เป็นจิตรกรสมัยโรโคโคชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงในการเขียนจิตรกรรมภาพเหมือน เอลีซาแบ็ตแสดงความสนใจในศิลปะฟื้นฟูคลาสสิกแต่ไม่ได้จัดอยู่ในจิตรกรกลุ่มนี้เพราะความสนใจของเอลีซาแบ็ตจำกัดอยู่แต่เพียงการแต่งตัวของแบบที่เขียนให้เป็นคลาสสิก มิใช่ความสนใจในการสร้างจิตรกรรมประวัติศาสตร์แบบคลาสสิก.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส (ค.ศ. 1729–1765)

้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส (Louis Ferdinand de France; 4 กันยายน ค.ศ. 1729 - 20 ธันวาคม ค.ศ. 1765) ทรงเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงแห่งราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ระหว่างปี ค.ศ. 1729 - ค.ศ. 1765 โดยพระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 และพระราชินีมารี เลชชินสกา โดยพระองค์ทรงเสกสมรสถึงสองครั้ง ครั้งแรกกับเจ้าหญิงมาเรีย เทเรซา ราเฟลาแห่งสเปน มีพระะธิดาร่วมกัน 1 พระองค์ ต่อมาเสกสมรสครั้งที่สองกับเจ้าหญิงมาเรีย โจเซฟาแห่งแซกโซนี มีพระโอรสและธิดาร่วมกัน 6 พระองค์ ซึ่งพระโอรสของพระองค์ล้วนแล้วได้รับการเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส ได้แก.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและเจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส (ค.ศ. 1729–1765) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายหลุยส์-โฌแซ็ฟ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส

เจ้าชายหลุยส์ โฌแซ็ฟแห่งฝรั่งเศส (Louis Joseph Xavier François; หลุยส์ โฌแซ็ฟ ซาวีแยร์ ฟร็องซัว; 22 ตุลาคม ค.ศ.1781 - 4 มิถุนายน ค.ศ. 1789) ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส และสมเด็จพระราชินีมารี อ็องตัวแน็ต เป็นรัชทายาทแห่งราชบัลลังก์ฝรั่งเศสตั้งแต่ประสูติในลำดับที่ 26 ด้วยพระอิสริยยศ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เทียบเท่าพระอิสริยยศ เจ้าชายพระราชกุมาร สิ้นพระชนม์อย่างกะทันหันด้วยพระชันษาเพียง 7 ชันษาโดยที่ไม่มีโอกาสได้เสวยราชสมบัติ หมวดหมู่:รัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงที่ไม่เคยสืบราชสันตติวงศ์.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและเจ้าชายหลุยส์-โฌแซ็ฟ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก

ระมหากษัตริย์โบฮีเมีย เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก (Princeps Elector, Kurfürst, Prince-elector หรือ Electors) คือสมาชิกของคณะผู้คัดเลือก (electoral college) แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีหน้าที่ในการเลือกพระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมันพระองค์ใดพระองค์หนึ่งให้ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงของเจ้านครรัฐผู้คัดเลือกเรียกว่าเจ้าผู้คัดเลือก (electoral prince) เจ้านครรัฐผู้คัดเลือกถือเป็นผู้มีเกียรติรองจากพระมหากษัตริย์และพระจักรพรรดิ ตามทฤษฎีแล้วจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เป็นผู้ที่มาจากการเลือกตั้ง แต่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 การเลือกตั้งก็มักจะเป็นเพียงการทำเพียงพิธี โดยมีพระจักรพรรดิผู้สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ฮับส์บูร์กของออสเตรีย ที่ตำแหน่งมักจะเป็นของพระราชโอรสองค์โตของจักรพรรดิผู้เสด็จสวรรคต แต่กระนั้นตำแหน่งมิได้เป็นตำแหน่งสืบทอดในตระกูลเดียวกัน และทายาทไม่สามารถเรียกตนเองว่า "จักรพรรดิ" โดยมิได้รับเลือก การเลือกตั้งเป็นการเลือกพระมหากษัตริย์แห่งชาวโรมัน ผู้ได้รับเลือกในเยอรมนีและจะได้เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็เมื่อได้รับทำพิธีบรมราชาภิเษกโดยพระสันตะปาปา จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 ทรงเป็นจักรพรรดิที่ได้รับการสวมมงกุฎเป็นจักรพรรดิ ผู้เป็นจักรพรรดิต่อจากนั้นเป็นจักรพรรดิโดยการเลือกตั้งเท่านั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและเจ้านครรัฐผู้คัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

Ogg

ogg ("อ็อก") เป็นรูปแบบหีบห่อดิจิทัลแบบมาตรฐานเปิดสำหรับบรรจุสื่อผสม มันถูกออกแบบมาเพื่อประสิทธิภาพในการกระจายเสียง (สตรีมมิง) และการเปลี่ยนแปร รูปแบบ ogg ออกแบบโดยมูลนิธิ Xiph.Org และปลอดจากสิทธิบัตรซอฟต์แวร์ คำว่า "ogg" ยังถูกใช้บ่อย ๆ เพื่อเรียกรูปแบบแฟ้มเสียง Ogg Vorbis ซึ่งเป็นเสียงที่ถูกเข้ารหัสแบบ Vorbis แล้วเก็บลงในหีบห่อ Ogg การเข้ารหัสอื่นที่เด่น ๆ ของ Xiph ที่มักถูกใส่ใน Ogg ก็คือ Theora ซึ่งเป็นการเข้ารหัสภาพเคลื่อนไหว (วิดีโอ), และ Speex ซึ่งเป็นการบีบอัดเสียงพูดของมนุษย์ MIME type ของ ogg คือ application/ogg.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและOgg · ดูเพิ่มเติม »

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและ20 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและ21 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสและ5 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Louis XVI of Franceสมเด็จพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าหลุยส์ที่ 16

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »